ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้

การวาดภาพด้วยโปรแกรมแฟลต (flash) การวาดภาพจากโปรแกรมแฟลตเป็นการวาดภาพแบบเวกเตอร์(Vector) ซึ่งวิธีการสังเกตเมื่อมีการขยายภาพแล้ว ภาพจะไม่แตกเช่นเดียวกับโปรแกรมแบบ อิลลัสเตรเตอร์ (illustrator) หรือ คุณภาพของภาพจะยังคงคุณลักษณะเช่นเดียวกับภาพต้นฉบับ ภาพอีกประเภทหนึ่งเรียกว่าภาพแบบบิตแมป(Bitmap i mages) หรือภาพแบบราสเตอร์ (Raster Image) ตัวอย่างเช่น ภาพที่ถ่ายจากกล้องถ่ายภาพดิจิตอลแล้วนำภาพเข้าสู่โปรแกรมโฟโต้ชอป (Adobe Photoshop) แล้วทำการขยายภาพไปเรื่อยๆ สุดท้ายภาพจะแตกเป็นเม็ดสีเรียงติดกัน ภาพประเภทนี้จะจำกัดคุณภาพของภาพตามกล้องถ่ายรูปแบบดิจิตอลโดยมีการกำหนดเป็นจำนวนของพิกเซล (pixels) การวาดภาพในโปรแกรมแฟลตสามารถวาดได้หลายรูปทรง ไม่ได้จำกัดแต่เฉพาะรูปทรงที่เป็นเรขาคณิตเท่านั้น สามารถใส่สี แสง และเงาได้สวยงาม

ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้

 

ลักษณะของจอภาพ

ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้

ส่วนประกอบของโปรแกรม ประกอบด้วย
 แถบคำสั่ง (Menu bar) แสดงรายการคำสั่งต่างๆที่ใช้ในโปรแกรมแฟลต
 กล่องเครื่องมือ (Tool Box)  แสดงเครื่อมือต่างๆที่ใช้ในการวาดภาพและการตกแต่งภาพ
เส้นเวลา (Time line) แสดงเส้นที่ใช้สำหรับควบคุมลำดับเวลาในการแสดงภาพเคลื่อนไหวประกอบด้วยตัวเลขที่ลำดับของฉากเริ่มตั้งแต่ฉากที่ 1 จนถึงฉากที่ 576  และชั้นของชิ้นงาน (Layer)
คำสั่ง (Action) แสดงส่วนที่ใช้สำหรับเขียนคำสั่ง (Script) เพื่อควบคุมการทำงานของวัตถุที่อยู่ภายโปรแกรมแฟลต เวที (Stage) ส่วนที่ใช้สำหรับนำเสนอผลงานที่ได้ทำเสร็จแล้ว โดยวัตถุที่จะนำมาแสดงจะต้องวางอยู่ภายในเวที่เท่านั้น ถ้าวัตถุนั้นมีขนาดใหญ่กว่าเวที เวลานำเสนอผลงานจะมองเห็นวัตถุส่วนที่อยู่บนเวทีเท่านั้น
ห้องสมุด (Library) ส่วนที่เก็บชิ้นงานต่างๆที่ได้ทำการสร้างด้วยโปรแกรมแฟลต ก่อนที่จะนำไปวางบนเวที

กล่องเครื่องมือ (Tool Box) และแถบคำสั่ง (Menu bar)
แถบคำสั่งของโปรแกรมแฟลตประกอบด้วย  File, Edit, View, Insert, Modify, Text, Commands, Control, Debug, Window และ Help 

ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้

การทำงานกับโปรแกรมแฟลต ผู้ใช้งานจำเป็นต้องรู้จักกล่องเครื่องมือ ซึ่งทำหน้าที่เก็บอุปกรณ์ต่างๆที่จำเป็นสำหรับการทำงานกับโปรแกรมแฟลต ซึ่งกล่องเครื่องมือแสดงดังภาพด้านล่าง

กล่องเครื่องมือประกอบด้วย 5 กลุ่มคือ
- การเลือก (Selection) ประกอบด้วย selection tool (v)

ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
 , sub-selection tool(A)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
 และ Free transform tool(Q)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้

- การวาดและการตกแต่งภาพ (Drawing and painting) ประกอบด้วย 3D Rotation tool (w)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Lasso tool (L)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Pen tool (P)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Text tool (T)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Line tool (N)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Rectangle tool (R)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Pencil tool (Y)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Brush tool (B)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Deco tool (D)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Bone tool (M)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Paint tool (P)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Eyedropper tool
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
 และ Eraser tool
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้

- มุมมอง (View) ประกอบด้วย Hand tool (H)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Zoom tool (Z)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้

- สี (Color) ประกอบด้วย Stroke color
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Fill color
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Black and write
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
, Swap colors
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้

- เพิ่มเติม (Option) ขึ้นอยู่กับเครื่องมือที่ทำการเลือกใช้
การสร้างภาพและข้อความ
การสเก็ตภาพ (sketch) เพื่อใช้สร้างภาพร่าง โดยทั่วไปจะใช้อุปกรณ์เช่น เมาส์ปากกา หรือใช้วิธีการวาดภาพบนกระดาษก่อนแล้วทำการสแกนภาพเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือวาดภาพบนกระดาษก่อนแล้วทำการถ่ายภาพจากกล้องดิจิตอลที่ติดมากับเครื่องโทรศัพท์มือถือ หรือถ่ายภาพจากกล้องดิจิตอลที่มีอยู่ จากนั้นทำการนำเข้าภาพเข้าสู่โปรแกรมแฟลตเพื่อสร้างเป็นภาพต้นแบบบนชั้นที่ 1เพื่อแสดงความต้องการของผู้ออกแบบว่ามีความต้องการภาพเป็นรูปแบบไหน

ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
 

จากนั้นอาจจะทำการสร้างเส้นโดยอาศัยภาพต้นแบบเพื่อตัดขอบให้สมบูรณ์อีกครั้งหนึ่งบนชั้นที่ 2 โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวาดเส้นเพื่อตัดขอบประกอบด้วย 3 ชนิดคือ ดินสอ (Pencil tool)

ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
   พู่กัน (Brush tool)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
  และปากกา (Pen tool)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
การใช้ดินสอในการวาดภาพผู้ที่ทำการวาดภาพสามารถกำหนดขนาดของเส้น(stoke) ให้หนาขึ้นหรือบางลงได้แตกต่างจากพู่กัน โดยขนาดของเส้นจะเท่ากันตลอดทั้งการวาดภาพ ส่วนการใช้พู่กันผู้วาดภาพสามารถกำหนดให้พู่กันมีน้ำหนักกดได้ในกรณีที่ใช้เมาส์ปากกา ทำให้ภาพที่วาดออกมามีชีวิตมากกว่า แบบสุดท้ายเป็นการวาดโดยใช้ปากกา ซึ่งการใช้ปากกาจะสะดวกสำหรับคนที่คุ้นเคยกับการวาดภาพโดยใช้เส้น โดยผู้ที่ใช้เครื่องมือปากกาสามารถกำหนดตำแหน่งปากกาตรงตำแหน่งที่ต้องการวาดได้ง่าย และสามารถทำให้โค้งได้ในขณะเดียวกัน แต่ถ้าไม่คุ้นเคยกับการใช้เครื่องมือแบบปากกา อาจจะทดแทนโดยใช้ใช้เครื่องมือวาดเส้นตรง (Line tool)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
 แล้วค่อยใช้เมาส์เป็นส่วนที่ช่วยทำให้เกิดเส้นโค้งของรูปก็สามารถทำได้เช่นเดียวกัน
การวาดภาพโดยใช้เครื่องมือแบบวัตถุ (object tool)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
   การวาดแบบปกติ ถ้าทำการวาดแล้วเส้นที่วาดมีการทับกันเกิดขึ้น เส้นที่ถูกทับจะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน แต่ถ้าผู้วาดภาพไม่ต้องการให้เส้นที่ถูกทับแบ่งออกเป็นสองส่วน ให้ทำการกดเครื่องมือวัตถุ โดยการวาดเส้นแต่ละเส้นจะเป็นวัตถุ ซึ่งเมื่อมีการทับกันของเส้นเกิดขึ้น เส้นที่ถูกทับก็จะไม่ถูกตัดแบ่งเป็นสองส่วน แต่ถ้ามีการวาดเส้นสี่เส้นโดยวิธีการแบบวัตถุเพื่อทำให้ตัดกันแล้วเกิดรูปสี่เหลี่ยม ผู้วาดภาพจะไม่สามารถลงสีได้เพราะวัตถุไม่ตัดกันหรือไม่เชื่อมต่อกัน วิธีการแก้ไขสามารถทำได้โดยการกด Ctrl+E เพื่อทำให้วัตถุทั้งหมดกลายเป็นเส้นแบบปกติ จากนั้นผู้วาดภาพจึงจะสามารถลงสีได้
การลงสี (Paint tool)
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
    เมื่อต้องการลงสีให้กับภาพ ภาพนั้นจะต้องเป็นภาพแบบปิด ถ้ารูปนั้นปิดไม่สนิทการลงสีจะไม่สามารถทำได้ วิธีการแก้ไขสามารถทำได้โดยการเลือกเครื่องมือแบบปิด (Close large gab) 
ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้
  เพื่อทำให้สามารถลงสีภาพที่วาดไปแล้วและมีส่วนที่ปิดไม่สนิท               
ซิมโบล (Symbol) และ อินสแตนซ์ (Instance)
ซิมโบลคือ สัญลักษณ์ที่โปรแกรมแฟลตกำหนดขึ้นเพื่อใช้สำหรับสร้างวัตถุและการควบคุมวัตถุในการสร้างภาพเคลื่อนไหว โดยวัตถุที่ทำการสร้างขึ้นจะถูกจัดเก็บในส่วนของห้องสมุดของโปรแกรม ซิมโบลของโปรแกรมแฟลตมี 3 ชนิดประกอบด้วย

ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้

กราฟิก (Graphic) สำหรับสร้างวัตถุทางด้านการวาดภาพกราฟิก
หนังสั้น (Movie Clip) สำหรับสร้างวัตถุที่ต้องการให้มีการเคลื่อนไหว
ปุ่ม (Button) สำหรับสร้างปุ่มเพื่อใช้สำหรับการควบคุมการทำงานของวัตถุต่างๆ
อินสแตนซ์คือ วัตถุที่เกิดจากซิมโบล เมื่อซิมโบลแต่ละชนิดถูกสร้างขึ้นเสร็จแล้ว ซิมโบลจะถูกเก็บอยู่ในส่วนของห้องสมุด เมื่อไหร่ก็ตามที่มีความต้องการจะใช้ซิมโบล ผู้ใช้จะทำการเลือกซิมโบลที่ต้องการซึ่งเก็บอยู่ในห้องสมุด แล้วนำไปวางตรงตำแหน่งที่ต้องการ สิ่งที่มองเห็นเรียกว่า อินสแตนซ์ของซิมโบล  ซึ่งซิมโบลที่สร้างขึ้นหนึ่งครั้งสามารถนำไปใช้งานได้หลายๆครั้งตามที่ต้องการ ตัวของอินสแตนซ์สามารถทำงานได้เหมือนกับซิมโบลทุกอย่าง

ไฟล์โปรแกรม Adobe Flash ข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้

จากตัวอย่างบนภาพจะมองเห็นว่า รูปกระต่ายเป็นซิมโบลแบบหนังสั้น เมื่อรูปกระต่ายถูกนำมาวางบนเวที รูปกระต่ายที่วางอยู่บนเวทีจะเป็นอินสแตนซ์ของหนังสั้น โดยผู้ใช้สามารถกำหนดชื่อของอินสแตนซ์ (Instance Name) ทางด้านซ้ายมือได้ โดยอินสแตนซ์จะมีการทำงานเหมือนกับซิมโบลทุกอย่าง

ไฟล์โปรแกรม Flashข้อใดที่สามารถนำกลับมาแก้ไขได้

fla. ไฟล์ .fla เป็นไฟล์ต้นฉบับของโปรแกรม Flash. โปรแกรมที่ใช้เขียน Flash สามารถแก้ไขไฟล์ FLA และ compile มันให้เป็นไฟล์ .swf ได้. อย่างไรก็ตาม รูปแบบไฟล์ FLA ยังคงไม่กำหนดเป็นแบบ "เปิด .

โปรแกรม Flash สามารถทําอะไรได้บ้าง

Adobe Flash เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และมัลติมีเดียบนเว็บ เรียกไฟล์ภาพเคลื่อนไหว และมัลติมีเดียที่สร้างจาก Flash ว่า “มูฟวี่ (movie)”ที่เราสามารถนา Flash มาใช้สร้างงานได้หลากหลายรูปแบบ อาทิ

ไฟล์ที่ได้จากการบันทึกงานในโปรแกรม Adobe Flash และนำไปแก้ไขได้ คือไฟล์ใด

นามสกุลของ Flash Flash จะสร้างนามสกุลหลัก ๆ 2 อย่าง คือ 1. *.fla คือไฟล์ที่ได้จากการสร้างชิ้นงานใน Flash ที่เกิดจากการบันทึกเป็นไฟล์ต้นฉบับ ซึ่ง สามารถน าเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ *.fla ย่อมากจาก Flash Movie หรือที่เรียกว่า Movie.

ไฟล์ (File) นามสกุลของโปรแกรแฟลช(Flash cs6) ที่สามารถ แก้ไขได้คือข้อใด *

ไฟล์ .fla เป็นไฟล์ต้นฉบับของโปรแกรม Flash โปรแกรมที่ใช้เขียน Flash. สามารถแก้ไขได้ และ compile ให้เป็นไฟล์ .swf ได้ ไฟล์ . swf เป็นไฟล์ที่สมบูรณ์ ถูก compiled แล้ว ไม่สามารถแก้ไขได้อีก