ข้อใดไม่ใช่ 4 มิติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำรินั้นแตกต่างจากเศรษฐกิจแบบทุนนิยมของตะวันตก  ซึ่งให้ความสำคัญกับเรื่องวัตถุที่เป็นรูปธรรม เช่น  เงิน  ทรัพย์สิน  กำไร   โดยไม่นำเรื่องของสภาพจิตใจหรือเรื่องนามธรรมมาเกี่ยวข้อง อีกทั้งเศรษฐกิจพอเพียงยังมีขอบเขตที่กว้างขวางกว่าเศรษฐกิจนายทุน หรือเศรษฐกิจธุรกิจ  เพราะสามารถครอบคลุมได้ถึง 4 ด้าน  คือ มิติด้านเศรษฐกิจ  มิติด้านจิตใจ  มิติด้านสังคม  และมิติด้านวัฒนธรรม ดังนี้

  1. มิติด้านเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจแบบพออยู่พอกิน  ให้มีความขยันหมั่นเพียรประกอบสัมมาอาชีพ  เพื่อให้พึ่งตนเองได้  ให้พ้นจากความยากจน

การปฏิบัติตามเศรษฐกิจพอเพียง  ซึ่งได้ช่วยให้เกษตรกรจำนวนมากมีรายได้เพิ่มสูงขึ้น  มีชีวิตที่เป็นสุขตามสมควรแก่อัตภาพ  พ้นจากการเป็นหนี้และความยากจน  สามารถพึ่งตนเองได้  มีครอบครัวที่อบอุ่นและเป็นสุข

  1. มิติด้านจิตใจ

เศรษฐกิจพอเพียงเน้นที่จิตใจที่รู้จักพอ  คือ พอดี  พอประมาณและพอใจในสิ่งที่มี  ยินดีในสิ่งที่ได้  ไม่โลภ  เศรษฐกิจพอเพียงจะต้องเริ่มที่ตัวเอง โดยสร้างรากฐานทางจิตใจที่มั่นคง  โดยเริ่มจากใจที่รู้จักพอ  เป็นการปฏิบัติตามทางสายกลาง หรือมัชฌิมาปฏิปทา

  1. มิติด้านสังคม

เศรษฐกิจพอเพียงมุ่งให้เกิดสังคมที่มีความสุขสงบ  ประชาชนมีความเมตตาเอื้ออาทรช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  ไม่ใช่ต่างคนต่างอยู่  มุ่งให้เกิดความสามัคคีร่วมมือกัน  เพื่อให้ทุกคนอยู่ร่วมกันได้โดยปราศจากการเบียนเบียนกัน  การเอารัดเอาเปรียบกัน  การมุ่งร้ายทำลายกัน

  1. มิติด้านวัฒนธรรม

หมายถึง วิถีชีวิตของประชาชน  เศรษฐกิจพอเพียงมุ่งให้เกิดวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตที่ประหยัด  อดออม  มีชีวิตที่เรียบง่าย  ไม่ฟุ้งเฟ้อ  ฟุ่มเฟือย  ไม่ตกเป็นทาสของวัตถุนิยมและบริโภคนิยมซึ่งทำให้เกิดการเป็นหนี้เป็นสิน  เกิดการทุจริตคอรัปชั่น  เป็นปัญหาสังคมที่ร้ายแรงที่สุดปัญหาหนึ่ง  ที่บ่อนทำลายความมั่นคงของชาติ

มิติทั้ง 4 ด้านของเศรษฐกิจพอเพียงได้สะท้อนให้เห็นว่า เศรษฐกิจพอเพียงไม่ได้ส่งผลดีต่อแค่ด้านเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังส่งผลดีต่อด้านต่างๆ ที่มีส่วนช่วยให้คนในประเทศอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ตามวิถีชีวิตที่ไม่ฟุ้งเฟ้อ และอยู่บนพื้นฐานของความพอดี

    เศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาที่ลึกซึ้งมีมิติถึง ๔  ด้าน 

                  

ข้อใดไม่ใช่ 4 มิติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริอยู่เหนือกว่าเศรษฐกิจแบบทุนนิยมของตะวันตก  ซึ่งเกี่ยวกับเรื่องวัตถุที่เป็นรูปธรรมเช่น เงิน ทรัพย์สิน กำไร ไม่เกี่ยวกับเรื่องจิตใจซึ่งเป็นนามธรรมแต่เศรษฐกิจพอเพียงมีขอบเขตที่กว้างขวางกว่าเศรษฐกิจนายทุนหรือเศรษฐกิจธุรกิจ  เพราะครอบคลุมถึง ๔  ด้าน  คือ มิติด้านเศรษฐกิจ  มิติด้านจิตใจ  มิติด้านสังคม  และมิติด้านวัฒนธรรม

๑.มิติด้านเศรษฐกิจ

     เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจแบบพออยู่พอกิน  ให้มีความขยันหมั่นเพียรประกอบสัมมาอาชีพ  เพื่อให้พึ่งตนเองได้  ให้พ้นจากความยากจน 

๒.มิติด้านจิตใจ
     เศรษฐกิจพอเพียงเน้นที่จิตใจที่รู้จักพอคือ พอดี พอประมาณและพอใจในสิ่งที่มียินดีในสิ่งที่ได้ไม่โลภ  เศรษฐกิจพอเพียงจะต้องเริ่มที่ตัวเอง โดยสร้างรากฐานทางจิตใจที่มั่นคง 

๓.มิติด้านสังคม

     เศรษฐกิจพอเพียงมุ่งให้เกิดสังคมที่มีความสุขสงบ  ประชาชนมีความเมตตาเอื้ออาทรช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  ไม่ใช่ต่างคนต่างอยู่  มุ่งให้เกิดความสามัคคีร่วมมือกัน  เพื่อให้ทุกคนอยู่ร่วมกันได้โดยปราศจากการเบียนเบียนกัน  การเอารัดเอาเปรียบกัน  การมุ่งร้ายทำลายกัน

๔.มิติด้านวัฒนธรรม

      หมายถึง วิถีชีวิตของประชาชน  เศรษฐกิจพอเพียงมุ่งให้เกิดวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตที่ประหยัด อดออม มีชีวิตที่เรียบง่าย ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่ตกเป็นทาสของวัตถุนิยมและบริโภคนิยมซึ่งทำให้เกิดการเป็นหนี้เป็นสิน  


เศรษฐกิจพอเพียง  เป็นปรัชญาที่เป็นทั้งแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตนของแต่ละบุคคล และองค์กร  โดยคำนึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพของตนเอง และสภาวะแวดล้อม ความมีเหตุมีผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง  โดยใช้ความรู้อย่างถูกหลักวิชาการด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ควบคู่ไปกับการมีคุณธรรม  ซื่อสัตย์สุจริต ไม่เบียดเบียนกัน แบ่งปัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  และร่วมมือปรองดองกันในสังคม  ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างสายใยเชื่อมโยงคนในภาคส่วนต่าง ๆ  ของสังคมเข้าด้วยกัน  สร้างสรรค์พลังในทางบวก  นำไปสู่ความสามัคคี การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ได้

          การนำเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ต้องคำนึงถึง 4 มิติ  ดังนี้

ด้านเศรษฐกิจ

ลดรายจ่าย / เพิ่มรายได้ / ใช้ชีวิตอย่างพอควร / คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ / มีภูมิคุ้มกัน / ไม่เสี่ยงเกินไป / การเผื่อทางเลือกสำรอง

ด้านสังคม

ช่วยเหลือเกื้อกูล / รู้รักสามัคคี / สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน

ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ / เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างรู้ค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด / ฟื้นฟูทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยั่งยืนสูงสุด

ด้านวัฒนธรรม

รักและเห็นคุณค่าในความเป็นไทย เอกลักษณ์ไทย / เห็นประโยชน์และคุ้มค่าของภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น / รู้จักแยกแยะและเลือกรับวัฒนธรรมอื่น ๆ

4 มิติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีอะไรบ้าง

ลดรายจ่าย / เพิ่มรายได้ / ใช้ชีวิตอย่างพอควร / คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ / มีภูมิคุ้มกัน / ไม่เสี่ยงเกินไป / การเผื่อทางเลือกสำรอง

4 มิติ ได้แก่มิติอะไรบ้าง

4 มิติ เศรษฐกิจพอเพียง.
มิติด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจแบบพออยู่พอกิน ให้มีความขยันหมั่นเพียรประกอบสัมมาอาชีพ เพื่อให้พึ่งตนเองได้ ให้พ้นจากความยากจน.
มิติด้านจิตใจ ... .
มิติด้านสังคม ... .
มิติด้านวัฒนธรรม.

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงคือข้อใด

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิด ซึ่งมุ่งให้ทุกคนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ รวมถึงการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น จนเกิดความยั่งยืน คำว่า พอเพียง คือ การดำเนินชีวิตแบบทางสายกลาง โดยตั้งอยู่บนหลักสำคัญสามประการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดี ความพอประมาณ

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วงมีอะไรบ้าง

แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน และอยู่ภายใต้เงื่อนไขความรู้และคุณธรรม