ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร

ประวัติศาสดาของศาสนาพราหมณ์ (ฮินดู)

ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร

     ศาสนาพราหมณ์  เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก  ช่วงแรกเรียกว่า ศาสนาพราหมณ์  ต่อมาได้พัฒนามาเป็น ศาสนาฮินดู และเป็นศาสนาที่มีคนไทยจำนวนหนึ่งนับถือ
     ศาสนาพราหมณ์ถือกำเนิดในประเทศอินเดีย  ชาวอินเดียส่วนใหญ่นับถือศาสนานี้  ศาสนาพราหมณ์ เป็นศาสนาที่ไม่มีศาสดา นับถือพระเจ้าหลายพระองค์  เทพเจ้าที่สำคัญ  ได้แก่
          -  พระพรหม  เป็นผู้สร้างโลกและจักรวาล
          -  พระวิษณุหรือพระนารายณ์  เป็นผู้คุ้มครองโลก
          -  พระศิวะ หรือพระอิศวร   เป็นผู้ทำลายโลกและสร้างโลกขึ้นใหม่

     เทพเจ้าทั้ง 3 องค์นี้  จะมีหน้าที่สัมพันธ์กัน

     ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่เน้นการประกอบพิธีกรรมเพื่อบูชาและสรรเสริญเทพเจ้า  ผู้ที่อยู่ในฐานะสูงสุดและเป็นผู้นำทางความเชื่อของศาสนา  ได้แก่  นักบวชพราหมณ์  ซึ่งเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมและเป็นตัวแทนในการติดต่อกับเทพเจ้า  วรรณะพราหมณ์จึงเป็นวรรณะหรือชนชั้นสูงสุดของชาวอินเดีย
     ศาสนาพราหมณ์ได้เจริญรุ่งเรืองมาเป็นลำดับจนกระทั่งได้วิวัฒนาการเป็นศาสนาฮินดู  และหยั่งรากลึกลงในวัฒนธรรมประเพณีรวมทั้งความเป็นอยู่ของชาวอินเดียสืบต่อมาจนถึงปัจจุบันนี้ 👳

💥💥💥💥💥💥💥💥💥💥

ที่มา : เอกรินทร์  สี่มหาศาล  และคณะ . สังคมศึกษา  ศาสนา  และวัฒนธรรม ป.4 . พิมพ์ครั้งที่ 3 . กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริญทัศน์ .


ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร


ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร
๑.พัฒนาการของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แบ่งออกเป็น ๔ ยุค คือ ยุคอารยัน ยุคพระเวท ยุคพราหมณะ และยุคฮินดู
ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร
๒.ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่มีศาสดาผู้ก่อตั้งเหมือนศาสนาอื่นๆ เพราะคำสอนต่างๆ พวกพราหมณ์หรือฤๅษีผู้ศักดิ์สิทธิ์ได้ยินหรือฟังมาจากพระเจ้าด้วยตนเอง แล้วมีกานจดจำไว้และถ่ายทอดต่อกันทางความทรงจำ
ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร
๓.คัมภีร์สำคัญในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ๑) ส่วนที่เป็นศรุติ ได้แก่ คัมภีร์พระเวททั้ง ๔ คือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอาถรรพเวท ๒) ส่วนที่เป็นสมฤติ ได้แก่ คัมภีร์ที่ปราชญ์ทางศาสนาได้แต่งขึ้นเพื่ออธิบายเนื้อหาและสนับสนุนให้การศึกษาคัมภีร์พระเวทเป็นไปโดยถูกต้อง เช่น คัมภีร์อุปนิษัท คัมภีร์มนูศาสตร์ คัมภีร์ปุราณะ คัมภีร์ภควัทคีตา มหากาพย์มหาภารตะและมหากาพย์รามายณะ เป็นต้น
ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร
๔.หลักคำสอนสำคัญของพราหมณ์-ฮินดู คือ หลักคำสอนเรื่องอาศรมหรือวิธีปฏิบัติของพราหมณ์ ๔ ประการ หลักคำสอนเรื่องตรีมูรติ หลักคำสอนเรื่องปรมาตมันหรือพรหมันและชีวาตมัน หลักคำสอนเรื่องการหลุดพ้นหรือโมกษะ
ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร
๕.นิกายสำคัญของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มี ๔ นิกาย คือ นิกายไวษณสะหรือไวษณพ นิกายไศวะ นิกายศักติ และนิกายตันตระ
ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร
๖.พิธีกรรมสำคัญของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ประกอบด้วย กฎสำหรับวรรณะ พิธีประจำบ้าน พิธีศราทธ์ และพีธีบูชาเทวดา
ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร
๘.ขบวนการปฏิรูปศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คือ สมาคมพรหมสมาช สมาคมอารยสมาช สมาคมกฤษณะมิชชั่น ขบวนการสรโวทัย

ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร

ที่มาภาพ : http://www.siamganesh.com/

ความเป็นมา

ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร
ศาสนาพราหมณ์มีวิธีวัฒนาการทางประวัติศาสตร์อันยาวนาน นับตั้งแต้การเริ่มตั้งถิ่นฐานของชาวอารยันเริ่มตั้งถิ่นฐานในชมพูทวีป ต่อมาในสมัยหลังพุทธกาลศาสนาพราหมณ์ได้วิวัฒนาการมาเป็นศาสนาฮินดูหรือพราหมณ์ใหม่ ซึ่งมีหลักคำสอนที่ผิดแผกแตกต่างจากต้นกำเนิดเดิมของศาสนานี้ จึงนับว่าศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่มีอายุยาวนานที่สุดของโลกศาสนาหนึ่ง
ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเป็นศาสนาที่แตกต่างจากศาสนาอื้นในโลกเพราะเป็นศาสนาที่ไม่มีศาสดาผู้ก่อตั้ง เพราะมีจุดเริ่มต้นมาจากความเชื่อว่ามีเทพเจ้าผู้มีอำนาจเหนือธรรมชาติ เป็นผู้สร้างสรรพสิ่ง ต่อมาชาวอารยันผู้ทำหน้าที่ติดต่อกับเทพเจ้า ได้สอนหลักการเรื่องกำเนิดของสรรพสิ่งว่า เทพเจ้าหรือพระพรหม เป็นผู้สร้างสรรพสิ่งในลักษณะต่างๆ ต่อมาสรรพสิ่งที่พระพรหมสร้างก็ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของเทพเจ้าองค์อื่นๆ ด้วย ทำให้มีเทพเจ้ามากมายและทำหน้าที่ต่างๆกันในที่สุด ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูจึงกลายมาเป็นศาสนาประเภทพหุเทวนิยมในปัจจุบัน
ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร
เนื่องจาก ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มีวิวัฒนาการมาเป็นเวลาอันยาวนาน ทำให้แนวความคิดทางศาสนาแตกต่างกันออกไปมาก ดังนั้น การศึกษาประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยแบงออกเป็นยุคต่างๆ
ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร
สรุปได้ว่า ศาสนาพราหมณ์เริ่มต้นจากลัทธิประจำเผ่าพัฒนามาเป็นศาสนาประจำเผ่าอารยัน ซึ่งอพยพมารบชนะชาวเผ่าพื้นเมืองที่เรียกว่า ทราวิฑ หรือทัสยุได้ขับไล่พวกชนเผ่าเจ้าของดินแดนเดิมออกไปแล้วตั้งถิ่นฐานที่อยู่ครอบครองลุ่มน้ำสินธุและคงคา ได้ผสมผสานความเชื่อของท้องถิ่นให้เข้ากับความเชื่อของตน ทำให้เกิดแนวความคิดเรื่องวรรณะ ต่อมาในยุคพระเวทเป็นยุคที่มีพัฒนาการการนับถือพระเจ้าให้มีระเบียบแบบแผนมากยิ่งขึ้น จนกระทั่งเกิดการรวบรวมบทสวดอ้อนวอนพระเจ้าต่างๆ เรียกว่าคัมภีร์พระเวท ในยุคพราหมณะเป็นยุคที่วรรณะพราหมณ์มีอำนาจสูงสุด เพราะปูนผู้ผูกขาดการทำพิธีกรรมต่างๆมีการแต่งคัมภีร์พระเวทขึ้นอีกหนึ่งคัมภีร์คือ อาถรรพเวท และคัมภีร์อุปนิษัทซึ้งเป็นรากฐานของแนวคิดทางปรัชญามีความสุขุมลุ่มลึกยิ่งขึ้นมากกว่าเดิม เป็นยุคที่มีการแข่งขันกันระหว่างศาสนา คือเกิดศาสนาใหม่ คือ ศาสนาเซนและพุทธศาสนา จนทำให้ศาสนาพราหมณ์ต้องปรับกระบวนการในการสอนศาสนาใหม่จนต้องเรียกตนเองใหม่ว่า ศาสนาฮินดู

ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร

https://sites.google.com/site/phechmvk/sasna-phrahmn-hindu

ศาสดาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคืออะไร

ศาสดาของศาสนาพราหมณ์คือใคร

การเกิดของศาสนาพราหมณ์แตกต่างกับศาสนาอื่น ๆ เช่น ศาสนาพุทธ คริสต์ และอิสลามที่เกิดขึ้นเพราะมีคน ๆ หนึ่งค้นพบความสำเร็จในหลักธรรม แล้วสั่งสอนคนทั้งหลายในฐานะเป็นศาสดาคำสอนที่ท่านสอนก็เป็นศาสนา แต่ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่ไม่มีศาสดาโดยคำสอนต่าง ๆที่เกิดขึ้นเพราะมีผู้รวบรวมลัทธิดั้งเดิมของชาวชมพูทวีป (อินเดีย - เนปาล) ...

คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์คืออะไร

๑. สมัยพระเวท คัมภีร์ที่สาคัญ คือ ฤคเวท สามเวท ยชุรเวท อถรรพเวท พราหมณะ อารัณยกะ และอุปนิษัท ๒. สมัยอิติหาสะ มีคัมภีร์คัมภีร์คือ รามายณะและมหาภารตะ แต่ในคัมภีร์มหาภารตะมีค าสอน ของพระกฤษณะแทรกอยู่ ค าสอนดังกล่าวมีชื่อว่า “ภควัทคีตา” เป็นค าสอนที่ชาวฮินดูไม่ว่าจะอยู่นิกายใด ให้ความนับถืออย่างสูง

ศาสนาพราหมณ์เกิดจากอะไร

ศาสนาพราหมณ์ (อังกฤษ: Brahmanism) หรือ ศาสนาพระเวท (อังกฤษ: Vedic religion; สันสกฤต: वैदिकधर्म) เป็นศาสนาของชาวอินเดียโบราณซึ่งใช้กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน ราว 1,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยยึดคัมภีร์พระเวทเป็นหลักความเชื่อและแนวปฏิบัติ และมีพัฒนาการจนเป็นศาสนาฮินดูในเวลาต่อมา จึงถือว่าศาสนาพระเวทเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาฮินดู ...

ศาสนาของศาสนาพราหมณ์ฮินดูคือใคร

ลัทธิสมารตะ บูชาเทพเจ้าฮินดูองค์หลัก ๆ ไปพร้อม ๆ กัน ได้แก่ พระศิวะ, พระวิษณุ, องค์ศักติ, พระคเนศ, พระสุริยะ และ พระการติเกยะ ธรรมเนียมแบบสมารตะนั้นเกิดขึ้นราวหลังยุคคาสสิกของฮินดูตอนต้น ราวเริ่มต้นคริสตกาล หลังศาสนาฮินดูเริ่มรวมเข้ากับการปฏิบัติแบบพราหมณ์และความเชื่อพื้นมือง