สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

เมื่อเห็น บทเสภาสามัคคีเสวก ครั้งแรก เชื่อว่าต้องมีน้อง ๆ หลายคนต้องเผลออ่านคำว่า เสวก เป็น (สะ-เหวก) แน่ ๆ เลยใช่ไหมคะ แต่ที่จริงแล้วคำว่าเสวกนั้นต้องอ่านให้ถูกต้องว่า (เส-วก) ที่มีความหมายถึงผู้ใกล้ชิด เป็นยศของข้าราชการในราชสำนักนั่นเองค่ะ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้ไม่เพียงแต่จะสอนอ่านให้ถูกต้อง แต่จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของเรื่องย่อวรรณคดีไทยอย่างบทเสภาสามัคคีเสวกกันอีกด้วย โดยจะเป็นเรื่องราวแบบไหน มีลักษณะคำประพันธ์และเรื่องย่ออย่างไรบ้าง เราไปศึกษาเรื่องนี้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ

 

 

บทเสภาสามัคคีเสวกและประวัติความเป็นมา

 

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

 

บทเสภาสามัคคีเสวก มีที่มาจากที่ในสมัยก่อน ทุกวันเสาร์ ข้าราชการในราชสำนักจะจัดงานเลี้ยงที่พระราชวังสนามจันทร์ซึ่งในงานเลี้ยง จะมีการแสดงเพื่อความบันเทิง และในครั้งที่เจ้าพระยาธรรมธิกรณาธิบดี หรือ หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล เป็นเจ้าภาพจัดงานเลี้ยง ก็ได้ทูลขอให้พระบาทสมเด็จเพราะมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวคิดการละเล่นขึ้นมาอย่างหนึ่ง พระองค์จึงได้ผูกระบำสามัคคีเสวกขึ้น ซึ่งเป็นระบำที่ไม่มีบทร้อง มีเพียงดนตรีของวงพิณพาทย์บรรเลง โดยในระหว่างที่ให้วงพิณพาทย์พักเหนื่อย พระองค์ก็ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาขึ้นมาสำหรับขับร้องระหว่างตอน

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

 

 

ลักษณะคำประพันธ์

 

กลอนเสภาที่มีฉันทลักษณ์เหมือนกลอนสุภาพ

 

เรื่องย่อของบทเสภาสามัคคีเสวก

 

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

 

บทเสภาสามัคคีเสวกมีด้วยกันทั้งหมด 4 ตอน ได้แก่

1. กิจการแห่งพระนนที เป็นบทกล่าวสรรเสริญพระนนทีว่าเป็นเทพเสวกที่ดี รับใช้พระอิศวรอย่างซื่อสัตย์

2. กรีนิรมิต เป็นบทกล่าวสรรเสริญพระคเณศ เทพเจ้าแห่งศิลปวิทยา

3. วิศวกรรมา เป็นบทกล่าวสรรเสริญพระวิศวกรรมเทพ ผู้ให้กำเนิดการก่อสร้างและช่างต่าง ๆ

4. สามัคคีเสวก เป็นบทกล่าวถึงความสามัคคีในหมู่ราชการ ให้มีความจงรักภักดี ซื่อสัตย์ และขยันทำงาน

 

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

 

ตอนที่เราจะศึกษากันในวันนี้มีด้วยกัน 2 ตอน คือ วิศวกรรมาและสามัคคีเสวกค่ะ

 

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา

 

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

 

บทวิศวกรรมา มีทั้งหมด 13 บท เป็นบทที่กล่าวสรรเสริญพระวิศวกรรมผู้เป็นเทพแห่งการสร้าง การช่าง นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของศิลปะ

 

บทประพันธ์เด่น

 

แม้ผู้ใดไม่นิยมชมสิ่งงาม

เมื่อถึงยามเศร้าอุราน่าสงสาร

เพราะขาดเครื่องระงับดับรำคาญ

โอสถใดจะสมานซึ่งดวงใจ

 

ถอดความ คนที่ไม่สนใจในศิลปะ เมื่อถึงเวลาที่เศร้าก็จะไม่มีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ เพราะทุกข์ที่เกิดขึ้นในใจไม่สามารถใช้ยาช่วยได้

 

อันชาติใดไร้ช่างชำนาญศิลป์

เหมือนนารินไร้โฉมบรรโลมสง่า

ใครใครเห็นไม่เป็นที่จำเริญตา

เขาจะพากันเย้ยให้อับอาย

 

ถอดความ ชาติใดก็ตามที่ไม่มีช่างฝีมือด้านศิลปะ ก็เหมือนผู้หญิงที่ไม่มีเสน่ห์ ไม่สวย ใครเห็นก็รู้สึกไม่ชอบและพากันดูถูกได้ว่าเป็นเมืองที่ไร้ศิลปะ

 

สรุปแนวคิดในตอนวิศวกรรมา

เป็นบทที่แสดงให้เห็นถึงคุณค่าของงานฝีมือและศิลปะว่ามีความสำคัญมาก เพราะศิลปะจะช่วยเยียวยาจิตใจ ให้ความเพลิดเพลิน บำรุงประเทศให้งดงาม และนอกจากนี้ยังส่งเสริมให้คนไทยภาคภูมิใจและสนับสนุนงานศิลปะ เพราะนอกจากจะช่วยพัฒนาฝีมือช่างไทยแล้วยังเป็นการพัฒนาชาติให้เจริญรุ่งเรืองอีกด้วย

 

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก

 

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

 

มีทั้งหมด 9 บท มุ่งเน้นที่จะสอนข้าราชการให้จงรักภักดีและทำงานอย่างขยันขันแข็งเพื่อให้ประเทศเจริญก้าวหน้า

 

บทประพันธ์เด่น

 

ประการหนึ่งพึงคิดในจิตมั่น

ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว

ควรเคารพยำเยงและเกรงกลัว

ประโยชน์ตัวนึกน้อยหน่อยจะดี

ควรนึกว่าบรรดาข้าพระบาท

ล้วนเป็นราชบริพารพระทรงศรี

เหมือนลูกเรืออยู่ในกลางหว่างวารี

จำต้องมีมิตรจิตรสนิทกัน

 

ถอดความ พระมหากษัตริย์เปรียบเหมือนบิดาที่ควรเคารพ และสอนให้ข้าราชการนึกถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว นอกจากนี้ยังเปรียบเทียบให้เห็นภาพชัดเจนอีกด้วยว่าข้าราชการเหมือนลูกเรือกะลาสี เรือเปรียบเหมือนประเทศชาติ

 

แม้ลูกเรือเชื่อถือผู้เป็นนาย

ต้องมุ่งหมายช่วยแรงโดยแข็งขัน

คอยตั้งใจฟังบังคับกัปปิตัน

นาวานั้นจึ่งจะรอดตลอดทะเล

 

ถอดความ ข้าราชการที่เหมือนลูกเรือ ต้องสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจ และตั้งใจฟังกัปตันหรือก็คือพระมหากษัตริย์เพื่อพาประเทศชาติอยู่รอดปลอดภัยไปตลอดรอดฝั่งได้

 

แม้ต่างคนต่างเถียงเกี่ยงแก่งแย่ง

นายเรือจะเอาแรงมาแต่ไหน

แม้ไม่ถือเคร่งคงตรงวินัย

เมื่อถึงคราวพายุใหญ่จะครวญคราง

 

ถอดความ สื่อถึงว่าหากลูกเรือหรือบรรดาข้าราชการแตกคอกัน แม้แต่พระมหากษัตริย์เองก็สู้ไม่ไหว และถ้าหากเกิดเรื่องไม่ดีก็อาจจะทำให้ประเทศเดือดร้อนได้

 

ไม่ควรเลือกที่รักมักที่ชัง

สามัคคีเป็นกำลังพลังศรี

ควรปรองดองในหมู่ราชเสวี

ให้สมที่ร่วมพระเจ้าเราองค์เดียว

 

ถอดความ เป็นการสอนให้ข้าราชการไม่ลำเอียง ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง วางตัวเป็นกลาง และควรปรองดองกันในหมู่ราชการ สามัคคีกัน

 

สรุปแนวคิดที่ในตอนสามัคคีเสวก

เป็นบทที่มุ่งเน้นสอนข้าราชการเกี่ยวกับการทำงาน ความซื่อสัตย์ ให้นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม เคร่งครัดในระเบียบวินัย มีความจงรักภักดีและสามัคคีปรองดองกัน

 

สิ่งที่ทำให้กลอนเสภาเรื่องนี้แตกต่างจากบทเสภาทั่วไป คือการอัดแน่นไปด้วยแนวคิดมากกว่าจะเล่าเรื่องราว เรียกได้ว่าเป็นวรรณคดีที่เปี่ยมไปด้วยความรู้และข้อคิดมากมายเลยค่ะ และเพื่อให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจกันมากขึ้น ก็สามารถตามไปดูคลิปการสอนย้อนหลังของครูอุ้ม ในคลิปครูอุ้มจะอธิบายตัวบทเด่น ๆ และยังมีคำศัพท์น่ารู้อีกมากมายเลยค่ะ ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่ะ

 

ตอน สามัคคีเสวก

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยใหม่ๆ ได้ใน nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

โดเมนของความสัมพันธ์

โดเมนของความสัมพันธ์ โดเมนของความสัมพันธ์ r คือ สมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับในความสัมพันธ์ r เขียนแทนด้วย กรณีที่ r เขียนแบบแจกแจงสมาชิก เราสามารถหาโดเมนได้เลยโดย คือสมาชิกตัวหน้า เช่น = {(2, 2), (3, 4), (8, 9)} จะได้ว่า  = {2, 3, 8}

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

จำนวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะ

จำนวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะ บทความนี้จะทำให้น้องๆ รู้จัก จำนวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะ  น้องๆหลายคนคุ้นเคยกับจำนวนเฉพาะมาบ้างแล้ว แต่น้องๆทราบหรือไม่ว่า ตัวประกอบเฉพาะคืออะไร ซึ่งน้องๆจะได้เรียนรู้จากตัวอย่างที่ได้รวบรวมไว้ในบทความนี้ โดยได้นำเสนออกมาในรูปแบที่เข้าใจง่าย ทำให้น้องๆสนุกกับการเรียนคณิตศาสตร์ ซึ่งเนื้อหาในบทความนี้เป็นเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ก่อนอื่นเรามาทำความเข้าใจกับความหมายของ ตัวประกอบ  ตัวประกอบของจำนวนเต็มใด ๆ  คือ จำนวนที่หารจำนวนนั้นได้ลงตัว  ถ้าจำนวนที่ 2 หารได้ลงตัว เรียกว่า จำนวนคู่  ส่วนจำนวนที่

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

Present Continuous Tense

สวัสดีนักเรียนชั้นม.3 ที่น่ารักทุกคนค่า วันนี้เราจะไปเรียนรู้กันเรื่อง ” Present Continuous Tense” พร้อมทั้งตัวอย่างสถานการณ์ใกล้ตัว และข้อสอบวัดความเข้าใจหลังเรียนแบบปังๆกันจร้า หากพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย เริ่มกับการใช้ Present Continuous Tense   อธิบายสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ในขณะนั้น เช่น Danniel is playing a football at the moment.

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

Contrast Words : คำที่ใช้แสดงความขัดแย้งในภาษาอังกฤษ

สวัสดีน้องๆ ม. 3 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับคำเชื่อมที่ใช้บอกสิ่งที่ตรงข้ามกัน (Contrast Words) กันครับ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลย

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

เรียนรู้กลวิธีการสรรคำ ความสวยงามทางภาษา

ในการแต่งบทประพันธ์ประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะบทร้อยกรอง การสรรคำ จะช่วยทำให้บทประพันธ์นั้น ๆ มีความไพเราะมากขึ้น บทเรียนเรื่องการเสริมสร้างความรู้ทางภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปศึกษาเกี่ยวกับการสรรคำ ว่ามีความหมายและวิธีการเลือกคำมาใช้อย่างได้บ้าง ไปดูกันเลยค่ะ   การสรรคำ ความหมายและความสำคัญ     การสรรคำ คือ การเลือกใช้คำให้สื่อความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก และอารมณ์ได้อย่างงดงาม โดยคำนึงถึงความงามด้านเสียง โวหาร

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้คืออะไร

การตั้งคําถามทางสถิติ

การตั้งคําถามทางสถิติ บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง การตั้งคําถามทางสถิติ ไว้อย่างละเอียด ก่อนอื่นน้องมาทำความเข้าใจกับความหมายของ “คำถามทางสถิติ” คำถามทางสถิติ  หมายถึง คำถามที่มีคำตอบหรือคาดว่าจะได้รับคำตอบมากกว่า 1 คำตอบ รวมถึงคำถามที่ต้องการคำตอบซึ่งได้มาจากการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานบางอย่างแล้วนำมาจำแนก  คำนวณ หรือวิเคราะห์เพื่อใช้ตอบคำถามนั้น คำถามทางสถิติจะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 3 ส่วน ได้แก่ ระบุสิ่งที่ต้องการศึกษาได้ มีกลุ่มบุคคลหรือสิ่งที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลที่หลากหลาย สามารถคาดการณ์ได้ว่าคำตอบที่จะเกิดขึ้นมีความแตกต่างกัน ตัวอย่างคำถามทางสถิติ คำถามต่อไปนี้เป็นคำถามทางสถิติ อัตราส่วนที่เหมาะสมในการผสมสีทาบ้าน แต่ยี่ห้อควรเป็นอย่างไร

สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาสามัคคีเสวกเพื่ออะไร

บทเสภาสามัคคีเสวก เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่แสดงถึงความสำคัญของศิลปะแขนงต่างๆ อันเป็นมรดกล้ำค่าของชาติ และพลังแห่งความสามัคคี รวมทั้งให้คติเตือนใจแก่ข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ทั้งปวง โดยมีวิธีการประพันธ์ที่งดงาม สละสลวย และไพเราะ ซึ่งสามารถปลุกจิตสำนึกให้ผู้อ่านตระหนักถึงคุณค่าของศิลปะ ...

เรื่องบทเสภาสามัคคีเสวกนี้มีใจความเกี่ยวกับอะไรเป็นสำคัญ

ข้อคิด:สามัคคีเสวก 1.ความสามัคคีนำมาซึ่งความเจริญสู่หมู่คณะ ส่งผลให้มีความสุข 2.ชาวไทยควรจงรักภักดีต่อกษัตริย์เพราะพระองค์เป็นศูนย์รวมใจของคนทั้งชาติ 3.ข้าราชการควรทำหน้าที่ของตนด้วยความสุจริต คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าส่วนตน

บทเสภาสามัคคีเสวกพระราชนิพนธ์ขึ้นในสมัยใด

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่๖) ทรงพระราชนิพนธ์ บทเสภาสามัคคีเสวกเป็นในขึ้น ณ พระราชวังสนามจันทร์เมื่อปีพ.ศ. ๒๔๕๗ เพื่อ ใช้ขับเสภาคั่นระหว่างการแสดงระบำสามัคคีเสวก

บทเสภาตอนที่ 1 มีเนื้อหาเกี่ยวกับสิ่งใด

บทเสภาตอนที่ 1 กิจการแห่งพระนนที มีเนื้อความกล่าวสรรเสริญพระนนทีผู้เป็นเทพ เสวก เวลาพระอิศวรจะเสด็จไปไหน พระนนทีก็แปลงเป็นโคอุสุภราชให้ประทับ เมื่อเสร็จเทวกิจ แล้วก็กลับเป็นเทพตามเดิม ท าหน้าที่รับใช้พระอิศวรอย่างขยันขันแข็ง ถือเป็นการแสดงตัวอย่าง ของเสวกที่ดีเมื่อขับเสภาจบ เป็นการแสดงระบ าซึ่งมีเรื่องราวว่า ขณะที่พระ ...