การเสื่อมอำนาจของสุโขทัยเกิดจากสาเหตุใดบ้าง

�Ѩ��·������͵�͡��ʶһ�ҡ�ا��⢷��

  1. ���������������ӹҨ
  2. 㹾.�. 1762 ��� ����繻շ������ش����Ҫ�ӹҨ�ͧ�����Ҫ�����ѹ��� 7 ����繡�ѵ����������վ�к��പҹ��Ҿ�ҡ���ͧ��˹�� �������⢷�»��Ȩҡ�ѵ���ѹ������������ͧ�����ç��Ҩж١���¡�Ѿ����һ�Һ����㹪�ǧ�����ѧ�С����ҧ���ҧ�Ҫ�ҹ�

  3. ��������秢ͧ������Ф������Ѥ�բͧ����
  4. ������������⢷�¹������ӷ������� �����ҭ �դ�������ö ����ըԵ�������е����ǹ����٧ ��� ��͢ع�ҧ��ҧ��� ������ͧ�ҧ�ҧ ��о�͢ع�����ͧ������ͧ�Ҵ �������ö�ѡ�ǹ��餹�¼�֡���ѧ�������Ѥ��������͡ѹ������Ѻ���â�� ����з�����Ѻ��ª������ö��С�ȵ������������ͧ����������Է�ԾŢͧ����ա����

  5. ������ѡ������������բͧ��
  6. �������ѡɳл�ШӪҵ����ҧ˹�觡����ѡ������������� ���ͺ����������ӹҨ������ͺ��ö١�����ѧ�Ѻ�ͧ���� �ѧ��� ����;�͢ع�ҧ��ҧ�����о�͢ع�����ͧ�չ�º�·��ТѺ���ǡ�����лŴ����¡�ا��⢷������������ �֧���Ѻ�����������ʹѺʹع�ҡ���·��������ҧ��������§

  7. ��Ҿ���ŷ����

���ͧ�ҡ��ا��⢷�µ������������������� ����ö�Դ��͡Ѻ���ͧ�������дǡ��駷ҧ����зҧ��� ���ҧ�ط���ʵ�������ͧ�����ç�Ѻ��ö١�Դ������С���觡��ѧ������һ�ͧ�ѹ����֡ ���ҧ���ɰ�Ԩ���繪�����ҧ��ä����С����л�١�������ö����§���ͧ�� ��觡�èоѲ�Һ�ҹ���ͧ����դ�����ԭ������ͧ ���������͡�ʻ��ʺ��������������

Ref : http://www.geocities.com/m6_7_mp/new_page_4.htm 19/02/2008

การเสื่อมอำนาจของสุโขทัยเกิดจากสาเหตุใดบ้าง

1. การแย่งชิงราชสมบัติระหว่างเชื้อพระวงศ์ของสุโขทัยทำให้อำนาจการปกครองอ่อนแอ ลง
2. พระมหากษัตริย์ของสุโขทัยสมัยต่อมา ทรงสนพระทัยทางด้านศาสนามากกว่าการ ป้องกันประเทศ
3. อาณาจักรอยุธยา สถาปนาขึ้นทางตอนใต้ มีความเข้มแข็งมากขึ้น จึงผนวกอาณาจักร สุโขทัยเป็นอาณาเขตเดียวกัน

การแทรกแซงจากอยุธยา

หลังจากพ่อขุนรามคำแหงสวรรคตแล้ว เมืองต่างๆเริ่มแข็งเมือง ส่งผลให้ในรัชกาลพญาเลอไท และรัชกาลพญาไสลือไท ต้องส่งกองทัพไปปราบหลายครั้งแต่มักไม่เป็นผลสำเร็จ และการปรากฏตัวขึ้นของอาณาจักรอยุธยาทางตอนใต้ซึ่งกระทบกระเทือนเสถียรภาพของสุโขทัยจนในท้ายที่สุดก็ถูกแทรกแทรงจากอยุธยา จนมีฐานะเป็นหัวเมืองของอยุธยาไปในที่สุด โดยมี พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) เป็นผู้ปกครองสุโขทัยในฐานะรัฐอิสระพระองค์สุดท้าย โดยขณะนั้น ด้วยการแทรกแซงของอยุธยา รัฐสุโขทัยจึงถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ

เมืองสรวงสองแคว (พิษณุโลก) อันเป็นเมืองเอก มีพระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) เป็นผู้ปกครอง
เมืองสุโขทัย เมืองรอง มี พระยาราม เป็นผู้ปกครองเมือง
เมืองเชลียง (ศรีสัชนาลัย) มี พระยาเชลียง เป็นผู้ปกครองเมือง
เมืองชากังราว (กำแพงเพชร) มี พระยาแสนสอยดาว เป็นผู้ปกครองเมือง
หลังสิ้นรัชกาลพระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมบาล) พระยายุทธิษฐิระซึ่งเดิมทีอยู่ศรีสัชนาลัย ได้เข้ามาครองเมืองสองแคว (พิษณุโลก) และเมื่อแรกที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จขึ้นผ่านพิภพ เป็นพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา ปรากฏว่าขณะนั้น พระยายุทธิษฐิระ เกิดความน้อยเนื้อต่ำใจ ที่ได้เพียงตำแหน่งพระยาสองแคว เนื่องด้วย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเคยดำริไว้สมัยทรงพระเยาว์ว่า หากได้ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ จะชุบเลี้ยงพระยายุทธิษฐิระให้ได้เป็นพระร่วงเจ้าสุโขทัย พ.ศ. 2011 พระยายุทธิษฐิระจึงเอาใจออกห่างจากสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ไปขึ้นกับ พระยาติโลกราช กษัตริย์ล้านนาในขณะนั้น เหตุการณ์นี้ส่งผลให้เกิดการเฉลิมพระนามกษัตริย์ล้านนา จากพระยา เป็น พระเจ้า เพื่อให้เสมอศักดิ์ด้วยกรุงศรีอยุธยา พระนามพระยาติโลกราช จึงได้รับการเฉลิมเป็นพระเจ้าติโลกราช

หลังจากที่พระยายุทธิษฐิระ นำสุโขทัยออกจากอยุธยาไปขึ้นกับล้านนา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงเสด็จจากกรุงศรีอยุธยา กลับมาพำนัก ณ เมืองสรลวงสองแคว พร้อมทั้งสร้างกำแพงและค่ายคู ประตู หอรบ แล้วจึงสถาปนาขึ้นเป็นเมือง พระพิษณุโลกสองแคว เป็นราชธานีฝ่ายเหนือของอาณาจักรแทนสุโขทัย ในเวลาเจ็ดปีให้หลัง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงทรงตีเอาสุโขทัยคืนได้ แต่เหตุการณ์ทางเมืองเหนือยังไม่เข้าสู่ภาวะที่น่าไว้วางใจ จึงทรงตัดสินพระทัยพำนักยังนครพระพิษณุโลกสองแควต่อจนสิ้นรัชกาล ส่วนทางอยุธยานั้น ทรงได้สถาปนาสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 พระราชโอรส เป็นพระมหาอุปราช ดูแลอยุธยาและหัวเมืองฝ่ายใต้

ด้วยความที่เป็นคนละประเทศมาก่อน และมีสงครามอยู่ด้วยกัน ชาวบ้านระหว่างสุโขทัยและอยุธยา จึงมิได้ปรองดองเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน จึงต้องแยกปกครอง โดยพระมหากษัตริย์อยุธยา จะทรงสถาปนาพระราชโอรส หรือพระอนุชา หรือพระญาติ อันมีเชื้อสายสุโขทัย ปกครองพิษณุโลกในฐานะราชธานีฝ่ายเหนือ และควบคุมหัวเมืองเหนือทั้งหมด

บรรณานุกรม : http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-1/the_founder_of_thailand/02.html
 http://www.wikiwand.com/th/อาณาจักรสุโขทัย

 ความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย

 1. สาเหตุทางการเมือง

                -  เกิดการแย่งชิงอำนาจกันเองในหมู่ผู้นำ
                -  ผู้ปกครองกรุงสุโขทัยบางพระองค์อ่อนแอ จึงทำให้หัวเมืองต่าง ๆ ตั้งตนเป็นอิสระได้อย่างง่ายดาย
                -  มีการปกครองแบบกระจายอำนาจ ซึ่งโครงสร้างค่อนข้างหลวม ราชธานีไม่สามารถควบคุมหัวเมืองได้อย่างรัดกุม

        2.  สาเหตุทางด้านเศรษฐกิจ

                -  เมื่ออยุธยาประกาศตนเป็นอิสระทำให้เส้นทางการค้าที่ออกสู่ทะเลถูกปิดกั้นโดยอาณาจักรอยุธยา ส่งผลให้ประชากรประสบความยากลำบากในการประกอบอาชีพ
                -  เมืองมอญประกาศตนเป็นอิสระ ทำให้การค้าระหว่างสุโขทัยกับชาวต่างชาติทางด้านอ่าวเมาะตะมะมีอุปสรรคโดยถูกปิดล้อมทางออกทะเลทางด้านตะวันตก

        ด้วยสาเหตุทั้ง 2 ประการนี้ จึงเป็นเหตุทำให้อาณาจักรสุโขทัยอ่อนแอลง จนกระทั่งทำให้อาณาจักรอยุธยาสามารถแผ่ขยายอำนาจเข้าไปยังสุโขทัย และภายหลังสุโขทัยก็ถูกผนวกรวมเข้ากับอาณาจักรอยุธยาในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ

อาณาจักรสุโขทัยล่มสลายเมื่อใด

อาณาจักรสุโขทัย
ประวัติศาสตร์
• สถาปนา
พ.ศ. 1792
• เป็นรัฐร่วมประมุขกับกรุงศรีอยุธยา
พ.ศ. 1981
• ถูกผนวกเข้ากับกรุงศรีอยุธยาแล้วสิ้นสุดลง
พ.ศ. 1981
อาณาจักรสุโขทัย - วิกิพีเดียth.wikipedia.org › wiki › อาณาจักรสุโขทัยnull

เพราะเหตุใดสุโขทัยจึงแก้ปัญหาเรื่องน้ําด้วยการสร้างทํานบ

เนื่องจากสภาพพื้นที่บริเวณเมืองสุโขทัยเอียงลาดจนไม่สามารถเก็บน้ำได้ตามธรรมชาติ ทั้งพื้นที่อยู่ติดภูเขา จำเป็นต้องพัฒนาแหล่งเก็บน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง ชาวสุโขทัยสมัยนั้นจึงได้พัฒนาการเก็บกักน้ำโดยการสร้างอ่างเก็บน้ำ ทำนบหรือคันดิน ลำรางส่งน้ำหรือที่ขุดพบเป็นท่อสังคโลก เรียกว่า ท่อพระร่วง ส่งน้ำเข้าไปในตัวเมืองเพื่อขังเก็บใน ...

อาณาจักรสุโขทัยตั้งขึ้นและเสื่อมสลายในช่งปี พ.ศ.ใด ? *

Q. อาณาจักรสุโขทัยตั้งขึ้นและเสื่อมสลายในช่วงปี พ..ใด answer choices. 1792 -1982.