ภาษีผ่านด่านในสมัยสุโขทัยเรียกว่าอะไร

ขนอน คือ ด่านเก็บภาษีอากรเมื่อผ่านเข้าไปในเขตหนึ่ง ๆ สมัยกรุงสุโขทัยจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันยกเลิกไปแล้ว

ประเทศไทยมีการจัดเก็บภาษีอากรมาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัย ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 ว่า "เมื่อชั่วพ่อขุนรามคำแหง เมืองสุโขทัยนี้ดี...เจ้าเมืองบ่เอาจังกอบในไพร่ลู่ทาง เพื่อนจูงวัวไปค้าขี่ม้าไปขาย..." หมายความว่า ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงเป็นสมัยปลอดภาษีในการค้าขาย

ในสมัยสุโขทัย จังกอบคือภาษีชนิดหนึ่งอันเก็บจากผู้นำสัตว์และสิ่งของสินค้าไปเพื่อขายในที่ต่าง ๆ หรือนำเข้ามาขายในกรุงสุโขทัย การเรียกเก็บจังกอบใช้วิธี "สิบชักหนึ่ง" หรือ "สิบหยิบหนึ่ง" คือเก็บในอัตราร้อยละสิบตามภาษาปัจจุบัน และจังกอบนั้นไม่จำเป็นต้องชำระเป็นเงินสดเสมอไป อาจเป็นสิ่งขอหรือสัตว์ก็ได้เนื่องจากระบบการเงินในสมัยนั้นยังไม่สมบูรณ์

รัฐบาลสมัยสุโขทัยจะจัดตั้งด่านเก็บจังกอบสำหรับสินค้าทั่วไปในสถานที่ที่สะดวกแก่ผู้ชำระ เป็นต้นว่า ทางบกตั้งที่ปากทางหรือทางที่จะเข้าเมือง ทางน้ำตั้งที่ใกล้ท่าแม่น้ำหรือเป็นที่ทางร่วมสายน้ำ ด่านเก็บจังกอบนี้เรียก "ขนอน" ขนอนในสมัยสุโขทัยนี้มีหลายประเภทโดยเรียกชื่อตามสถานที่ตั้ง เช่น ขนอนบก ขนอนน้ำ ขนอนชั้นนอก ขนอนชั้นใน และขนอนตลาด เป็นต้น

อย่างไรก็ดี ถึงแม้จะปรากฏหลักฐานว่าในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงเป็นสมัยปลอดภาษีค้าขาย แต่ก็ไม่ปรากฏว่าหลังสมัยนั้นจะมีการเก็บอีกหรือไม่

ในสมัยอยุธยา ปรากฏหลักฐานว่ารายได้ประเภทหนึ่งของรัฐบาลมาจากการเก็บ "จังกอบ" ซึ่งสมัยนี้เปลี่ยนมาเรียกว่า "อากรขนอน" หรือ "ภาษีผ่านด่าน" โดยเก็บจากผู้นำสินค้าผ่านด่านอันตั้งไว้ทั้งทางบกและทางน้ำ วิธีการเรียกเก็บคงใช้เหมือนสมัยสุโขทัย

  • กรมสรรพากร. (2550, 19 เมษายน). ประวัติการจัดเก็บภาษี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: < >. (เข้าถึงเมื่อ: 12 ตุลาคม 2551).
  • ราชบัณฑิตยสถาน. (2551, 9 กุมภาพันธ์). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: < >. (เข้าถึงเมื่อ: 12 ตุลาคม 2551).
  • เศรษฐกิจสมัยอยุธยาตอนต้น. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: < >. (เข้าถึงเมื่อ: 12 ตุลาคม 2551).
  • ภาษีผ่านด่านในสมัยสุโขทัยเรียกว่าอะไร

ขนอน, ภาษาอ, เฝ, าด, แก, ไข, านเก, บภาษ, อากรเม, อผ, านเข, าไปในเขตหน, สม, ยกร, งส, โขท, ยจนถ, งสม, ยกร, งศร, อย, ธยา, จจ, นยกเล, กไปแล, วล, กษณะของในสม, ยส, โขท, แก, ไขประเทศไทยม, การจ, ดเก, บภาษ, อากรมาต, งแต, อนสม, ยส, โขท, ปรากฏในศ, ลาจาร, กหล, กท, เม, อช,. khnxn phasaxun efadu aekikh khnxn khux danekbphasixakremuxphanekhaipinekhthnung smykrungsuokhthycnthungsmykrungsrixyuthya pccubnykelikipaelwlksnakhxngkhnxninsmysuokhthy aekikhpraethsithymikarcdekbphasixakrmatngaetkxnsmysuokhthy praktinsilacarukhlkthi 1 wa emuxchwphxkhunramkhaaehng emuxngsuokhthynidi ecaemuxngbexacngkxbiniphrluthang ephuxncungwwipkhakhimaipkhay hmaykhwamwa insmyphxkhunramkhaaehngepnsmyplxdphasiinkarkhakhay insmysuokhthy cngkxbkhuxphasichnidhnungxnekbcakphunastwaelasingkhxngsinkhaipephuxkhayinthitang hruxnaekhamakhayinkrungsuokhthy kareriykekbcngkxbichwithi sibchkhnung hrux sibhyibhnung khuxekbinxtrarxylasibtamphasapccubn aelacngkxbnnimcaepntxngcharaepnenginsdesmxip xacepnsingkhxhruxstwkidenuxngcakrabbkarengininsmynnyngimsmburn rthbalsmysuokhthycacdtngdanekbcngkxbsahrbsinkhathwipinsthanthithisadwkaekphuchara epntnwa thangbktngthipakthanghruxthangthicaekhaemuxng thangnatngthiiklthaaemnahruxepnthithangrwmsayna danekbcngkxbnieriyk khnxn khnxninsmysuokhthynimihlaypraephthodyeriykchuxtamsthanthitng echn khnxnbk khnxnna khnxnchnnxk khnxnchnin aelakhnxntlad epntn xyangirkdi thungaemcaprakthlkthanwainrchsmyphxkhunramkhaaehngepnsmyplxdphasikhakhay aetkimpraktwahlngsmynncamikarekbxikhruximlksnakhxngkhnxninsmyxyuthya aekikhinsmyxyuthya prakthlkthanwarayidpraephthhnungkhxngrthbalmacakkarekb cngkxb sungsmyniepliynmaeriykwa xakrkhnxn hrux phasiphandan odyekbcakphunasinkhaphandanxntngiwthngthangbkaelathangna withikareriykekbkhngichehmuxnsmysuokhthyxangxing aekikhkrmsrrphakr 2550 19 emsayn prawtikarcdekbphasi xxniln ekhathungidcak lt http www rd go th publish 3460 0 html gt ekhathungemux 12 tulakhm 2551 rachbnthitysthan 2551 9 kumphaphnth phcnanukrmchbbrachbnthitysthan ph s 2542 xxniln ekhathungidcak lt http rirs3 royin go th dictionary asp gt ekhathungemux 12 tulakhm 2551 esrsthkicsmyxyuthyatxntn m p p xxniln ekhathungidcak lt http ednet kku ac th sumcha 215242 main html library Ayuthaya EcoAyuth EcoAyuth01 htm 111 gt ekhathungemux 12 tulakhm 2551 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khnxn amp oldid 8699184, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม

การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยกรุงศรีอยุธยา

(พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310)

ภาษีผ่านด่านในสมัยสุโขทัยเรียกว่าอะไร

ในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้มีการจารึกในประวัติศาสตร์ว่า เป็นยุคที่มีการจัดเก็บภาษีอากรรุ่งเรืองมาก การก่อตั้งกรุงศรีอยุธยาเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 1893 ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ทอง ได้สร้างพระนครขึ้นที่ริมหนองโสน แล้วทำการราชาภิเษกทรงพระนามว่า สมเด็จพระรามาธิบดี ขนานนามราชธานีว่า กรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยา ในช่วงตลอดอายุกรุงศรีอยุธยา เป็นเวลา 417 ปี บ้านเมืองมีทั้งความเจริญและความเสื่อม ในสมัยที่บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองมาก คือ สมัยสมเด็จพระรามาธิบดี สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แต่ในบางรัชสมัยพระมหาธรรมราชาและพระเพทราชา

การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยกรุงศรีอยุธยา หรือที่เรียกกันในสมัยนั้นว่า ส่วยสาอากร ได้มีการแบ่งการจัดเก็บออกเป็น 4 ประเภท คือ จังกอบ อากร ส่วย และฤชา โดยมีรายละเอียดดังนี้

1.จังกอบ หรือ จำกอบ เป็นภาษีที่เรียกเก็บจากการชักส่วนสินค้า ที่นำเข้ามาจำหน่ายตามที่ได้อธิบายข้างต้น

2.อากร หมายถึง ส่วนที่เก็บจากผลประโยชน์ที่ราษฎรทำมาหาได้ในการประกอบการต่างๆเช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวน ฯลฯ หรือการได้รับสิทธิจากรัฐบาลไปกระทำการ เช่น ต้มกลั่นสุรา เก็บของในป่า จับปลาในน้ำ ฯลฯ เช่น อากรค่านา อากรสวน อากรสุรา อากรค่าน้ำ เป็นต้น การเก็บอากรอาจจัดเก็บเป็นตัวเงินหรือเป็นสิ่งของ ถือเป็นภาษีที่จัดเก็บตามหลักผลประโยชน์ที่ได้รับจากรัฐไม่ทางตรงก็ทางอ้อม

3.ส่วย ความหมายของส่วย สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงสันนิษฐานว่า คำว่า ส่วย

-สิ่งของที่รัฐบาลเรียกร้องเอาจากเมืองที่อยู่ภายใต้ปกครอง หรืออยู่ในความคุ้มครองเป็นค่าตอบแทนการปกครองหรือคุ้มครอง ส่วยตามความหมายนี้จึงมีลักษณะเป็นเครื่องราชบรรณาการ

-เงินช่วยราชการตามที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎรชายที่มิได้รับราชการทหารเป็นรายบุคคล เนื่องจากสังคมไทยแต่ดั้งเดิม มีระบบเกณฑ์แรงงานจากราษฎร โดยรัฐไม่ต้องจ่ายค่าจ้าง แต่จะให้ความคุ้มครองทางกฎหมายเป็นการตอบแทน ทั้งนี้เดิมราษฎรที่ถูกเกณฑ์แรงงาน จะมาประจำการเป็นเวลาปีละ 6 เดือน โดยผู้ที่ไม่มารับราชการเมื่อถึงเวรของตน จะต้องเสียส่วยเรียกว่า ส่วยแทนแรง เพื่อที่ราชการจะได้จ้างคนมาทำงานแทน ส่วยแทนแรง เพื่อที่ราชการจะได้จ้างคนมาทำงานแทน ส่วยแทนแรงนี้ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นเงินรัชชูปการในระยะต่อมา ( รัชกาลที่ 6 )

              -เงินที่ทางราชการกำหนดให้ราษฎรร่วมรับภาระในการกระทำบางอย่าง เช่น เกณฑ์ให้ช่วยสร้างป้อมปราการ เป็นต้น
              -ทรัพย์มรดกของผู้มรณภาพซึ่งต้องถูกริบเป็นของหลวง อันเนื่องจากเกินกำลังของทายาทที่จะเอาไว้ใช้สอย เป็นต้น

4.ฤชา คือค่าธรรมเนียมที่ทางราชการเรียกเก็บจากราษฎรซึ่งได้รับประโยชน์จากรัฐเป็นการเฉพาะตัว เช่น ผู้ใดจะขอโฉนดตราสาร เพื่อมิให้ผู้อื่นบุกรุกแย่งชิงที่เรือกสวนไร่นา จักต้องเสียฤชาแก่รัฐ เป็นต้น ฤชาที่สำคัญได้แก่ ค่าธรรมเนียม และค่าปรับทางการศาล

เมื่อพิจารณาตามลักษณะการจัดเก็บภาษีอากรข้างต้น จะเห็นว่ามีการจัดเก็บภาษีทั้งในรูปของการบังคับจัดเก็บจะได้รับประโยชน์ในทางอ้อม คือ กรณีจังกอบและส่วย ส่วนอีกกรณีหนึ่งคือในรูปที่ผู้ถูกจัดเก็บจะได้รับผลประโยชน์จากรัฐโดยตรง คือ อากรและฤชา

ในขณะเดียวกัน เมื่อมีการศึกษาค้นคว้าถึงวิวัฒนาการในด้านการบริหารงานจัดเก็บในสมัยกรุงศรีอยุธยา จะพบว่าในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นช่วงเวลาที่มีการปฏิรูประบบการปกครองแผ่นดินครั้งใหญ่ ทั้งในด้านการวางระเบียบทางการคลัง การส่วยสาอากร ฯลฯ โดยพระองค์ได้ทรงแบ่งการบริหารการปกครองออกเป็น 4 ส่วน เรียกว่า จตุสดมภ์ โดยแต่ละส่วนมีหน้าที่ ดังนี้

เวียง เรียกว่า นครบาล มีหน้าที่ราชการปกครองท้องที่ และดูแลทุกข์สุขของราษฎรพลเมือง

วัง เรียกว่า ธรรมธิกรณ์ มีหน้าที่ว่าราชการศาลหลวง และว่าราชการอรรถคดีในพระราชสำนัก

คลัง เรียกว่า โกษาธิบดี มีหน้าที่ราชการจัดการพระราชทรัพย์ เก็บส่วยสาอากรซึ่งเป็นผลประโยชน์แผ่นดิน

นา เรียกว่า เกษตราธิบดี   มีหน้าที่ปฏิบัติราชการเกี่ยวกับ เรื่องนาและสวน การเพาะปลูกพืชพันธุ์ธัญญาหาร

ทั้งนี้โดยรูปแบบการบริหารงานฯของพระองค์ข้างต้น ได้ถูกใช้เป็นแบบอย่างรูปแบบการปกครองต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

การจัดเก็บภาษีผ่านด่านในสมัยสุโขทัยเรียกว่าอะไร

ในสมัยสุโขทัย จังกอบคือภาษีชนิดหนึ่งอันเก็บจากผู้นำสัตว์และสิ่งของสินค้าไปเพื่อขายในที่ต่าง ๆ หรือนำเข้ามาขายในกรุงสุโขทัย การเรียกเก็บจังกอบใช้วิธี "สิบชักหนึ่ง" หรือ "สิบหยิบหนึ่ง" คือเก็บในอัตราร้อยละสิบตามภาษาปัจจุบัน และจังกอบนั้นไม่จำเป็นต้องชำระเป็นเงินสดเสมอไป อาจเป็นสิ่งขอหรือสัตว์ก็ได้เนื่องจากระบบการเงินใน ...

ข้อใดเป็นชื่อเรียก การเก็บเงินภาษีผ่านด่านของพาหนะ

+ 1. จังกอบหรือจกอบ คือ ภาษีที่จัดเก็บจากสินค้าที่ผ่านด่าน ภาษี ด่านภาษีเรียกกันมาแต่เดิมว่า “ขนอน” ซึ่งเป็นที่สำหรับคอยดัก เก็บจังกอบ อ่านขนอนมักจะตั้งอยู่ปากทางที่จะเข้าเมือง ถ้าเมืองตั้งอยู่ใกล้ แม่น้ำ ใช้แม่น้ำลำคลองเป็นที่สัญจรไปมา ด่านขนอนมักตั้งอยู่ตรงทางน้ำ ร่วมกัน โดยเหตุที่จังกอบจัดเก็บจากสินค้าผ่านด่านนี้เอง ...

อากรขนอน (จังกอบ) เป็นการเก็บภาษีประเภทใด

1. จังกอบ หรือ จำกอบ เป็นภาษีที่เรียกเก็บจากการชักส่วนสินค้า ที่นำเข้ามาจำหน่ายตามที่ได้อธิบายข้างต้น

สภาพเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัยเป็นลักษณะแบบใด

สภาพเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ดังข้อความปรากฏในหลักศิลาจารึกหลักที่ 1 "… ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงินค้า ทองค้า " และ "... เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว..." ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยระบบเกษตรกรรมแบบยังชีพ และส่งออกเครื่องถ้วยชามสังคโลก