เพลงเราสู้กล่าวถึงเรื่องใด

สมภพ จันทรประภา ได้ประพันธ์กลอนสุภาพ 4 บท จากพระราชดำรัสที่พระราชทานแก่สมาชิกสภานิติบัญญัติที่เข้าเฝ้าฯ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน มาเขียนเป็นคำกลอนถวาย เมื่อทรงเกิดแรงบันดาลพระราชหฤทัย ที่จะทรงพระราชนิพนธ์เพลง "เราสู้" พระราชทานให้เป็นของขวัญปีใหม่แก่ทหาร อาสาสมัครและตำรวจชายแดน ทรงหยิบซองจดหมายใกล้พระหัตถ์มาตีบรรทัด 5 เส้น เพื่อทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง เสร็จแล้วพระราชทานให้ วง อ.ส. วันศุกร์ ซึ่งกำลังบรรเลงอยู่ในงานวันขึ้นปีใหม่ 1 มกราคม พ.ศ. 2517 นำออกบรรเลง ณ พระราชวังบางปะอิน จากนั้นได้ทรงนำกลับไปแก้ไขก่อนจะพระราชทานออกมาให้วงดนตรี อ.ส. วันศุกร์ บรรเลง และทรงแก้ไขอีกจนพอพระราชหฤทัย[1]


ในภายหลัง สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ได้ตั้งข้อสังเกตว่า เนื้อเพลงในเพลง "เราสู้" ไม่น่าจะมาจากพระราชดำรัสในปี พ.ศ. 2516 หรือปีก่อนหน้า เนื่องจากสืบค้นแล้วไม่พบพระราชดำรัสที่ใกล้เคียงกับเนื้อเพลง แต่กลับพบว่าพระราชดำรัสในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2518 มีหลายจุดที่ค่อนข้างตรงกับเนื้อเพลง "เราสู้" ดังนั้นจึงเป็นไปไม่ได้ว่าเพลงนี้จะพระราชนิพนธ์ขึ้นในวันขึ้นปีใหม่ พ.ศ. 2517 ดังที่ประวัติของเพลงที่เป็นทางการได้ระบุไว้


"แต่ทำไมเมืองไทยอยู่ได้ ก็เพราะว่าบรรพบุรุษของเราทำมาเป็นแรมปีเป็นร้อยๆปี ทำมาด้วยความสุจริตใจ ในสิ่งที่เรารู้ในประวัติศาสตร์ว่านักรบไทยได้ป้องกัน ประเทศให้อยู่ นักปกครองไทยได้ป้องกันความเป็นอยู่ของเมืองไทยให้อยู่ได้ตกทอดมาถึงเรานั้นน่ะ ท่านได้ทำมาด้วยความตั้งใจให้เป็นมรดก… คือเป็นบารมี ได้สร้างบารมีมาตั้งแต่โบราณกาลมา สะสมมาเรื่อย… ขอเปรียบเทียบเหมือนบารมี นั่นคือทำความดีนี้ เปรียบเทียบเหมือนการธนาคาร… เราอย่าไป เบิกบารมีที่บ้านเมืองที่ประเทศได้สร้างสมเอาไว้ตั้งแต่บรรพบุรุษของเราให้เกิน เราต้องทำบ้าง หรือเพิ่มพูนให้ประเทศชาติมีอนาคตที่แน่นอน อนาคตที่จะสามารถถือว่าชั่วลูกชั่วหลานชั่วเหลนชั่วโหลน ประเทศไทยก็ยังคงอยู่… การสร้างบารมีของบรรพบุรุษของเราแต่โบราณกาล ที่ได้รักษาสร้างบ้านเมืองขึ้นมาจนถึงเราแล้ว ก็ในสมัยนี้ที่เราอยู่ในที่ที่เรากำลังเสียขวัญกลัวก็ไม่ต้องกลัว ไม่ต้องกลัวเพราะเรามีทุนอยู่… เรามีบ้านเมืองแล้ว เราต้องรักษาไม่ใช่ทำลาย ใครอยากทำลายบ้านเมืองก็ทำลายเข้า เชิญทำลาย เราสู้ แต่ว่าผู้ที่จะทำลายระวังดีๆ คือว่าผู้ที่อยากทำลายนั้นไม่ใช่ว่าเขาอยากทำลายเพื่ออะไร แต่เขาทำลายตัวเอง น่าสงสาร ส่วนมากเขาทำลายตัวเอง…" ส่วนหนึ่งของพระราชดำรัสวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2518


ส่วนของพระราชดำรัสวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ที่ตรงกับเนื้อเพลง "เราสู้"


บรรพบุรุษของเราแต่โบราณกาล เป็น บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ

ชั่วลูกชั่วหลานชั่วเหลนชั่วโหลน เป็น ลูกหลานเหลนโหลน

อนาคต... ประเทศไทยก็ยังคงอยู่ เป็น อนาคตจะต้องมีประเทศไทย

เรามีบ้านเมืองแล้ว เราต้องรักษาไม่ใช่ทำลาย เป็น บ้านเมืองเรา เราต้องรักษา

ใครอยากทำลายบ้านเมืองก็ทำลายเข้า เชิญทำลาย เราสู้ เป็น อยากทำลายเชิญมาเราสู้

นอกจากนั้นสมศักดิ์ยังตั้งข้อสังเกตอีกว่า ประวัติที่เป็นจริงของเพลง "เราสู้" น่าจะเป็นดังนี้


วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ทรงมีพระราชดำรัสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ระหว่างวันที่ 4 – ปลายเดือนสมภพ จันทรประภา เขียนกลอน "เราสู้" จากพระราชดำรัส 4 ธันวาคม พ.ศ. 2518 แล้วทูลเกล้าฯถวาย

ปลายธันวาคม พ.ศ. 2518 ทรงพระราชทานกลอน "เราสู้" ให้เป็นของขวัญปีใหม่แก่ทหาร และตำรวจตระเวนชายแดน

วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2519 ทรงเกิดแรงบันดาลพระราชหฤทัย พระราชนิพนธ์ทำนองให้กลอน "เราสู้" ขณะทรงประทับ ณ พระราชวังบางปะอิน แล้วทรงพระราชทานให้วง อ.ส.วันศุกร์ ซึ่งกำลังบรรเลงในงานวันปีใหม่ที่นั่นทดลองบรรเลง

ต้น – กลางปี พ.ศ. 2519 ทรงนำทำนองเพลง "เราสู้" กลับไปแก้ไขจนพอพระราชหฤทัย แล้วพระราชทานฉบับสมบูรณ์ออกมา

บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ
เสียเลือดเสียเนื้อมิใช่เบา
ลูกหลานเหลนโหลนภายหน้า
อนาคตจะต้องมีประเทศไทย

ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น
สู้ตรงนี้สู้ที่นี่สู้จนตาย
บ้านเมืองเราเราต้องรักษา
เกียรติศักดิ์ของเราเราเชิดชู

ปกบ้านป้องเมืองคุ้มเหย้า
หน้าที่เรารักษาสืบไป
จะได้มีพสุธาอาศัย
มิยอมให้ผู้ใดมาทำลาย

จะสู้กันไม่หลบหนีหาย
ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู
อยากทำลายเชิญมาเราสู้
เราสู้ไม่ถอยจนก้าวเดียว

บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ
ปกบ้านป้องเมืองคุ้มเหย้า
เสียเลือดเสียเนื้อมิใช่เบา
หน้าที่เรารักษาสืบไป
ลูกหลานเหลนโหลนภายหน้า
จะได้มีพสุธาอาศัย
อนาคตจะต้องมีประเทศไทย
มิยอมให้ผู้ใดมาทำลาย
ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น
จะสู้กันไม่หลบหนีหาย
สู้ตรงนี้สู้ที่นี่สู้จนตาย
ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู
บ้านเมืองเราเราต้องรักษา
อยากทำลายเชิญมาเราสู้
เกียรติศักดิ์ของเราเราเชิดชู
เราสู้ไม่ถอยจนก้าวเดียว

เพลงเราสู้กล่าวถึงเรื่องใด
บรรพบุรุษของไทยแต่โบราณ
ปกบ้านป้องเมืองคุ้มเหย้า
เสียเลือดเสียเนื้อมิใช่เบา
หน้าที่เรารักษาสืบไป
ลูกหลานเหลนโหลนภายหน้า
จะได้มีพสุธาอาศัย
อนาคตจะต้องมีประเทศไทย
มิยอมให้ผู้ใดมาทำลาย
ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไม่หวั่น
จะสู้กันไม่หลบหนีหาย
สู้ตรงนี้สู้ที่นี่สู้จนตาย
ถึงเป็นคนสุดท้ายก็ลองดู
บ้านเมืองเราเราต้องรักษา
อยากทำลายเชิญมาเราสู้
เกียรติศักดิ์ของเราเราเชิดชู
เราสู้ไม่ถอยจนก้าวเดียว
เพลงเราสู้กล่าวถึงเรื่องใด
เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๔๔ ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองใส่คำร้องที่นายสมภพ จันทรประภา ประพันธ์เป็นกลอนสุภาพ ๔ บท ใน พ.ศ. ๒๕๑๖ คำร้องนี้นายสมภพได้ขอพระราชทานพระราชดำรัสที่พระราชทานแก่สมาชิกสภานิติ บัญญัติ ประกอบด้วย ข้าราชการพลเรือน ทหาร ตำรวจ และประชาชน ซึ่งได้จัดแข่งฟุตบอล เพื่อนำรายได้ทูลเกล้าฯ ถวายโดยเสด็จพระราชกุศล และเข้าเฝ้าฯ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน มาเขียนเป็นคำกลอนถวายเมื่อทรงเกิดแรงบันดาลพระราชหฤทัยที่จะทรงพระราชนิพนธ์เพลง "เราสู้" ก็ทรงหยิบซองจดหมายใกล้พระหัตถ์มาตี บรรทัด ๕ เส้น เพื่อทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง เมื่อแล้วเสร็จก็พระราชทานให้วงดนตรี อ.ส. วันศุกร์ ซึ่งกำลังบรรเลง อยู่ในงานวันขึ้นปีใหม่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๗ นำออกบรรเลง ณ พระราชวังบางปะอิน จากนั้นได้ทรงนำกลับไป แก้ไขก่อนจะพระราชทานออกมาให้วงดนตรี อ.ส.วันศุกร์ บรรเลง และทรงแก้ไขอีกจนพอพระราชหฤทัยนับเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒ ที่ทรงจากคำร้อง

เพลงเราสู้มีความหมายเกี่ยวกับเรื่องใด

เพลงพระราชนิพนธ์ เราสู้ มีความหมายให้คนไทยรักและหวงแหนแผ่นดิน ถือเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่ต้องพร้อมในการสู้เพื่อปกปักรักษาประเทศไทย เช่นเดียวกับที่บรรพบุรุษได้ทำมาก่อน

เพลงเราสู้ต่อจากเพลงอะไร

เพลงเราสู้ เป็นบทเพลงปลุกใจที่เป็นบทพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงพระราชนิพนธ์ต่อจากเพลงความฝันอันสูงสุด ส่งเสริมให้มี ความรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์และความสามัคคีในหมู่คณะ ผู้คิดประดิษฐ์ท่าร า เป็นปรมาจารย์แห่งวงการนาฏศิลป์ไทย ๒ ท่าน คือ คุณครูเฉลย ศุขะวณิช และคุณครูลมุล ยมะ ...

เพลงเราสู้อยู่ในรัชกาลใด

เราสู้.

เพลงสายฝนเป็นเพลงประเภทใด

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรมีรับสั่งถึงความลับของเพลงนี้ไว้เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2524 ว่า ... สายฝน (เพลงพระราชนิพนธ์).