น้ำเป็นส่วนประกอบของเครื่องดื่มมีปริมาณกี่เปอร์เซ็นต์

ประเภทของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีความเข้มข้นของแอลกอฮอล์สูงกว่าสามารถทำให้เกิดอาการเมาสุราและพิษจากแอลกอฮอล์ได้เร็วขึ้นแม้ดื่มในปริมาณน้อย

READ  อาหารแก้ “แฮงค์”

เครื่องดื่มที่ไม่ผ่านการกลั่น (Undistilled Drinks)

1.เบียร์ (Beer)

เบียร์เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลกและยังเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่เก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์

นอกจากนี้ สำหรับวัยทำงานยังสามารถใช้วิธีการคำนวณง่าย ๆ ว่า ต้องดื่มน้ำเท่าไหร่ต่อวัน ใช้เพียงแค่น้ำหนักตัวของเราเท่านั้นเอง สูตรคือ น้ำหนัก (กิโลกรัม) คูณด้วย 2.2 คูณด้วย 30 หารด้วย 2 จะได้เป็นปริมาณน้ำเป็นมิลลิลิตรที่เราควรดื่มใน 1 วัน

ยกตัวอย่างเช่น น้ำหนักตัว 70 กิโลกรัม × 2.2 × 30 / 2 จะเท่ากับ 2,310 มิลลิลิตร แต่สำหรับใครที่ไม่ต้องการที่จะคำนวณให้ยุ่งยากแล้วก็ควรที่จะดื่มน้ำในแต่ละวันให้เพียงพอประมาณ 8-10 แก้ว หรือเทียบเท่ากับการดื่มน้ำจากขวดขนาด 600 มิลลิลิตร ประมาณ 3-4 ขวดนั่นเอง
นอกจากนี้สำหรับคนที่ออกกำลังกายเป็นประจำ ขณะออกกำลังกายจะมีการสูญเสียน้ำมากขึ้น ดังนั้นจึงควรที่จะดื่มน้ำเปล่าที่ใสสะอาด ไม่มีสี ไม่มีกลิ่นให้เพียงพอ เพื่อรักษาสมดุลน้ำและแร่ธาตุในร่างกายและชดเชยน้ำที่สูญเสียไป โดยมีเทคนิคการดื่มน้ำง่าย ๆ สำหรับคนออกกำลังกาย คือ

หน้าที่สำคัญที่สุดของน้ำ คือ เป็นตัวกลางในการเกิดปฏิกิริยาเคมีทุกชนิดในกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย ปฏิกิริยาเคมีในร่างกายทุกชนิดต้องอาศัยน้ำ เซลล์จะไม่สามารถทำงานได้ถ้าไม่มีน้ำ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ กระบวนการการย่อยอาหาร กระบวนการดูดซึมอาหาร และกระบวนการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย

น้ำที่เป็นของเหลวของเลือดทำหน้าที่ขนส่งอาหารและออกซิเจนให้แก่เซลล์ อีกทั้งนำของเสียและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์มาขับถ่ายออกจากร่างกาย กระบวนการไหลเวียนเลือดและกระบวนการขับถ่ายของเสียในร่างกายไม่สามารถเกิดขึ้นได้

ถ้าปราศจากสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
น้ำช่วยให้การขับถ่ายกากอาหารในลำไส้ใหญ่เป็นไปโดยสะดวก ความผิดปกติของการถ่ายอุจจาระเกิดขึ้นเนื่องจากขาดสมดุลของการดูดซึมน้ำกลับเข้าสู่เซลล์ลำไส้ เชื้อโรคที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคอุจจาระร่วงหลายชนิดสร้างสารพิษที่มีผลต่อกลไกการควบคุมสมดุลสารน้ำภายในลำไส้

สารพิษ รวมทั้งสารเคมีในร่างกายที่อาจเป็นพิษ ถูกกำจัดออกจากร่างกายโดยอาศัยน้ำ เลือดทำหน้าที่ขนส่งสารเหล่านั้นไปทั่วร่างกายซึ่งสารนั้นละลายในน้ำ ตับเป็นอวัยวะสำคัญในการทำลายหรือเปลี่ยนแปลงสารพิษด้วยกลไกทางเคมีมากมายหลายชนิด บางคนกล่าวเปรียบเทียบว่าตับเป็นโรงงานผลิตเอนไซม์ที่ทรงพลังมากกว่าโรงงานใดๆในโลก กระบวนการขับถ่ายสารพิษเกิดขึ้นร่วมกับการขับถ่ายทางปัสสาวะและอุจจาระ

             - น้ำช่วยควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย และช่วยรักษาระดับความเป็นกรดด่างของเลือดรวมทั้งของเหลวต่างๆ ในร่างกาย น้ำช่วยระบายความร้อนของร่างกายในรูปของเหงื่อ ซึ่งถือเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพยิ่ง

เป็นตัวกลางในการเกิดปฏิกิริยาเคมีทุกชนิด ในกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย ปฏิกิริยาเคมีในร่างกายทุกชนิดต้องอาศัยน้ำ เซลล์จะไม่สามารถทำงานได้ถ้าไม่มีน้ำ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ กระบวนการการย่อยอาหาร กระบวนการดูดซึมอาหาร และกระบวนการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย น้ำที่เป็นของเหลวของเลือด ทำหน้าที่ขนส่งอาหารและออกซิเจนให้แก่เซลล์ อีกทั้งนำของเสียและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์มาขับถ่ายออกจากร่างกาย กระบวนการไหลเวียนเลือด และกระบวนการขับถ่ายของเสียในร่างกายไม่สามารถเกิดขึ้นได้

นอกจากนี้น้ำช่วยให้การขับถ่ายกากอาหารในลำไส้ใหญ่เป็นไปโดยสะดวก ความผิดปกติของการถ่ายอุจจาระเกิดขึ้น เนื่องจากขาดสมดุลของการดูดซึมน้ำกลับเข้าสู่เซลล์ลำไส้ เชื้อโรคที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคอุจจาระร่วงหลายชนิด สร้างสารพิษที่มีผลต่อกลไกการควบคุมสมดุลสารน้ำภายในลำไส้

สารพิษรวมทั้งสารเคมีในร่างกายที่อาจเป็นพิษ ถูกกำจัดออกจากร่างกายโดยอาศัยน้ำ เลือดทำหน้าที่ขนส่งสารเหล่านั้นไปทั่วร่างกายซึ่งสารนั้นละลายในน้ำ ตับเป็นอวัยวะสำคัญในการทำลาย หรือเปลี่ยนแปลงสารพิษด้วยกลไกทางเคมีมากมาย หลายชนิด บางคนกล่าวเปรียบเทียบว่าตับเป็นโรงงานผลิตเอนไซม์ที่ทรงพลัง มากกว่าโรงงานใด ๆ ในโลก กระบวนการขับถ่ายสารพิษเกิดขึ้นร่วมกับการขับถ่ายทางปัสสาวะและอุจจาระ และน้ำช่วยควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย และช่วยรักษาระดับความเป็นกรดด่างของเลือดรวมทั้งของเหลวต่าง ๆ ในร่างกาย น้ำช่วยระบายความร้อนของร่างกายในรูปของเหงื่อ ซึ่งถือเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพยิ่ง
การสูญเสียน้ำ

ร่างกายเรามีกาสูญเสียน้ำรวมทั้งสิ้นประมาณ 3–5 ลิตร ซึ่งใกล้เคียงกับปริมาณที่ได้รับเลยทีเดียว ปริมาณของน้ำในร่างกายคนไม่แน่นอน ขึ้นกับอายุ ปริมาณของไขมันในร่างกาย และกิจกรรมของแต่ละคน คนที่ทำงานหนักกลางแจ้งอาจสูญเสียน้ำ 5 –12 ลิตรต่อวัน หรือคนที่มีโรคภัยไข้เจ็บก็อาจเสียสมดุลของน้ำในร่างกายได้ง่าย โดยร่างกายจะสูญเสียน้ำทาง

- ผิวหนัง มีทั้งที่เรามองเห็นออกมาในรูปของเหงื่อ และน้ำที่ระเหยไปโดยที่เรามองไม่เห็น
- ปอด โดยการหายใจออก
- ทางอุจจาระ
- ทางปัสสาวะ

แล้วเราควรดื่มน้ำ ปริมาณ หรือ มากแค่ไหนใน 1 วัน ??

เราควรพยายามดื่มน้ำให้เป็นนิสัยโดย สำหรับผู้ชายควรดื่มไม่น้อยกว่า  3.7 ลิตร/วัน และหญิงควรไม่น้อยกว่า  2.7 ลิตรต่อวัน หรือวิธีง่ายๆ ก็สังเกตสีของปัสสาวะ ถ้าหากปัสวะมีสีเข้มแสดงว่าเราดื่มน้ำน้อยไป ถ้าหากสีปัสาวะต้องมีสีเหลือจางๆสภาพใส ไร้มูกหรือสิ่งเจอปนถือว่าอยู่ในระดับปรกติ

หวังว่าทุกคน คงจะให้ความสำคัญกับการดื่มน้ำมากขึ้นและ ฝึกให้เป็นความเคยชินถึงแม้บางครั้งเราไม่รู้สึกหิวกระหายน้ำก็ตาม และลดการดื่มน้ำหวาน น้ำอัดลม กาแฟ ชานมไข่มุก มาดื่มน้ำเปล่าในอุณภูมิห้องปรกติเป็นประจำเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด สำหรับคนที่ออกกำลังกาย ระหว่างออกควรจิบน้ำไปด้วยเป็นระยะ จิบ เพราะขณะที่เราออกกำลังกายร่างกายเราจะสูญเสียน้ำเพื่อระบายความร้อน ออกมาในรูปของเหงื่อ ถ้าเราไม่จิบน้ำอาจเกิดภาวะร่างกายขาดน้ำได้ง่าย