ข้อใดไม่ใช่หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าทวีปต่าง ๆ มีการเคลื่อนตัวแยกออกจากกัน

ข้อใดไม่ใช่หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าทวีปต่าง ๆ มีการเคลื่อนตัวแยกออกจากกัน

          ������ҡ���¢ͧ����ժ��Ե��Դ��ҧ��ա������¹�ŧ�������Ҩҡʹյ���֧�Ѩ�غѹ ����Ѻ�š�ͧ��ҷ������繷�ջ��ҧ�㹻Ѩ�غѹ��鹡��ա������¹�ŧ��ҹ���������ѹ��ǹҹ�蹡ѹ

          㹻� � . � . 2458 ����ô �ǡ������ �ѡ�ó��Է����йѡ������ʵ���������ѹ�ʹͷ�ɮշ�ջ����͹ (Continental Drift) �繤����á ����������蹴Թ������躹�ͧ���ǫ������᡹�š���� ��ä鹾��ҡ�֡�Ӻ�þ�ͧ����ժ��Ե������ѡɳ������§�ѹ 㹷�ջ���������ҧ�šѹʹѺʹع��ɮչ�� �ǡ�������ʹ��������� 200 ��ҹ�շ������ �š�շ�ջ���Ǣ�Ҵ�˭����¡��Ҿѹ��� (Pangaea-- ����ҷ���š ) ����з�觶֧
�ؤ����ʫԡ������������ؤ�����ԡ (�ؤ����������������ͧ) �蹴Թ�֧������¡�ҡ�ѹ�� 2 ��ǹ���¡��� �͹�ҹ��Ź�� (Gonwanaland) �ҧ�ա��ͧ�š ���������� (Laurasia) �ҧ�ա�˹�� ���շ��ŷո�� (Tethys) ��蹡�ҧ ���������ش�ؤ�������� (�����ؤ�����ԡ) �蹴Թ��ᵡ�͡�繷�ջ��ҧ� ��Ф��������͹������ѧ���˹觷��������㹻Ѩ�غѹ

          ������� ��� (Eduard Suess) �ѡ�ó��Է�Ҫ��������� �繼�龺��ѡ�ҹ�����������������蹴Թ�ͧ��ջ����ԡ� �Ϳ�ԡ� �Թ��� ��������� ����͹���졵ԡ� ���������͡ѹ ���繼���駪����蹴Թ�����ҡ͹�ҹ��Ź�� �������ࢵ��辺�ҡ�֡�Ӻ�þ�ͧ�ת������ͻ����� ( Glossopteris ) �繤����á ��е���ҡ羺㹷�ջ������� �͡�ҡ����ѧ�իҡ�ѵ�������¤�ҹ�֡�Ӻ�þ���⫫���� (Mesosaurus) ��辺�����ԡ��� ����Ϳ�ԡ����ա����


�Ҿ�ѹ��ɰҹ�ѡɳз�ջ���Ǣͧ�š㹪�ǧ�ؤ����ʫԡ ��͹�����ա������͹��Ǣͧ���з�ջ�͡�ҡ�ѹ

        รอยต่อแผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกัน (Divergent plate boundaries) เกิดขึ้นเนื่องจากแรงดันในชั้นฐานธรณีภาค ดันให้แผ่นธรณีโก่งตัวขึ้นจนเกิดรอยแตก แมกมาอยู่ภายในดันตัวออก ทำให้แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกจากกัน การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีในลักษณะนี้ทำให้เกิดแผ่นดินไหวไม่รุนแรง โดยมีศูนย์กลางอยู่ในระดับตื้น  รอยต่อซึ่งเกิดจากแผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกันมี 2 ลักษณะ คือ แผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่ออกจากกัน และแผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่ออกจากกัน 

แผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่ออกจากกัน
        แรงดันในชั้นฐานธรณีภาคดันให้แผ่นธรณีทวีปโก่งตัว ส่วนยอดของรอยโ่ก่งยืดตัวออกและบางลงจนเกิดรอยแตก และทรุดตัวลงกลายเป็น "หุบเขาทรุด" (Rift valley)  แมกมาผลักให้แผ่นธรณีแยกออกจากกัน ตัวอย่างเช่น ทะเลสาบมาลาวี ในทวีปแอฟริกา และ ทะเลแดง ซึ่งกันระหว่างทวีปแอฟริกากับคาบสมุทรอาหรับ 

ข้อใดไม่ใช่หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าทวีปต่าง ๆ มีการเคลื่อนตัวแยกออกจากกัน


ภาพที่ 1 แผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่ออกจากกัน 

แผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่ออกจากกัน
        แรงดันในชั้นฐานธรณีภาคดันให้แผ่นธรณีมหาสมุทรยกตัวขึ้นเป็นสันเขาใต้สมุทร (Mid oceanic ridge) แล้วเกิดรอยแตกที่ส่วนยอด แมกมาผลักให้แผ่นธรณีมหาสมุทรแยกออกจากกัน ตัวอย่างเช่น สันเขาใต้มหาสมุทรแอตแลนติก 

ภาพที่ 2 แผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่ออกจากกัน 

 

อายุหินและสนามแม่เหล็ก
        แก่นโลกชั้นในและแก่นโลกชัั้นนอกหมุนไปในทิศทางเดียวกัน แต่ด้วยความเร็วไม่เท่ากัน ถ้าแก่นโลกชั้นในหมุนเร็วกว่าแก่นโลกชั้นนอก จะเกิดแรงเหนี่ยวนำให้เส้นแรงแม่เหล็กโลกเคลื่อนที่จากขั้วใต้ไปยังขั้วเหนือ (Normal magnetism) แต่ในบางครั้งแก่นโลกชั้นในขยายตัวตามแนวศูนย์สูตร (มีรูปทรงแป้นขึ้น) เป็นสาเหตุให้แก่นโลกชั้นในหมุนช้ากว่าแก่นโลกชั้นนอก ทำให้ให้สนามแม่เหล็กกลับขั้ว (Reverse magnetism) เส้นแรงแม่เหล็กเคลื่อนที่จากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ (คลิกเพื่อชมวีดีโอ)

ภาพที่ 3 การเคลื่อนที่ของแก่นโลกเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก

        เมื่อแมกมาโผล่ขึ้นจากชั้นฐานธรณีภาค กลายเป็นลาวาหินบะซอลต์ไหลบนพื้นผิวโลก อะตอมของธาตุเหล็กที่มีอยู่ในแร่แมกนีไทต์ จะถูกเหนี่ยวนำให้เรียงตัวตามทิศทางของสนามแม่เหล็กโลก  ภาพที่ 4 แสดงให้เห็นว่า ลาวาชั้นล่างมีอายุเก่ากว่าลาวาชั้นบน เพราะเกิดขึ้นมาก่อน ขณะที่ลาวาไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟ มันจะบันทึกทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กโลกในยุคสมัยนั้น ซึ่งจะเห็นได้ว่าเส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับทิศทางไปมาในทุกๆ หลายแสนปี เนื่องจากสนามแม่เหล็กโลกสลับขั้วไปมา

ข้อใดไม่ใช่หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าทวีปต่าง ๆ มีการเคลื่อนตัวแยกออกจากกัน

ภาพที่ 4 เส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับขั้วในลาวาภูเขาไฟ

        ในทำนองเดียวกัน เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทรแยกออกจากกัน ลาวาที่ไหลออกมาก็จะบันทึกทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกในยุคนั้นๆ ภาพที่ 5 แสดงให้เห็นว่า เปลือกโลกเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิดในอัตราเฉลี่ย 10 กิโลเมตรต่อล้านปี หรือ 1 เซนติเมตรต่อปี  เปลือกโลกบริเวณใกล้รอยแยกมีอายุน้อยกว่าเปลือกโลกที่อยู่ห่างออกไป  เส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับทิศทางไปมาในทุกๆ หลายแสนปี 


ภาพที่ 5 เส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับขั้วในลาวาพื้นมหาสมุทร

มีหลักฐานในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าทวีปต่างๆ มีการเคลื่อนตัวแยกออกจากกัน

1) การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก 2) การเกิดแผ่นดินไหว 3) การระเบิดของภูเขาไฟ 4) กระบวนการเกิดภูเขา 5) การกร่อน 6) กระแสน้ำ 7) ปฏิกิริยาเคมีในธรรมชาติ 8) การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เป็นต้น

ทวีปใดไม่พบซากดึกดําบรรพ์ของเหฟิน

ทวีปใด ไม่พบ ซากดึกดำบรรพ์ของเฟิร์น จำพวกกลอสซอพเทอรีส แอฟริกา

หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อนของเวเกเนอร์คือข้อใด

อัลเฟรด เวเนเจอร์ ได้อ้างหลักฐานที่เป็นข้อมูลสนับสนุนทฤษฎีของเขาไว้ดังนี้ หลักฐานสภาพรูปร่างของทวีป จากรูปร่างของทวีปต่าง ๆ ที่สวมเข้ากันได้อย่างพอเหมาะ โดยเฉพาะทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้กับทวีปแอฟริกา

หลักฐานใดเกิดจากการเคลื่อนที่ของธารน้ำแข็งบรรพกาล

ความคล้ายกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา การเคลื่อนที่ของธารน้ำแข็งบรรพกาล จากหลักฐานดังกล่าว เวเกเนอร์ ได้สรุปเป็นทฤษฎีทวีปเลื่อน (Continental Drift) กล่าวว่า “ในอดีตโลกมีแผ่นทวีปขนาดใหญ่เพียงแผ่นเดียว เรียกว่า พันเจีย (Pangaea)” ซึ่งยังคงได้รับการกล่าวถึงในแวดวงวิชาการจนถึงปัจจุบัน

มีหลักฐานในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าทวีปต่างๆ มีการเคลื่อนตัวแยกออกจากกัน ทวีปใดไม่พบซากดึกดําบรรพ์ของเหฟิน หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อนของเวเกเนอร์คือข้อใด หลักฐานใดเกิดจากการเคลื่อนที่ของธารน้ำแข็งบรรพกาล แผ่นธรณีประกอบด้วยส่วนใดบ้าง ปัจจุบันแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปอเมริกา และทวีปแอฟริกา มีการเคลื่อนที่อย่างไร ทวีปลอเรเซียตั้งอยู่บริเวณใด ข้อใดไม่ใช่หลักฐานและข้อมูลต่างๆ ที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์เชื่อในทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกที่เรียกว่า แผ่นดินพันเจีย มีลักษณะอย่างไร