การจัดองค์การ organizing ตรงกับข้อใดมากที่สุด

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

65 comments on “Organizing การจัดองค์การ”

  • การจัดองค์การ ORGANIZING คือ กระบวนการที่กำหนด กฎ ระเบียบ แบบแผน ในการปฎิบัติงานขององค์การซึ่งรวมถึงการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
    หน้าที่การจัดองค์การ เป็นภาระที่ผู้บริหารหรือผู้ประกอบการ จะต้องทำหน้าที่ในการวาวแผนกำลังคน และทรัพย์กรต่างๆภายในองค์การ เพื่อป้องกันการสูณเสียจากการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด ซึ่งหน้าที่การจัดองค์การจะมีผลต่อการออกแบบโคตรสร้างขององค์การ คือ โครงสร้างขององค์การจะต้องออกแบบให้ชัดเจนว่า ใครทำหน้าที่อะไร ใครรับผิดชอบอะไร เพื่อขจัดอุปสรรคในการปฎิบัติงาน
    ความสำคัญของการจัดองค์การ การจัดองค์การจะทำให้ทราบแนวปฏิบัติงาน work flow จึงทำให้เราไม่ทำงานซ้ำซ้อนหรือขัดแย้งในหน้าที่ นอกจากนั้นยังทำให้พนักงานทราบถึงขอบเขตงาน การติดต่อประสานงานสะดวกขึ้น
    องค์การที่เป็นทางการและองค์การที่ไม่เป็นทางการ
    -องค์การที่เป็นทางการ formal organization เป็นการจัดโครงสร้างขององค์การตามเจตนา หรือบทบาทในการปฏิบัติภายในองค์การ ผู้บริหารงานจำเป็นต้องวางโครงสร้างที่แน่นอนเพื่อให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบถึงอำนาจของตนในการปฎิบัติงานและบ่งบอกถึงขอบเขตความรับผิดชอบของแต่ละบุคคลเพื่อความเป็นระเบียบ
    -องค์การที่ไม่เป็นทางกา lnformal organization การรวมกิจกรรมส่วนบุคคลของกลุ่มโดยปราศจากจุดประสงค์ร่วมกัน ถึงแม้ว่าจะมีการช่วยเหลือกันในองค์การก็ตาม
    การจัดแบ่งองค์การ Organization division ลักษระหนึ่งของการจัดระเบีบยโครงสร้างขององค์การโดยการจัดโครงสร้างแผนก 1.การจัดโครงสร้างแผนก โดยยึดตามลักษระโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ บริการหรือตลาดที่คล้ายกัน
    2.การจัดโครงสร้างแผนก โดยยึดตามลักษระงานที่คล้ายคลึงกัน jop process
    3.การจัดโครงสร้างแผนก โดยยึดตามลักษณะของพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่าง
    ระดับการจัดองค์การ และขนาดการจัดการ จุดประสงค์ของการจัดองค์การ คือเพื่อให้ผู้บริหารต้องการให้พนักงานในระดับต่างๆได้ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิธิภาพ การทำงานก็จะไม่เกิดความขัดแย้งและไม่มีอุสรรคในการทำงาน
    การเลือกขนาด ในองค์การทุกองค์การ ผู้บริหารหรือผู้ประกอบการจะต้องศึกษาพิจารณาถึงโครงสร้างขององค์การของตนเอง ว่ามีความซับซ้อนเพียงใด หรือมีสายบังคับบัญชากี่ระดับชั้น
    การจัดองค์การที่ดีและเหมาะสม จะทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆทำให้งานไม่ซับซ้อน ไม่มีแผนงานมากเกินไป เป็นการประหยัดต้นทุนไปด้วยองค์การสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ง่ายตามความจำเป็นการแบ่งงานให้พนักงานอย่างเหมาะสม ช่วยให้พนักงานมีความพอใจ ไม่เกิดความรู้สึกว่างานมากเกินไป หรือน้อยเกินไป เมื่อพนักงานรู้อำนาจหน้าที่ และขอบเขตงานของตนย่อมก่อให้เกิดความคิดริเริ่มในการทำงานเข้าใจความสัมพันธ์ของตนต่อฝ่ายอื่นๆ ทำให้เราสามารถติดต่อกันได้ดียิ่งขึ้น
    จากหนังสือ องค์การและการจัดการ หน้า345-365 ผู้แต่งรองศาตราจารย์ศิริวรรณ เสรีรัตน์,ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย หิรัญกิตติ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จริศักดิ์ จิยะจันทน์,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลัทธิกาล ศรีวะรมย์,ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุดา สุวรรณาภิรมย์ , อาจารย์เชาลิต ประภวานนท์ เรียบเรียงโดย: ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย หิรัญกิตติ สำนักพมพ์ เพชรจรัสแห่งโลกธุรกิจ DIAMOND IN BUSINESS WORLD ปีที่พิมพ์2542 นางสาว วราภรณ์ รักอู่ 5910125439152 (152)

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดการองค์กร หมายถึง การกำหนดรูปแบบ กฎเกณฑ์ ระเบียบแผนในการปฎิบัติงานและการอยู่ร่วมกันของสมาชิกในองค์การ โดยตัดสินใจจัดกลุ่มงานและกิจกรรมต่างๆเข้าด้วยกัน
    ประโยชน์ที่สำคัญมี 4 ประการได้แก่
    1.กำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคน
    2.แสดงช่องทางการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน
    3.กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการตัดสินใจของผู้บริหาร
    4.ให้ความสำคัญและการกำหนดความสมดุลในองค์การ
    แหล่งอ้างอิง ชื่อหนังสือการจัดการยุคใหม่ ผู้แต่ง ดร.มัลลิกา ต้นสอน ปีที่พิมพ์ 1995

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดการองค์การ หมายถึง การกำหนดรูปแบบ กฎเกณฑ์ ระเบียบแผนในการปฎิบัติงานและการอยู่ร่วมกันของสมาชิกในองค์การ โดยตัดสินใจจัดกลุ่มงานและกิจกรรมต่างๆเข้าด้วยกัน จัดตำแหน่งงาน ขอบเขตของอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ในการตัดสินใจและแก้ปัญหาเรื่องต่างๆ ณ ระดับใดภายในองค์การ การจัดสายงานและสายการบังคับบัญชา ตลอดจนการจัดสรรทรัพยากรทางการจัดการให้สนับสนุนต่อการทำงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ
    ทฤษฎีที่สำคัญ
    หน้าที่ในการจัดการองค์การเป็นงานสำคัญที่ผู้จัดการทุกคนจะต้องกำหนดโครงสร้างและระบบที่เหมาะสม เพื่อให้การทำกิจกรรมต่างๆ ขององค์การหรือหน่วยงาน สามารถบรรลุเป้าหมายที่ต้องการและป้องกันการสูญเสียและความซ้ำซ้อยในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ขององค์การ
    *ความสำคัญของการจัดการองค์การ
    -แสดงให้เห็นถึงกระแสการไหลของงาน
    -ช่วยให้ผู้ปฎิบัติงานทราบถึงขอบเขตงาน
    -เป็นกรอบที่ช่วยเชื่อมโยงการทุ่มเทความพยายามจากขั้นตอนการวางแปนไปสู่ความสำเร็จ ในขั้นตอนของการควบคุม
    -จัดวางช่องทางเพื่อการติดต่อสื่อสารและการตัดสินใจ
    -ป้องกันการทำงานซ้ำซ้อนและขจัดข้อขัดแย้งในหน้าที่งาน
    -ช่วยให้กำลังความพยายามมีจุดหมายชัดเจน โดยการจัดกิจกรรมให้สัมพันธ์กับเป้หมายต่างๆ
    ประโยชน์ที่สำคัญมี 4 ประการได้แก่
    1.กำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคน
    2.แสดงช่องทางการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน
    3.กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการตัดสินใจของผู้บริหาร
    4.ให้ความสำคัญและการกำหนดความสมดุลในองค์การ

    แหล่งอ้างอิง ชื่อหนังสือการจัดการยุคใหม่ ผู้แต่ง ดร.มัลลิกา ต้นสอน ปีที่พิมพ์ 1995 ชื่อน.ส.นิรชร คุตะนนท์ 5910125439136

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ (Organizing) คือ กระบวนการที่กำหนด กฎระเบียบแบบแผน ในการปฎิบัติงานขององค์การ ซึ่งรวมถึงวิธีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มองค์การคือโครงสร้างที่ได้ตั้งขึ้นตามกระบวนการโดนมีการรับพนังงานให้เข้ามาทำงานร่วมกันในฝ่ายต่างๆเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ทฤษฎีความสำคัญของการจัดองค์การ เนื่องจากองค์การในปัจจุบันมักจะมีขาดใหญ่ เพราะฉะนั้นจึงมีความสับสนในการปฎิบัติงานว่างานนั้นใครเป็นคนรับผิดชอบ และงานนั้นจะมีขั้นตอนหรือวงจรในการปฏิบัติอย่างไร การจัดองค์การจะทำให้ทราบแนวทางปฏิบัติงาน (Work flow)จึงทำให้เราไม่ทำงานซ้ำซ้อนหรือขัดแย้งกันในหน้าที่ช่วยให้พนักงานได้ทราบขอบเขตของงาน การติดต่อประสานงานกันจะได้สะดวกขึ้นจึงทำให้ผู้บิหารสามารถที่จะตัดสินใจ (Decision-Making)ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วและการจัดองค์การที่สำคัญมี 2 ประเภท องค์การที่เป็นทางการและองค์การที่ไม่เป็นทางการ
    การจัดองค์การที่เป็นทางการ (Formal Organization)
    ผู้บริหารจำเป็นจะต้องวางโครงสร้างที่แน่นอนเพื่อให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบถึงอำนาจหน้าที่ของตนเองในการปฏิบัติงาน และบ่งบอกถึงขอบเขตความรับผิดชอบของแต่ละบุคคลที่ทำงานร่วมกันและเพื่อความเป็นระเบียบโดยไม่มีการทำงานซ้ำซ้อน ทั้งนี่ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของสถานการณ์และสภาพแวดล้อม
    การจัดการแบบไม่เป็นทางการ (Informal Organization)
    การรวมกิจกรรมส่วนบุคคลของกลุ่มคนโดยปราศจากจุดประสงค์ร่วมกัน ถึงแม้ว่าจะมีการช่วยเหลือกันภายในองค์การก็ตามและก่อให้เกิดความสัมพันธ์
    : แหล่งที่มา ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการฉบับสมบูรณ์ปรับปรุงใหม่
    รองศาสตราจารย์ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ พิมพ์ปี 2542 เลขทะเบีย 110010 เลขหมู่ 658.4 อ ฉ.5
    น.ส.ประพิชญา กลั่นทิพย์ (9126)

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ Organizing เป็นกระบวนการซึ่งจัดกลุ่มกิจกรรมที่จำเป็นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หลัก โดยกลุ่มงานเป็นหน่วยงานจัดการ และการออกแบบในแต่ละกลุ่มที่ขึ้นตรงต่อผู้จัดการ ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ที่จำเป็นในการควบคุมการทำกิจกรรมต่างๆ หรือเป็นการจัดหาทุกอย่างเพื่อใช้ในการดำเนินงาน
    แหล่งอ้างอิง : ทฤษฎีองค์การ
    ผู้เขียน : อาจารย์สมศักดิ์ วานิชยาภรณ์
    ปีที่พิมพ์ : 2545
    นส.เมขลา แพรปราณีต 132

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ(Organizing)คือการจัดระเบียบกิจกรรมต่าง ๆ ในองค์การและมอบหมายงานให้คนปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายการจัดองค์การที่ดีจะช่วยให้การบริหารการจัดการมีประสิทธิภาพคคือ
    1ทำให้ทราบขอบเขต ความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่ต่าง ๆ
    2.ช่วยป้องกันการทำงานที่ซ้ำซ้อน
    3.ช่วยประสานงานในหน้าที่ต่างๆได้ดี
    4.ช่วยลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างพนักงานในองค์การได้
    5.สามารถแสดงให้เห็นตัวภาระหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน
    6.ทำให้มีระบบการสื่อสารตามสายการบังคับบัญชาที่ดี
    ประเภทขององค์การแบ่งเป็น2ประเภท คือ 1.องค์
    การแบบเป็นทางการ 2.องค์การแบบไม่เป็นทางการ
    ประโยชน์ขององค์การ คือ 1.เพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
    2.ป้องกันการสูญหายของภูมิปัญญาในกรณีที่บุคลากรเกษียณอายุ ลาออกหรือเสียชีวิต
    3.เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและความอยู่รอด
    4.เป็นการลงทุนในต้นทุนมนุษย์ในการพัฒนาความสามารถที่จะแบ่งปันความรู้ที่ได้เรียนรู้มาให้กับคนอื่นๆในองค์กรและนำความรู้ไปปรับใช้กับงานที่ทำอยู่ให้เกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นเป็นการพัฒนาคน และพัฒนาองค์กร
    5.ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจและวางแผนดำเนินงานให้รวดเร็วและดีขึ้นเพราะมีสารสนเทศหรือแหล่งความรู้เฉพาะที่มีหลักการเหตุผลและน่าเชื่อถือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ
    6.ผู้บังคับบัญชาสามารถทำงานเชื่อมโยงกับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ใกล้ชิดกันมากขึ้นช่วยเพิ่มความกลมเกลียวในหน่วยงาน
    7.เมื่อพบข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงานก็สามารถหาวิธีแก้ไขได้ทันท่วงที

    แหล่งที่มา:การจัดการมุมมองนักบริหาร ผู้เขียน จุฑา เทียนไทย ที่พิมพ์บริษัทสำนักพิทพ์ท้อป จำกัด ปีที่พิมพ์ 2547

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ หมายถึง การกำหนดโครงสร้างขององค์การอย่างเป็นทางการโดยการจัดแบ่งออกเป็นหน่วยงานย่อยๆ กำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานไว้ให้ชัดเจน รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานย่อยเหล่านั้น ทั้งนี้ เพื่อให้เอื้อต่อการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายวัตถุประสงค์ขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ
    ทฤษฎีที่สำคัญของการจัดองค์การ
    องค์การเป็นที่รวมของคนและเป็นที่รวมของงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานขององค์การปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และเต็มความสามารถจึงจำเป็นต้องจัดแบ่งหน้าที่การทำงานกันทำและมอบอำนาจให้รับผิดชอบตามความสามารถและความถนัด ถ้าเป็นองค์การขนาดใหญ่และมีคนมาก ตลอดจนงานที่ทำมีมากก็ต้องจัดหมวดหมู่ของงานที่เป็นอย่างเดียวกันหรือมีลักษณะใกล้เคียงกันมารวมเข้าด้วยกันเรียกว่า ฝ่ายหรือแผนกงาน
    ประเภทของการจัดองค์การมี 2ประเภท คือ
    – การจัดองค์การแบบเป็นทางการ
    – การจัดองค์การแบบไม่เป็นทางการ
    ประโยชน์ของการจัดองค์การ
    – การจัดโครงสร้างองค์การที่ดีและเหมาะสมจะทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ
    – ทำงานไม่ซ้ำซ้อน ไมีมีแผนกงานมากเกินไป เป็นการประหยัดต้นทุนไปด้วย
    – องค์การสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ง่ายตามความจำเป็น
    แหล่งข้อมูล
    ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ ฉบับพิมพ์ที่6 ปรับปรุงใหม่
    ผู้แต่ง รองศาสตราจารย์สมคิด บางโม
    สำนักพิมพ์บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด ปีที่พิมพ์ 2557
    นางสาวปวริศา จันทรปัญญา รหัส 5910125439141

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดการองค์การ
    -ความหมาย
    การจัดการองค์การเป็นการจัดะบบโครงสร้างของงานในหน้าที่ต่างๆให้มีระเบียบแบบแผน โดยมีกระบวนการที่เริ่มต้นด้วยการจัดกลุ่มกิจกรรม กำหนดขอบเขตของงาน อำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติงานให้กับฝ่ายต่างๆ ตลอดจนจัดให้มีการประสานสัมพันธ์ระหว่างงานและบุคลากรในองค์การ
    -ทฤษฏี
    1.การกำหนดลักษณะของงาน การทำงานในองค์กรจะต้องมีการกำหนดลักษณะของงานให้ชัดเจน
    2.จำแนกหน้าที่ของสายปฏิบัติงานและสายที่ปรึกษา
    3.การแบ่งงานและการกำหนดความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง มีการพิจารณาความเหมาะสมในการแบ้งงานในองค์กร
    4.การพิจารณาวัตถุประสงค์
    -ประโยชน์
    1. เป็นแนวทางให้แก่บุคคลากรใหม่เพื่อเข้าใจองค์การและเป็นแนวทางในการฝึกบุคลากรสู่ตำแหน่งต่างๆ
    2. เป็นเครื่องมือทางการบริหารเพื่อชี้ให้พนักงานเห็นถึงการทำงานภายในองค์การทั้งหมด
    -การจัดการองค์การที่สำคัญ
    มี 3 ประเภท
    1. กำหนดงานต่างๆที่จำเป็นต้องทำ
    2. จัดกลุ่มงานต่างๆให้อยู่ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    3. กระจายและมอบหมายอำนาจหน้าที่ให้กับบุคลต่างๆที่เกี่ยวข้อง
    ชื่อหนังสือ  หลักการจัดการ (ฉบับปรับปรุง)
    พิมพ์ครั้งที่ 1 ปีที่พิมพ์ 2550 พิมพ์ที่โรงพิมพ์วิจิตรหัตถกร เลขทะเบียน 138359 เลขหมู่ 658  ผู้เขียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิลาวรรณ รพีพิศาล
    น.ส.ทักษพร  ชูรัตน์  (9129)

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ คือ กระบวนการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนงานและกิจกรรมต่างๆขององค์การเพื่อที่จะก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การจัดการองค์การที่สำคัญแบ่งออกเป็น 2 แบบ
    1.องค์การแบบเป็นทางการ (formal organization)
    2.องค์การแบบไม่เป็นทางการ (informal organization)
    ประโยชน์ของการจัดองค์การ ช่วยป้องกันการทำงานที่ซ้ำซ้อน ช่วยประสานงานในหน้าที่ต่าง ๆ ได้ดี ช่วยลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างพนักงานในองค์การ สามารถแสดงให้เห็นตัวภาระหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจนและทำให้มีระบบการสื่อสารตามสายการบังคับบัญชาที่ดี
    ทฤษฎีของการจัดการองค์การ รอบบินส์ (Stephen P. Robbins) และบานเวล (Neil Barnwell) ได้นิยามว่า “ทฤษฎีองค์การ” เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาโครงสร้าง และออกแบบองค์การ ซึ่งเป็นทั้งลักษณะของการพรรณนา (desriptive) และการอธิบาย (prescriptive) เกี่ยวกับมิติต่าง ๆ ขององค์การ โดยพรรณนาให้เห็นว่าองค์การออกแบบอย่างไร และจะปรับปรุงองค์การพร้อมกับเพิ่มประสิทธิผลให้กับองค์การได้อย่างไร

    กาญจนา เจริญวงษ์. หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล, 2549

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดการองค์การ
    -ความหมาย
    การจัดการองค์การเป็นการจัดะบบโครงสร้างของงานในหน้าที่ต่างๆให้มีระเบียบแบบแผน โดยมีกระบวนการที่เริ่มต้นด้วยการจัดกลุ่มกิจกรรม กำหนดขอบเขตของงาน อำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติงานให้กับฝ่ายต่างๆ ตลอดจนจัดให้มีการประสานสัมพันธ์ระหว่างงานและบุคลากรในองค์การ
    -ทฤษฏี
    1.การกำหนดลักษณะของงาน การทำงานในองค์กรจะต้องมีการกำหนดลักษณะของงานให้ชัดเจน
    2.จำแนกหน้าที่ของสายปฏิบัติงานและสายที่ปรึกษา
    3.การแบ่งงานและการกำหนดความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง มีการพิจารณาความเหมาะสมในการแบ้งงานในองค์กร
    4.การพิจารณาวัตถุประสงค์
    -ประโยชน์
    1. เป็นแนวทางให้แก่บุคคลากรใหม่เพื่อเข้าใจองค์การและเป็นแนวทางในการฝึกบุคลากรสู่ตำแหน่งต่างๆ
    2. เป็นเครื่องมือทางการบริหารเพื่อชี้ให้พนักงานเห็นถึงการทำงานภายในองค์การทั้งหมด
    -การจัดการองค์การที่สำคัญ
    มี 3 ประเภท
    1. กำหนดงานต่างๆที่จำเป็นต้องทำ
    2. จัดกลุ่มงานต่างๆให้อยู่ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    3. กระจายและมอบหมายอำนาจหน้าที่ให้กับบุคลต่างๆที่เกี่ยวข้อง
    ชื่อหนังสือ หลักการจัดการ (ฉบับปรับปรุง)
    พิมพ์ครั้งที่ 1 ปีที่พิมพ์ 2550 พิมพ์ที่โรงพิมพ์วิจิตรหัตถกร เลขทะเบียน 138359 เลขหมู่ 658 ผู้เขียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิลาวรรณ รพีพิศาล

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ คือ การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มองค์การคือโครงสร้างที่ไดดตั้งขึ้นตามกระบวนการโดนมีการรับพนักงานให้เข้ามาทำงานร่วมกันในฝ่ายต่างๆเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
    ทฤษฎีความสำคัญของการจีัดองค์การ
    ทำให้ทราบแนวทางปฎิบัติงานจึงทำให้เราไม่ทำงานซ้ำซ้อนหร่ือขัดเเย้งกันในหน้าที่ช่วยให้พนักงานได้ทราบขอบเขตของงานได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วการจ้ัดองค์การมี 2 ประเภท
    1.องค์การแบบเป็นท่างการ (formal organization)
    2.องค์การแบบไม่เป็นทางการ (informal organization )
    ประโยชน์
    1.เป็นแนวทางให้เเก่บุคคลากร
    2.เป็นเครื่องมือทางการบริหารเพื่อชี้ให้พนักงานถึงการทำงาน

    แหล่งที่มา: การจัดการมุมมองนักบริหาร ผู้เขียน จุฑา เทียนไทย
    ที่พิมพ์บริษัทสำนักพิมพ์ท้อป จัำกัด ปีที่พิมพ์2547

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ (Organizing) คือ การจัดระเบียบกิจกรรมต่าง ๆ ในองค์การ และ
    มอบหมายงานให้คนปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย การจัดองค์การที่ดี จะช่วยให้การบริหารการจัดการมีประสิทธิภาพได้เนื่องจาก
    1. ทำให้ทราบขอบเขต ความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่ต่าง ๆ
    2. ช่วยป้องกันการทำงานที่ซ้ำซ้อน
    3. ช่วยประสานงานในหน้าที่ต่าง ๆ ได้ดี
    4. ช่วยลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างพนักงานในองค์การได้
    5. สามารถแสดงให้เห็นตัวภาระหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน
    6. ทำให้มีระบบการสื่อสารตามสายการบังคับบัญชาที่ดี
    ประเภทขององค์การแบ่งเป็น2ประเภท คือ 1.องค์
    การแบบเป็นทางการ 2.องค์การแบบไม่เป็นทางการ
    ประโยชน์ขององค์การ คือ 1.เพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
    2.ป้องกันการสูญหายของภูมิปัญญาในกรณีที่บุคลากรเกษียณอายุ ลาออกหรือเสียชีวิต
    3.เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและความอยู่รอด
    4.เป็นการลงทุนในต้นทุนมนุษย์ในการพัฒนาความสามารถที่จะแบ่งปันความรู้ที่ได้เรียนรู้มาให้กับคนอื่นๆในองค์กรและนำความรู้ไปปรับใช้กับงานที่ทำอยู่ให้เกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นเป็นการพัฒนาคน และพัฒนาองค์กร
    5.ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจและวางแผนดำเนินงานให้รวดเร็วและดีขึ้นเพราะมีสารสนเทศหรือแหล่งความรู้เฉพาะที่มีหลักการเหตุผลและน่าเชื่อถือช่วยการตัดสินใจ
    6.ผู้บังคับบัญชาสามารถทำงานเชื่อมโยงกับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ใกล้ชิดกันมากขึ้น
    7.เมื่อพบข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงานก็สามารถหาวิธีแก้ไขได้ทัน

    แหล่งที่มา : ไชยา ยิ้มวิไล องค์การและการจัดการองค์การ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2528

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ หมายถึง การวางระเบียบให้กิจกรรมต่างๆ ขององค์การให้สมดุลกันโดยกำหนดว่าใครีหน้าที่ทำอะไร มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินงานขององค์การบรรลุตามแผนที่กำหนดไว้
    ทฤษฏี 1.การกำหนดอำนาจหน้าี่และควารับผิดชอบ
    2.การได้แสดงความคิดเห็น
    3.การกำหนดการตัดสินใจ
    ประโยชน์ 1.ทำให้การบริหารงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
    2.ทำให้งานทุกอย่างมีความสำเร็จ
    3.ทำให้ประหยัดและคุมค่า
    4.ทำให้องค์การพัฒนนาและเจริญเติบโตต่อไป
    5.ทำให้สมาชิกเกิดความร่วมแรงร่วมใจ
    6.ทำให้สมาชิกมีความตั้งใจในการทำงาน
    ที่มา: ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ Organization & Management
    ผู้แต่ง รศ.ดร.พยอม วงศ์สารศรี
    หมวดหนังสือ 685 / พ อ / ฉ.3
    พิมพลักษณ์ กรุงเทพฯ : สุภา, 2538.
    ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์ครัั้งที่ 6

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดการองค์การ Organizing กระบวนการที่กำหนด กฎ ระเบียบ แบบแผน ในการปฏิบัติงานขององค์การ ซึ่งรวมถึงวิธีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม การจัดการองค์การมีหลายความหมาย แต่ก่อนที่จะพูดถึงการจัดการองค์การ ควรจะทำความเข้าใจกับคำว่าองค์การ ก่อน
    องค์การ คือ โครงสร้างที่ได้ตั้งขึ้นตามกระบวนการ โดยีการรับพนักงานมาทำงานร่วมกันในฝ่ายต่างๆเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ หรือ หมายถึง กลุ่มบุคลตั่งแต่2คนขึ้นไปที่มีความผูกพันกัน
    บทบาทของการจัดการองค์การ Organiztion role การจัดองค์การนั้นมีความหมายต่อบุคคลที่จะเข้ามาร่วมกันทำงาน จึงจะต้องมีการประสานงานกัน และจะต้องมีความชัดเจนในเรื่องต่างๆ 1.จุดประสงค์ และแผนการวางแผนในการปฎิบัติ 2.กิจกรรมที่องค์การต้องปฎบัติ และหน้าที่หลักขององค์การ 3.ทำความเข้าใจขอบเขต อำนาจ หน้าที่ กฎ ระเบียบ 4.ปรับเปลี่ยนองค์การให้ตามยุคสมัยโลกาภิวัฒน์
    หน้าที่การจัดการองค์การ Organizing function เป็นภาระที่ผู้บริหารหรือผู้ประกอบการ จะต้องทำหน้าที่ในการวางแผนกำลังคน และทรัพยกรต่างๆภายในองค์การ เพื่อป้องกันการสูญเสียจากการใช้ทรัพย์กรที่มีอยู่อย่างจำกัด ซึ้งหน้าที่การจัดองค์การจะมีผลต่อการออกแบบโครงสร้างขององค์การ Organization Structure คือ โครงสร้างขององค์การจะต้องออกแบบให้ชัดเจนว่า ใครทำหน้าที่อะไร ใครรับผิดชอบอะไร เพื่อขจัดอุปสรรคในการปฎิบัตงาน
    ความสำคัญของการจัดการองค์การ การจัดองค์การจะทำให้ทราบแนวทางปฎิบัติงาน work flow จึงทำให้เราไม่ทำงานซ้ำซ้อนหรือขัดแย้งกันในหน้าที่ นอกจากนั้นยังช่วยให้พนักงานได้ทราบขอบเขตงาน การติดต่อประสานงานกันจะได้สะดวกขึ้นจึงทำให้ผู้บริหารสามารถที่จะตัดสินใจ Decision-Making ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
    องค์การที่เป็นทางการและองค์การที่ไม่เป็นทางการ
    การจัดองค์การที่เป็นทางการ เป็นการจัดโครงสร้างขององค์การตามเจตนาหรือบทบาทในการปฎิบัติภายในองค์การ
    การจัดองค์การที่ไม่เป็นทางการ คือ การรวมกิจกรรมส่วนบุคลของกลุ่มคนโดยปราศจากจุดประสงค์รวมกัน ถึงแม้ว่าจะมีการช่วยเหลือกันภายในองค์การก็ตามและก่อให้เกิดความสัมพันธ์ขึ้น
    การจัดแบ่งองค์การ Organizational division ลักษณะหนึ่งของการจัดระเบียบโครงสร้างขององค์การโดยการจัดโครงสร้างแผนก
    1.การจัดโครงสร้งแผนกโดยยึดหลักตามลักษณะของงานที่คล้ายคลึงกัน
    2.การจัดโครงสร้างแผนก โดยยึดตามลักษญะของพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกัน
    ระดับการจัดองค์การ และขนาดการจัดการ
    จุดประสงค์ของการจัดองค์การ คือ การที่ผู้บริหารต้องการให้พนักงานในระดับต่างๆได้ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ถ้ามีองค์การขนาดใหญ่สลับซับซ้อน การทำงานก็จะไม่มีประสิธิภาพเกิดความขัดแย้งและมีอุปสรรคนานัปการ จึงทำให้ผู้บริหารมีความจำเป็นที่จะต้องมีการจำกัดการบังคับบัญชา และขนากองค์การให้มีขนาดเหมาะสมไม่ใหญ่หรือเล็กเกิดไป
    ประโบชน์ของการจัดการองค์การ
    1.ทำให้พนักงานระดับต่างๆทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
    2. กระจายและมอบหมายอำนาจหน้าที่ให้กับบุคลต่างๆที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม
    3.การจัดการองค์การทำให้ทราบถึงการจะต้องออกแบบให้ชัดเจนว่า ใครทำหน้าที่อะไร ใครรับผิดชอบอะไร เพื่อขจัดอุปสรรคในการปฎิบัตงาน
    4.ช่วยให้พนักงานได้ทราบขอบเขตงาน การติดต่อประสานงานกันจะได้สะดวกขึ้นจึงทำให้ผู้บริหารสามารถที่จะตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
    แหล่งที่มา:จากหนังสือ องค์การและการจัดการ ฉบับสมบูรณ์ ผู้แต่งรองศาตราจารย์ศิริวรรณ เสรีรัตน์,ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย หิรัญกิตติ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จริศักดิ์ จิยะจันทน์,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลัทธิกาล ศรีวะรมย์,ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุดา สุวรรณาภิรมย์ , อาจารย์เชาลิต ประภวานนท์ เรียบเรียงโดย: ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย หิรัญกิตติ สำนักพมพ์ เพชรจรัสแห่งโลกธุรกิจ DIAMOND IN BUSINESS WORLD ปีที่พิมพ์2542 หมวด 658.4 อ ฉ.3 นางสาว วราภรณ์ รักอู่ 5910125439152 (152)

    ถูกใจถูกใจ

    • – การจัดองค์การนั้นเป็นการกำหนดโครงสร้างที่เหมาะสมเพื่อให้กิจกรรมบรรลุเป้าหมายโดยทั่วไปโครงสร้างขององค์การจะแสดงออกมาในรูปของแผนภูมิองค์การหรือพีระมิดของภาระงานและยังแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ด้านอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบระหว่างงานด้านต่างๆในองค์การโดยจะชี้ให้เห็นว่าใครจะต้องรายงานให้แก่ใครหรือใครบังคับบัญชาใครนั้นเอง จึงกล่าวได้ว่าโครงสร้างขององค์การมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการบรรลุเป้าหมายขององค์การตัวอย่างที่เห็นชัดในสายงานการผลิตองค์ประกอบสำคัญที่ปรากฎในแผนภูมิองค์การควรเป็นงานด้านโรงงาน
      – ทฤษฎีการจัดการองค์การ
      1.การพิจารณาวัตถุประสงค์ ดังที่กล่าวแล้วว่าองคืการเป็นกลไลในความสำเร็จของวัตถุประสงค์ดงันั้นวัตถุประสงค์ขององค์การจึงมีบทบาทสำคัญในการกำหนดประเภทของโครงสร้าง
      2.เอกภาพในการปฎิบัติงาน องค์การธุรกิจทุกแห่งจะประกอบด้วยหน้าที่ที่แน่นอน เช่น การผลิต การตลาด การเงิน บุคคล เป็นต้น
      3.การแบ่งงานและการกำหนดความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่างมีการพิจารณาถึงความเหมาะสมในการแบ่งงานในองค์การเพื่อคนแต่ละคนแต่ละคนได้ทำงานแต่ละประเภทตามความสามารถและความถนัด
      4.การกำหนดลักษณะของงาน การทำงานในองค์การจะต้องมีการกำหนดลักษณะของงานให้ชัดเจน
      5.จำแนกหน้าที่ของสายปฎิบัติงานและสายที่ปรึกษาการทำงานในองค์การมีสายงานบางประเภทเกี่ยวข้องโดยตรงและมีสายงานของประเภทมีหน้าที่เสริมงานให้ดีขึ้น
      6.สายบังคับบัญชา ต้องมีการกำหนดอำนาจหน้าที่ในการบริหารงานจากระดับสูงไปยังระดับต่ำ
      7.อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของเป็นของคู่กัน
      8.เอกภาพในการบังคับบัญชาสมาชิกในองค์การควารอยู่ภายใต้การบังคับชา
      9.ช่วงของการบังคับบัญชา
      10.ความสมดุลของปัจจัยต่างๆ
      11.การติดต่อสื่อสาร
      12.การยืดหยุ่น
      13.ความต่อเนื่อง
      14.เหตุการณ์พิเศษ
      – ประโยชน์ของแผนภูมิองค์การ
      1.เป็นเครื่องมือทางการบริหารเพื่อให้ชี้ให้พนักงานเห็นถึงการทำงานภายในองค์การทั้งหมด
      2.เป็นการแสดงให้เห็นถึงสายการบังคับบัญชาและวความรับผิดชอบ
      3.เป็นแนวทางให้แก่บุคลากรใหม่เพื่อเข้าใจองค์การและเป็นแนวทางในการฝึกบุคลากรสู้ตำแหน่งต่างๆ
      4.เป็นการกำหนดข่ายงานการจำแนกบุคลากรและระบบการประเมินผล

      *** ชื่อหนังสือ : หลักการบริหาร (แก้ไขปรับปรุงใหม่พิมพ์ครั้งที่ 2)
      *** ผู้แต่ง : ศาสตราจารย์ เสนาะ ติเยาว์
      *** รหัสหนังสือ : 658.4 สห ฉ.2
      *** โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 2

      ถูกใจLiked by 1 person

  • การจัดองค์การ(organizing)คือการจัดแบ่งองค์การออกเป็นหน่วยงานย่อยๆให้ครอบคลุมภารกิจและหน้าที่ขององค์การ พร้อมกำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบและความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรย่อยไว้ด้วยทั้งนี้ เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
    ทฤษฎีที่สำคัญของการจัดองค์การ
    องค์การเป็นที่รวมของคนและเป็นที่รวมของงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานขององค์การปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และเต็มความสามารถจึงจำเป็นต้องจัดแบ่งหน้าที่การทำงานกันทำและมอบอำนาจให้รับผิดชอบตามความสามารถและความถนัด ถ้าเป็นองค์การขนาดใหญ่และมีคนมาก ตลอดจนงานที่ทำมีมากก็ต้องจัดหมวดหมู่ของงานที่เป็นอย่างเดียวกันหรือมีลักษณะใกล้เคียงกันมารวมเข้าด้วยกัน
    ประเภทของการจัดองค์การมี 2ประเภท คือ
    – การจัดองค์การแบบเป็นทางการ
    – การจัดองค์การแบบไม่เป็นทางการ
    ประโยชน์ของการจัดองค์การ
    – การจัดองค์การที่ดีจะช่วยผู้บริหารให้ทำงานได้สำเร็จตามที่ได้วางแผนไว้ การจัดองค์การที่ดีช่วยทำการใช้ทรัพยากรทางการบริหารเป็นไปตามวัตถุประสงค์
    แหล่งข้อมูล
    ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ ฉบับพิมพ์ที่6 ปรับปรุงใหม่
    ผู้แต่ง รองศาสตราจารย์สมคิด บางโม
    สำนักพิมพ์บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด ปีที่พิมพ์ 2557

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ(organizing)คือการจัดแบ่งองค์การออกเป็นหน่วยงานย่อยๆให้ครอบคลุมภารกิจและหน้าที่ขององค์การ พร้อมกำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบและความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรย่อยไว้ด้วยทั้งนี้ เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
    ทฤษฎีที่สำคัญของการจัดองค์การ
    องค์การเป็นที่รวมของคนและเป็นที่รวมของงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานขององค์การปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และเต็มความสามารถจึงจำเป็นต้องจัดแบ่งหน้าที่การทำงานกันทำและมอบอำนาจให้รับผิดชอบตามความสามารถและความถนัด ถ้าเป็นองค์การขนาดใหญ่และมีคนมาก ตลอดจนงานที่ทำมีมากก็ต้องจัดหมวดหมู่ของงานที่เป็นอย่างเดียวกันหรือมีลักษณะใกล้เคียงกันมารวมเข้าด้วยกัน
    ประเภทของการจัดองค์การมี 2ประเภท คือ
    – การจัดองค์การแบบเป็นทางการ
    – การจัดองค์การแบบไม่เป็นทางการ
    ประโยชน์ของการจัดองค์การ
    – การจัดองค์การที่ดีจะช่วยผู้บริหารให้ทำงานได้สำเร็จตามที่ได้วางแผนไว้ การจัดองค์การที่ดีช่วยทำการใช้ทรัพยากรทางการบริหารเป็นไปตามวัตถุประสงค์
    แหล่งข้อมูล
    ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ ฉบับพิมพ์ที่6 ปรับปรุงใหม่
    ผู้แต่ง รองศาสตราจารย์สมคิด บางโม
    สำนักพิมพ์บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด ปีที่พิมพ์ 2557

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ
    การจัดองค์การหมายถึง การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างส่วนงานต่างๆ และบุคคลในองค์การ โดยกำหนดภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้ชัดแจ้ง เพื่อให้การประกอบการตามภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
    ทฤษฏี
    3 ทฤษฏี
    1.ทฤษฏีดั้งเดิม
    2.ทฤษฏี สมัยใหม่
    3.ทฤษฏี สมัยปัจจุบัน
    มีกี่ประเภท
    5 ประเภท
    1.โครงสร้างองค์การตามหน้าที่การงาน
    2.โครงสร้างองค์การตามสายงานหนัก
    3.โครงสร้างองค์การแบบคณะที่ปรึกษา
    4.โครงสร้างองค์การแบบคณะกรรมการการบริหาร
    5.โครงสร้างองค์การอนุกร
    ประโยชน์
    1.เพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
    2.เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและความอยู่รอด
    3.ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจและวางแผนดำเนินงานให้รวดเร็ว
    4.ความสามารถในการปรับตัวและความยืดหยุ่น
    อ้างอิง
    เชาว์ ไพรพิรุณโรจน์.ทฤษฏีและการจัดองค์การ.กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,2523
    ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ รหัสวิชา 3561101 หมวด 658 ปีที่พิมพ์ 2526
    เรียบเรียงโดย ผศ.ศิริอร ขันธหัตถ์ กศ.บ., กศ.ม.

    น.ส. ณัฐติกานต์ หอมขจร รหัส 142 ค่ะ

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ(organizing)คือการจัดแบ่งองค์การออกเป็นหน่วยงานย่อยๆให้ครอบคลุมภารกิจและหน้าที่ขององค์การ พร้อมกำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบและความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรย่อยไว้ด้วยทั้งนี้ เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
    ทฤษฎีที่สำคัญของการจัดองค์การ
    องค์การเป็นที่รวมของคนและเป็นที่รวมของงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานขององค์การปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และเต็มความสามารถจึงจำเป็นต้องจัดแบ่งหน้าที่การทำงานกันทำและมอบอำนาจให้รับผิดชอบตามความสามารถและความถนัด ถ้าเป็นองค์การขนาดใหญ่และมีคนมาก ตลอดจนงานที่ทำมีมากก็ต้องจัดหมวดหมู่ของงานที่เป็นอย่างเดียวกันหรือมีลักษณะใกล้เคียงกันมารวมเข้าด้วยกัน
    ประเภทของการจัดองค์การมี 2ประเภท คือ
    – การจัดองค์การแบบเป็นทางการ
    – การจัดองค์การแบบไม่เป็นทางการ
    ประโยชน์ของการจัดองค์การ
    – การจัดองค์การที่ดีจะช่วยผู้บริหารให้ทำงานได้สำเร็จตามที่ได้วางแผนไว้ การจัดองค์การที่ดีช่วยทำการใช้ทรัพยากรทางการบริหารเป็นไปตามวัตถุประสงค์
    แหล่งข้อมูล
    ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ ฉบับพิมพ์ที่6 ปรับปรุงใหม่
    ผู้แต่ง รองศาสตราจารย์สมคิด บางโม
    สำนักพิมพ์บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด ปีที่พิมพ์ 2557
    น.ส.สิตานันท์ เพ็งพะกา (9119)

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ หมายถึงความพยายามที่ผู้บริหารกำหนดโครงสร้างขององค์การที่สามารถเอื้ออำนวยให้แผนที่จัดทำขึ้นไปสู่สัมฤทธิ์ผลที่ปรารถนา มีความสำคัญที่ช่วยให้องค์การดำเนินไปด้วยความราบรื่น
    ทฤษฎีดั้งเดิม หลักการว่า คนเป็นเครื่องมือที่ทำให้องค์การไปสู่่จุดหมายปลายทางได้
    ทฤษฎีสมัยใหม่ พัฒนาจากดั้งเดิม
    ทฤษฎีสมัยใหม่ปัจจุบันนักทฤษฎีได้พิจารณาองค์กรในลักษณะที่เป็นส่วนรวมทั้งหมด
    จำแนกประเภทได้ 2แบบ คือ
    1.องค์การแบบเป็นทางการ เช่น บริษัท มูลนิธิ หน่วยราชการ
    2.องค์การแบบไม่เป็นทางการ เช่น อาชีพ ชมรม รสนิยม ศาสนา ประเพณี ตำแหน่งงาน
    ประโยชน์คือ
    1.ช่วยป้องกันการทำงานที่ซ้ำซ้อน
    2.ทำให้ทราบขอบเขตความรับผิดชอบ อำนาจหน้าที่ต่างๆ
    3.ทำให้ระบบการสื่อสารตามสายการบังคับบัญชาที่่ดี

    แหล่งอ้างอิง หนังสือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ผู้แต่ง วิชัย โถสุวรรณจินดา สำนักพิมพ์ โฟรเพซ
    พิมพ์ครั้งที่ 4 2543

    ถูกใจถูกใจ

  • ความหมายของการจัดการองค์การ
    ศาสตราจารย์ Marshall E. Dimock ได้ให้ความหมายขององค์การไว้ว่าคือการจัดระเบียบโดยการนำเอาส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมารวมกันในรูปของส่วนรวม เพื่อให้มีการใช้อำนาจบริหารงานและเป็นศูนย์อำนวยการ ให้งานนำเนินลุล่วงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
    ทฤษฎีที่สำคัญของการจัดองค์การ
    องค์การเป็นที่รวมของคนและเป็นที่รวมของงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานขององค์การปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และเต็มความสามารถจึงจำเป็นต้องจัดแบ่งหน้าที่การทำงานกันทำและมอบอำนาจให้รับผิดชอบตามความสามารถและความถนัด ถ้าเป็นองค์การขนาดใหญ่และมีคนมาก ตลอดจนงานที่ทำมีมากก็ต้องจัดหมวดหมู่ของงานที่เป็นอย่างเดียวกันหรือมีลักษณะใกล้เคียงกันมารวมเข้าด้วยกัน
    ประเภทของการจัดองค์การมี 2ประเภท คือ
    1. การจัดองค์การแบบเป็นทางการ
    1.1 มีการจัดอย่างเป็นทางการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
    1.2 มีการกำหนดในเรื่องหน่วยงาน หน้าที่ของแต่ละแห่งแต่ละบุคคลที่เข้ามาร่วมงาน
    1.3 มีการกำหนดในเรื่องการใช้อำนาจบังคับบัญชาและการตัดสินใจ
    1.4 มีการกำหนดความสัมพันธ์การติดต่อหน่วยงานและบุคคลไว้อย่างมีระเบียบ
    1.5 มีแผนภูมิองค์การ แสดงให้ปรากฎ
    2. การจัดองค์การแบบไม่เป็นทางการ
    2.1 รูปแบบของความสัมพันธ์ซึ่งได้พัฒนามาจากกิจกรรมที่ไม่แนทางการของพนักงาน
    2.2 เกิดขึ้นตามธรรมชาติและเป็นความสัมพันธ์ทางสังคม
    2.3 ไม่มีการกำหนดความสัมพันธ์ในโครงสร้างเป็นรายลักษณ์อักษร ไม่มีกฎเกณฑ์ และข้อบังคับแก่สมาชิกที่แน่นอน
    2.4 ไม่มีแผนภูมิองค์การ แสดงให้ปรากฎ

    ประโยชน์ของการจัดองค์การ
    การจัดองค์การที่ดีจะช่วยผู้บริหารให้ทำงานได้สำเร็จตามที่ได้วางแผนไว้ การจัดองค์การที่ดีช่วยทำการใช้ทรัพยากรทางการบริหารเป็นไปตามวัตถุประสงค์

    : แหล่งอ้างอิง หนังสือ องค์การและการจัดการ ฉบับพิมพ์ที่6 ปรับปรุงใหม่
    ผู้แต่ง รองศาสตราจารย์สมคิด บางโม
    สำนักพิมพ์ บริษัท วิทยพัฒน์ จำกัด ปีที่พิมพ์ 2557
    เลขทะเบียน 164290 เลขหมู่ 658.4 ฉ.5
    : แหล่งอ้างอิง หนังสือองค์การและการจัดการ ผู้แต่ง รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร วิทยอุดม
    จากสำนักพิมพ์ บริษัทธนธัชการพิมพ์ ปีที่พิมพ์ 2555
    เลขทะเบียน 164290 เลขหมู่ 658.4 ฉ.5
    นายณัฏฐภัทร แววสีงาม 5910125439138 (138)

    ถูกใจถูกใจ

  • ความหมายของการจัดการองค์การ
    ศาสตราจารย์ Marshall E. Dimock ได้ให้ความหมายขององค์การไว้ว่าคือการจัดระเบียบโดยการนำเอาส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมารวมกันในรูปของส่วนรวม เพื่อให้มีการใช้อำนาจบริหารงานและเป็นศูนย์อำนวยการ ให้งานนำเนินลุล่วงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
    ทฤษฎีที่สำคัญของการจัดองค์การ
    องค์การเป็นที่รวมของคนและเป็นที่รวมของงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานขององค์การปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และเต็มความสามารถจึงจำเป็นต้องจัดแบ่งหน้าที่การทำงานกันทำและมอบอำนาจให้รับผิดชอบตามความสามารถและความถนัด ถ้าเป็นองค์การขนาดใหญ่และมีคนมาก ตลอดจนงานที่ทำมีมากก็ต้องจัดหมวดหมู่ของงานที่เป็นอย่างเดียวกันหรือมีลักษณะใกล้เคียงกันมารวมเข้าด้วยกัน
    ประเภทของการจัดองค์การมี 2ประเภท คือ
    1. การจัดองค์การแบบเป็นทางการ
    1.1 มีการจัดอย่างเป็นทางการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
    1.2 มีการกำหนดในเรื่องหน่วยงาน หน้าที่ของแต่ละแห่งแต่ละบุคคลที่เข้ามาร่วมงาน
    1.3 มีการกำหนดในเรื่องการใช้อำนาจบังคับบัญชาและการตัดสินใจ
    1.4 มีการกำหนดความสัมพันธ์การติดต่อหน่วยงานและบุคคลไว้อย่างมีระเบียบ
    1.5 มีแผนภูมิองค์การ แสดงให้ปรากฎ
    2. การจัดองค์การแบบไม่เป็นทางการ
    2.1 รูปแบบของความสัมพันธ์ซึ่งได้พัฒนามาจากกิจกรรมที่ไม่แนทางการของพนักงาน
    2.2 เกิดขึ้นตามธรรมชาติและเป็นความสัมพันธ์ทางสังคม
    2.3 ไม่มีการกำหนดความสัมพันธ์ในโครงสร้างเป็นรายลักษณ์อักษร ไม่มีกฎเกณฑ์ และข้อบังคับแก่สมาชิกที่แน่นอน
    2.4 ไม่มีแผนภูมิองค์การ แสดงให้ปรากฎ

    ประโยชน์ของการจัดองค์การ
    การจัดองค์การที่ดีจะช่วยผู้บริหารให้ทำงานได้สำเร็จตามที่ได้วางแผนไว้ การจัดองค์การที่ดีช่วยทำการใช้ทรัพยากรทางการบริหารเป็นไปตามวัตถุประสงค์
    : แหล่งอ้างอิง หนังสือ องค์การและการจัดการ ฉบับพิมพ์ที่6 ปรับปรุงใหม่
    ผู้แต่ง รองศาสตราจารย์สมคิด บางโม
    สำนักพิมพ์ บริษัท วิทยพัฒน์ จำกัด ปีที่พิมพ์ 2557
    : แหล่งอ้างอิง หนังสือองค์การและการจัดการ ผู้แต่ง รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร วิทยอุดม
    จากสำนักพิมพ์ บริษัทธนธัชการพิมพ์ ปีที่พิมพ์ 2555
    เลขทะเบียน 164290 เลขหมู่ 658.4 ฉ.5
    นายณัฏฐภัทร แววสีงาม 5910125439138 (138)

    ถูกใจถูกใจ

  • -การจัดองค์การ
    การจัดองค์(Organizing)เป็นกระบวนการใช้ทรัพยากรภายในระบบการจัดการอย่างเป็นลำดับ การใช้ทรัพยากรอย่างเป็นลำดับนั้น เน้นเพื่อการบรรลุเป้าหมายของระบบการจัดการ นอกจากจะช่าวยให้ผู้บริหารมีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนแล้วยังรวมไปถึงการจัดการสรรทรัพยากรเพื่่อให้ได้มาซึ่งเป้าหมายที่ตั้งไว้ สิ่งสำคัญที่สุดในการจัดการองค์การ คือ การกำหนดกิจกรรมของบุคคลของบุคลากรแต่ล่ะคนในองค์การร่วมกับการกำหนดควาใพยายามดีที่สุดในการทำกิจกรรมเพื่อให้ได้มาซึ่งประสิทธิผลตามวัตถุสงค์ที่องค์การได้ตั้งไว้ ส่วนคำว่า องค์การ(Organization)เป้นผลลัพท์ที่ได้จากกระบวนการจัดการองค์การ
    แนวทางในการจัดการของ Fayol (Fayol’s Guidelines)
    1.จัดเตรียมและดำเนินการตามแผนอย่างรอบคอบ
    2.จัดเตรียมกำลังคนและเครื่องมือที่ต้องใช้ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ทรัพยากรและความต้องการที่เกี่ยวข้อง
    3.กำหนดพลังขับเคลื่อนที่ชัดเจน
    4.การประสานกิจกรรมและความพยายามเข้าด้วยกัน
    5.การตัดสินใจที่เป้นระบบ ชัดเจนและเที่ยงตรง
    6.จัดเตรียมการคัดเลือกที่มีประสิทธิภาพเพื่อมุ่งสู่การมีผู้ให้บริการที่มีความสามารถ
    7.กำหนดตำแหน่งหน้าที่
    8.กระคุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
    ความสำคัญของจัดองค์การ
    หนเาที่การจัดองค์การมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อระบบการจัดการ เนื่องจากเป็นกลไกหลักของผู้บริหารในการใช้กระตุ้นการทำงานตามแผนที่วางไว้ การจัดองค์การเป็นการสร้างและรักษาความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรองค์กรทั้งหมดด้วยการระบุว่าทรัพยากรใดจะต้องใช้ในกิจกรรมใด เมื่อใด ที่ไหน และจะต้องใช้อย่างไร ความพยายามในกระบวนการจัดองคืการจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถลดจุดอ่อนในการใช้ทรัพยากรมนุษยืที่สิ้นเปลืองและสูญเปล่า
    ทฤษฏีการจัดการองค์การ
    ทฤษฏีการจัดองคืการเป้นแนวคิดของนักทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการในยุคเริ่มแรกซึ่งว่าด้วยการจัดการทรัพยากรต่างๆให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามเป้าหใายที่กำหนดไว้ ผู้ศึกษาเรื่องนี้คือ Max Weder ซึ่งได้กล่าวว่าองค์ประกอบที่สำคัญของความสำเร็จในการจัดองค์การอยู่ที่รายละเอียดชองกระบวนการกฎระเบียบ และโครงร่างลำดับชั้นขององค์การที่มีความชัดเจน รวมไปถึงความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการของสมาสิกองค์การ

    แหล่งอ้างอิง หนังสือ การจัดการสมัยใหม่ ผู้แต่ง Samuel C.Certo
    จากสำนักพิมพ์ บริษัท เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า จำกัด

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดการ หมายถึง ความพยายามที่ผู้บริหารกำหนดโครงสร้างขององค์การที่สามารถเอื้ออำนวยให้แผนที่จัดขึ้นไปสู่สัมฤทธิ์ผลที่ปรารถณา
    ประโยชน์ของการจัดการองค์การ
    1.) ทำให้การบริหารงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
    2.) ทำให้านทุกอย่างในองค์การดำเนินไปด้วยความสำเร็จด้วยดี
    3.) ทำให้ประหยัดและคุ้มค่าเพราะไม่เกิดปัญหาความซ้ำซ้อนและความล่าช้า
    4.) ทำให้องค์การสามารถพัฒนาและเจริญเติบโตต่อไป
    5.) ทำให้สมาชิกองค์การมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน

    แหล่งที่มา : หนังสือ การบริหารทรัะยากรมนุษย์
    ผลิตโดย : บริษัท FOREPACE PUBLSHING HOUSE

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ
    การจัดองค์การในองค์การโดยทั่วไปจะมุ่งเน้นให้เห็นระบบการทำงานขององค์การโดยการประสานความร่วมมือของแต่ละหน่วยงานในองค์การ ดังนั้นเพื่อให้การทำหน้าที่การจัดองค์การของผู้บริหารได้เป็นผลสำเร็จจึงควรทำความเข้าใจความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการจัดองค์การดังตัวอย่างคำจำกัดความ ดังต่อไปนี้
    รอบบินส์และเคาท์เลอร์ (Robbins and Coulter 2002:256) การจัดองค์การคือกระบวนการในการสร้างโครงสร้างขององค์การซึ้งเป็นกระบวนการสำคัญและช่วยสนับสนุนวัตถุประสงค์อื่นๆ
    เซอร์โตและเซอร์โต (Certo and Certo 2006: 228) กล่าวว่า การจัดองค์การคือกระบวนการของการจัดระเบียบแบบแผนสำหรับการใช้ทรัพยากรโยเน้นผลสำเร็จให้เกิดขึ้นในระบบการบริหารจัดการ
    ธงชัย สันติวงษ์ (2543: 63) กล่าวว่าการจัดองค์การ หมายถึง การจัดระเบียบกิจกรรมให้เป็นกลุ่มก้อนเข้าและการมอบหมายงานให้คนปฎิบัติเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์
    ภาพร ขันธหัตถ์ (2549: 78) ได้สรุปว่าการจัดองค์การ หมายถึง การจัดระบบ ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนงานต่างๆ
    สาคร สุขสรีวงศ์ (2550: 127) การจัดองค์การ หมายถึง การออกแบงาน การจัดแผนกงาน การจัดแบ่งอำนาจหน้าที่และการประสานงานระหว่างบุคคลและหน่วยงานภายในองการเพื่อให้องคืการสามารถดำเนินงานได้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด

    ความสำคัญของการจัดองค์การ

    องค์การเป็นที่รวมของคนและเป็นที่รวมของงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานขององค์การปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และเต็มความสามารถ จึงจำเป็นต้องแบ่งหน้าที่การงานกันทำ และมอบอำนาจให้รับผิดชอบตามความสามารถและถนัด ถ้าเป็นองค์การขนาดใหญ่และมีคนมาก ก็ต้องจัดหมวดหมู่ของงานที่เป็นอย่างเดียวกัน หรือลักษณะใกล้เคียงกันมาไว้ด้วยกัน เรียกว่า ฝ่าย ตั้งหัวหน้างานขึ้นรับผิดชอบควบคุม ดังนั้น การจัดองค์การจึงมีความจำเป็นและก่อให้เกิดประโยชน์ดังต่อไปนี้

    1. ประโยชน์ต่อองค์กร
    (1) การจัดองค์การที่ดีและเหมาะสม จะทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ
    (2) ทำให้งานไม่ซับซ้อน ไม่มีแผนงานมากเกินไป เป็นการประหยัดต้นทุนไปด้วย
    (3) องค์การสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ง่ายตามความจำเป็น

    2. ประโยชน์ต่อผู้บริหาร
    (1) การบริหารง่าย สะดวก รู้ว่าใครรับผิดชอบอะไร มีหน้าที่อะไร
    (2) แก้ปัญหาการทำงานซ้ำซ้อนได้ง่าย
    (3) ทำงานไม่คั่งค้าง ณ จุดใด สามารถติดตามแก้ไขได้ง่าย
    (4) การมอบอำนาจทำได้ง่าย ขจัดปัญหาการเกี่ยงกันทำงานหรือปัดความรับผิดชอบ

    3. ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน
    (1) ทำให้รู้อำนาจหน้าที่และขอบข่ายการทำงานของตนเองว่ามีเพียงใด
    (2) การแบ่งงานให้พนักงานอย่างเหมาะสม ช่วยให้พนักงานมีความพอใจ ไม่เกิดความรู้สึกว่างานมากเกินไป หรือน้อยเกินไป
    (3) เมื่อพนักงานรู้อำนาจหน้าที่ และขอบเขตงานของตนย่อมก่อให้เกิดความคิดริเริ่มในการทำงาน
    (4) พนักงานเข้าใจความสัมพันธ์ของตนต่อฝ่ายอื่นๆ ทำให้เราสามารถติดต่อกันได้ดียิ่งขึ้น (สมคิด บางโม, 2538 : 126-127)

    ทฤษฎีที่สำคัญการจัดองค์การ
    องค์การเป็นที่รวมของคนและเป็นที่รวมของงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานขององค์การปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และเต็มความสามารถจึงจำเป็นต้องจัดแบ่งหน้าที่การทำงานกันทำและมอบอำนาจให้รับผิดชอบตามความสามารถและความถนัด
    อ้างอิง หนังสือหลักการจัดการ ผู้แต่ง ดร.อนิวัช แก้วจำนงค์ เลขทะเบียน146281 หมวดหนังสือ 658 อ ห ฉ.2

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ หมายถึง ความพยายามที่ผู้บริหารกำหนดโครงสร้างขององค์การที่สามารถเอื้ออำนวยให้แผนที่จัดทำไปสู่จุดมุ่งหมาย
    ทฤษฎี
    1.ทฤษฏีดั้งเดิม
    2.ทฤษฏี สมัยใหม่
    3.ทฤษฏี สมัยปัจจุบัน
    แบ่งประเภทได้ 2 ประเภท คือ
    1.องค์การแบบเป็นทางการ เป็นองค์การที่มีการจัดโครงสร้างอย่างเป็นระเบียบแบบแผนแน่นอนการจัดตั้งมีกฎหมายรองรับ บางแห่งเรียกว่า องค์การรูปนัย ได้แก่ บริษัท กรม โรงพยาบาล โรงเรียน ซึ่งการศึกษาเรื่ององค์การและการพัฒนาจะเป็นการศึกษาในเรื่องขององค์การประเภทนี้ทั้งสิ้น
    2.องค์การแบบไม่เป็นทางการ เป็นองค์การที่รวมกันหรือจัดตั้งขึ้นด้วยความพึงใจและมีความสัมพันธ์กันเป็นส่วนตัว ไม่มีการจัดระเบียบโครงสร้างภายใน มีการรวมตัวง่ายและเลิกล้มง่ายเช่นกัน องค์การแบบนี้เรียกว่า องค์การอรูปนัย หรือองค์การนอกแบบ เช่น ชมรมต่างๆ
    ประโยชน์
    1.ช่วยประสานงานในหน้าที่ต่างๆได้ดี
    2.ช่วยลดปัยหาความขัดแย้งระหว่างพนักงานในองค์การได้
    3.สามารถแสดงให้เห็นถึงภาระหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน

    แหล่งอ้างอิง หนังสือ การจัดการ ผู้แต่ง ผศ.รด.ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ สำนักพิมพ์ เอ็กซเปอร์เน็ท ปีที่พิมพ์ 2543

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ
    -แนวคิด เป็นการจัดระบบโครงสร้างของงานในหน้าที่ต่างๆเริ่มด้วยเรื่องของการแบ่งงานในองค์การออกเป็นส่วนต่างๆ โดยการจัดรวมกลุ่มงานหรือกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์เข้าไว้ด้วยกัน พร้อมทั้งกำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ การจัดความสัมพันธ์ และการประสานงานระหว่างบุคคลในองคืการให้เหมาะสมลดหลั่นไปตามลำดับขั้น
    -ทฤษฎี การจัดองค์การตามแนวทฤษฏีของ Henri Fayol ยังเป็นที่ยอมรับและนำมาปฏิบัติอยู่ทุกวันนี้ โดยยึดหลักการบริหารที่ Fayol ได้คิดวิเคราะหืและกำหนดแนวทางปฏิบัติไว้ 5 ประการ ดังนี้
    1.O-Objective วัตถุประสงค์
    2. S-Specialization หลักความชำนาญเฉพาะ
    3.C-Co-ordinating การประสานงาน
    4.A-Authority หลักอำนาจหน้าที่
    5.R-Responsibility หลักความรับผิดชอบ
    -ประโยชน์ 1.จะทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ
    2.การบริหารง่าย สะดวก รู้ว่าใครรับผิดชอบอะไร มีหน้าที่อะไร
    3.ทำให้รู้อำนาจหน้าที่และขอบข่ายการทำงานของตนเองว่ามีเพียงใด
    ชื่อหนังสือ :หลักการจัดการ
    ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตร์จารย์วิลาวรรณ รพีพิศาล
    พิมพ์ครั้งที่ : 1 ปีที่พิมพ์ :2550
    พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์วิจิตรหัตถกร
    รหัสหนังสือ :658
    น.ส.สุชาดา กลิ่นหอม (9121)

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ หมายถึงการจัดองค์การนับว่ามีความสำคัญยิ่งที่ช่วยให้องค์การดำเนินไปด้วยความราบรื่นประสบผลสำเร็จ ดังที่เคยกล่าวเสมอว่า องค์การเป็นการรวมกลุ่มของบุคคลโดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน คำกล่าวนี้สะท้อนให้เห็นถึง งานที่องค์การทำต้องอาศัยคนมากกว่าหนึ่งคนขึ้นไป และโดยธรรมชาติของคนนั้นมีความแตกต่าง ดังหลักการทางจิตวิทยาที่กล่าวในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลฉะนั้นเมื่อบุคคลมารวมตัวกันทำงานย่อมประสบปัญหาในเรื่องต่างๆ อาทิเช่น
    งานนี้ควรเป็นของใครก็ได้ไม่ใช่ฉัน… ปัญหาการเกี่ยวกันทำงาน
    ฉันควรทำงานนี้ เพราะฉันเก่งกว่าใคร… ปัญหาการอวดตัวว่าเหนือคนอื่น
    เธอจะทำงานนี้ได้อย่างไร ในเมื่อฉันทำอยู่แล้ว…ปัญหาความซำ้ซ้อนหรือการก้าวก่าย
    แผนกนั้นมีงานนิดเดียวแผนฉันงานมากจนทำไม่ไหว…ปัญหาการแบ่งงาน
    ฉันไม่รู้ควรฟังคำสั่งใครกันแน่ มีเจ้านายหลายคนอย่างนี้ … ปัญหาการบังคับบัญชา
    จากปัญหาต่างๆ เหล่านี้ได้สะท้อนให้เห็นว่ามนุษย์บางคนมีความคิดว่าตนเองเก่งเหมือนคนอื่นและบางครั้งอาจเนื่องมาจากการคิดอยากจะช่วยทำงานนั้นให้สำเร็จลุล่วงไปอย่างรวดเร็วก็เป็นได้ฉะนั้นการที่จะขจัดปัญหาต่างๆ ดังกล่าว จำเป็นต้องมีการกำหนดระเบียบขององค์การ หน้าที่ของสมาชิกฝ่ายต่างๆ ระบบความสัมพันธ์ระหว่างงานประเภทต่างๆ ให้ชัดเจนเพื่อเป็นกรอบและทิศทางให้สมาชิกในองค์การปฏิบัติ
    ประเภทขององค์การแบ่งเป็น2ประเภท
    1.องค์การแบบเป็นทางการ
    2.องค์การแบบไม่เป็นทางการ
    ประโยชน์
    1.ทำให้การบริหารงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
    2.ทำให้งานทุกอย่างในองค์การดำเนินไปด้วยความสำเร็จด้วยดี
    3.ทำให้ประหยัดและคุ้มค่าเพราะไม่เกิดปัญหาความซ้ำซ้อนและความล่าช้า
    4.ทำให้องค์การสามารถพัฒนาและเจริญเติบโตต่อไป
    5.ทำให้สมาชิกเกิดการร่วมแรงร่วมใจกันทำงาน
    6.ทำให้สมาชิกในองค์การมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน
    :แหล่งที่มา ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ
    :กมล อดุลพันธ์ ชลิดา ศรมณี และเฉลิมพล ศรีหงษ์ (2525) การบริหารรัฐกิจเบื้องต้น มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    รศ.ดร.พยอม วงศ์สารศรี สำหนักพิมพ์ บริษัท สำนักพิมพ์สุภา จำกัด 670/715 จรัญสนิทวงศ์ 68 บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 พิมพ์ปี 2542 เลขทะเบียน 158773 เลขหมู่ 658.4 พ อ
    นางสาร กรรณิการ์ พระอนงค์ 9117

    ถูกใจถูกใจ

  • การวางแผน เป็นการตกลงไว้ล่วงหน้าว่าจะทำอะไร ทำทำไม ทำเท่าไร ทำเมื่อไร ทำที่ไหน ใครเป็นผู้ทำ ทำกับใคร และทำอย่างไร ในการวางแผนที่ดีย่อมต้องอาศัยนโยบายที่แน่นอนและชัดแจ้ง การวางแผนมีหลายประเภท อาจแบ่งได้ตามประเภทของระยะเวลา ประเภทแผนตามสถานที่ ประเภทของแผนตามสายงาน และประเภทของแผนตามหลักเศรษฐศาสตร์
    วงจรการบริหารแผนงานและโครงการเริ่มจาการวางแผน ปฏิบัติตามแผน ติดตามผล และประเมินผล และขั้นประเมินผลความสำเร็จ หลักจากนั้นก็จะเริ่มวางแผนใหม่ การวางแผนและควมคุบกำไรใช้สำหรับิงค์การธุรกิจ ซึ่งจะต้องวางแผนเกี่ยวกับการตลาด การผลิต และค่าใช่จ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้องรู้จักวิถีคำนวณหาจุดคุ้มทนให้ได้ การประเมินผลโครงการควรยึดวัตถุประสงค์ของโครงการเป็นหลัก ใช้การเปรียบเทียบผลที่ปรากฏกับวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
    การจัดองค์การ หมายถึง การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างสายงานต่างๆ และบุคคลในองค์การโดยกำหนดภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้ชัดแจ้งเพื่อให้การประกอบการตามภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
    ทฤษฏีองค์การแบ่งเป็น 3 ทฤษฏี
    -ทฤษฏีดั้งเดิม
    -ทฤษฏีสมัยใหม่
    -ทฤษฏีสมัยปัจจุบัน
    หลักการจัดองค์การควรยึดหลัก 8 ประการ
    -วัตถุประสงค์
    -ความชำนาญเฉพาะอย่าง
    -การรวมอำนาจ
    -สายการบังคับบัญชาเอกภาพ
    -การบริหาร
    -การประสานงาน
    -อำนาจหน้าที่
    -ความรับผิดชอบ
    การจัดโครงสร้างขององค์การ จำแนกได้ 3 ประเภท โครงสร้างตามหน้าที่การงาน ตามสายงานหลัก
    -สายงานคณะที่ปรึกษา
    -สายงานคณะกรรมการ
    -สายงานอนุกร
    การจัดแบ่งงานในองค์การจำแนกได้ 4 ลักษณะ
    -การแบ่งตามกระบวนการ
    -การแบ่งตามสักษณะลูกค้า
    -การแบ่งตามลักษณะสถานที่หรือภูมิประเทศ
    สำหรับแผนภูมิองค์การจำแนกได้ 2 ประเภท
    -แผนภูมิหลัก
    -แผนภูมิเสริม
    ในการจัดองค์การนั้นจะต้องคำนึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่างๆและจัดให้เหมาะสมแก่สภาพการณ์ เพื่อให้บรรลุถึงประสิทธิภาพขององค์การ
    *ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ
    *ผู้เรียบเรียง ผศ.ศิริอร ขันธหัตถ์
    *พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์

    ถูกใจถูกใจ

  • -การจัดองค์การ คือ การกำหนดโครงสร้างขององค์การอย่างเป็นทางการ โดยการจัดแบ่งออกเป็นหน่วยงานย่อยต่างๆ กำหนดอำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานไว้ให้ชัดเจน รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานเหล่านั้น ทั้งนี้เพื่อให้เอื้อต่อการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ
    -ทฤษฎี
    1.มีเป้าหมาย นโยบาย และแผนงานในการดำเนินงานอย่างชัดเจน
    2.จัดให้มีศูนย์กลางในการอำนวยการที่มีสมรรถภาพ
    3.ระบุหน้าที่การงาน ความรับผิดชอบ ของสมาชิกแต่ละคนให้ชัดเจน
    4.จัดระบบการทำงานที่เหมาะสม
    5.มีระบบติดต่อสื่อสารที่ดีและเหมาะสม
    -องค์ประกอบที่สำคัญของการจัดองค์การมีดังนี้
    1.หน้าที่การงาน
    2.การแบ่งงาน
    3.หน่วยงานสำคัญขององค์การ
    3.1หน่วยงานหลัก
    3.2หน่วยงานที่ปรึกษา
    3.3หน่วยงานอนุกร
    4.สายการบังคับบัญชา
    5.ช่วงการควบคุม
    6.เอกภาพในการบังคัณบัญชา
    7.โครงสร้างขององค์การ
    7.1โครงสร้างแบบงานหลัก
    7.2โครงสร้างแบบงานหลักและงานที่ปรึกษา
    7.3โครงสร้างแบบหน้าที่การงานเฉพาะ
    7.4โครงสร้างแบบแมททริกซ์
    8.แผนภูมิขององค์การ
    8.1แผนภูมิโครงสร้างหลัก
    8.2แผนภูมิแสดงหน้าที่การงาน
    8.3แผนภูมิแสดงตัวบุคคล
    -ประโยชน์
    1.การจัดองค์การที่ดีจะช่วยผู้บริหารให้ทำงานได้สำเร็จตามที่ได้วางแผนไว้
    2.การจัดองค์การที่ดีช่วยทำการใช้ทรัพยากรทางการบริหารเป็นไปตามวัตถุประสงค์

    แหล่งที่มา ชื่อหนังสือ: องค็การและการจักการ ผู้แต่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมคิด บางโม
    เอกสารประกอบคำบรรยาย อัดสำเนา ปีที่พิมพ์ 2526
    หมวด658.4
    ส อ
    ฉ.3

    ถูกใจLiked by 1 person

  • การจัดองค์การ
    การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างงานต่างๆและบุคคลในองค์การ
    ทฤษฎี
    แบบดั้งเดิมและแบบทหาร
    ประเภท มี 6 ประเภท
    1.โครงสร้างตามหน้าที่การงาน : แบ่งตามความสามารถ
    2.ตามสายงานหลัก : การบังคับบัญชาจากบนลงล่างเป้นขั้นๆ
    3.สายงานที่ปรึกษา : ให้ข้อมูล คำแนะนำ
    4.แบบเมทริกซ์ : การผสมผสานโครงสร้างแบบต่างๆเข้าด้วยกัน
    5.แบบคณะกรรมการบริหาร : มีการบริหารงานในลักษณะคณะกรรมการ
    6.การงานอนุกร : เกี่ยวกับธุรการและอำนวยความสะดวก
    ประโยชน์
    1. ประโยชน์ต่อองค์กร
    (1) ทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์
    (2) ทำให้งานไม่ซับซ้อน
    (3) องค์การสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ง่าย
    2. ประโยชน์ต่อผู้บริหาร
    (1) การบริหารง่าย สะดวก
    (2) แก้ปัญหาการทำงานซ้ำซ้อนได้ง่าย
    (3) ทำงานไม่คั่งค้าง สามารถติดตามแก้ไขได้ง่าย
    (4) การมอบอำนาจทำได้ง่าย
    3. ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน
    (1) ทำให้รู้อำนาจหน้าที่และขอบข่ายการทำงานของตนเอง
    (2) แบ่งงานให้พนักงานได้อย่างเหมาะสม
    (3) เมื่อพนักงานรู้อำนาจหน้าที่และขอบเขตงานของตนย่อมก่อให้เกิดความคิดริเริ่มในการทำงาน
    (4) พนักงานเข้าใจความสัมพันธ์ของตนต่อฝ่ายอื่นๆ
    ชื่อหนังสื่อ : หลักการบิหาร (แก้ไขปรับปรุงใหม่ พิมพ์ครั้งที่ 2)
    ผู้แต่ง : ศาตราจารย์ เสนาะ ติเยาว์
    รหัสหนังชื่อ : 658.4 ส ห ฉ.1
    โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 2

    ถูกใจLiked by 1 person

    • ครูไม่ได้รับงานเรื่อง การสั่งการ การบริหารคน ขาดไปนะคะ

      ถูกใจถูกใจ

  • ทฤษฎีองค์การอาจเเบ่งได้เป็น 3 ทฤษฏีด้วยกัน คือ
    1.ทฤษฏีดั้งเดิม
    2.ทฤษฏี สมัยใหม่
    3.ทฤษฏี สมัยปัจจุบัน
    แบ่งประเภทได้ 2 ประเภท คือ
    1.องค์การแบบเป็นทางการ เป็นองค์การที่มีการจัดโครงสร้างอย่างเป็นระเบียบแบบแผนแน่นอนการจัดตั้งมีกฎหมายรองรับ บางแห่งเรียกว่า องค์การรูปนัย ได้แก่ บริษัท กรม โรงพยาบาล โรงเรียน ซึ่งการศึกษาเรื่ององค์การและการพัฒนาจะเป็นการศึกษาในเรื่องขององค์การประเภทนี้ทั้งสิ้น
    2.องค์การแบบไม่เป็นทางการ เป็นองค์การที่รวมกันหรือจัดตั้งขึ้นด้วยความพึงใจและมีความสัมพันธ์กันเป็นส่วนตัว ไม่มีการจัดระเบียบโครงสร้างภายใน มีการรวมตัวง่ายและเลิกล้มง่ายเช่นกัน
    ประโยชน์ของการจัดองค์การ
    -เป็นแนวทางให้เเก่บุคคลากร
    -เป็นเครื่องมือทางการบริหารเพื่อชี้ให้พนักงานถึงการทำงาน
    -เพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
    -เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและความอยู่รอด
    -ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจและวางแผนดำเนินงานให้รวดเร็ว
    แหล่งที่มา ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ ผู้แต่ง ผศ.ศิริอร พันธหัตถ์ โรงพิมพ์โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์ บริษัท อักษราพิพัฒน์ จำกัด ปีที่พิมพ์ 2536

    ถูกใจLiked by 1 person

  • การจัดองค์การ (Organizing) คือ กระบวนการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง

    คนงานและกิจกรรมต่างๆขององค์การเพื่อที่จะก่อให้เกิด การใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
    การจัดองค์การ (Organizing) คือ การจัดระเบียบกิจกรรมต่าง ๆ ในองค์การ และ
    มอบหมายงานให้คนปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย การจัดองค์การที่ดี จะช่วยให้การบริหารการจัดการมีประสิทธิภาพได้เนื่องจาก
    1. ทำให้ทราบขอบเขต ความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่ต่าง ๆ
    2. ช่วยป้องกันการทำงานที่ซ้ำซ้อน
    3. ช่วยประสานงานในหน้าที่ต่าง ๆ ได้ดี
    4. ช่วยลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างพนักงานในองค์การได้
    5. สามารถแสดงให้เห็นตัวภาระหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน
    6. ทำให้มีระบบการสื่อสารตามสายการบังคับบัญชาที่ดี หลักสำคัญของการจัดองค์การ ควรมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน, อำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ , ความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชา , สายบังคับบัญชา , ช่วงการบังคับบัญชา , การประสานงาน , หลักของการทำงานเฉพาะอย่าง และเอกภาพในการบังคับบัญชา
    องค์ประกอบของการจัดองค์การจะประกอบไปด้วย การแบ่งงานกันทำ (Division
    of work) การจัดแผนกงาน (Departmentalization) การกระจายอำนาจหน้าที่ (Distribution of Authority) และการประสานงาน (Co-ordination)
    การจัดองค์การจะปรากฏขึ้นในรูปแผนภูมิองค์การที่เกิดจากการลากเส้นต่าง ๆ
    เพื่อให้เห็นการแบ่งแยกกลุ่มงาน ผู้รับผิดชอบ ตามลำดับลดหลั่นกันไป#หลักการจัดการ หลักการบริหาร พ.ศ. พัฒนา. จำกัด ปี2545

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ (Organizing) เป็นขั้นตอนในการจัดบุคคลและทรัพยากรที่ใช้ในการทำงาน เพื่อให่บรรลุจุดมุ่งหมายในการทำงานนั้น หรือเป็นการจัดแบ่งงานและจัเสรรทรัพยากรสำหรับงาน เพื่อให้งานเหล่านั้นสำเร็จ การจัดองค์การประกอบด้วย
    1. การระบุและอธิบายงานที่จะถูกนำไปดำเนินการ
    2. การกระจายงานออกเป็นหน้าที่ (Duties)
    3. การรวมหน้าที่ต่างๆเข้าเป็นตำแหน่งงาน (Positions)
    4. การอธิบายสิ่งทร่จำเป็นหรือความต้องการของตำแหน่งงาน
    5. การรวมตำแหน่งงานต่างๆ เป็นหน่วยงานที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม และสามารถบริหารจัดการได้
    6. การมอบหมายงาน ความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่
    7. การทบทวนและปรับโครงสร้างขององค์การเมื่อสถานการณ์เปลี่ยนแปลง และผลลัพธ์ของการควบคุมไม่เป็นไปตามที่กำหนด
    8. การติดต่อสื่อสารในกระบวนการของการจัดองค์การเป็นไปอย่างทั่งถึง
    9. การกำหนดความทรงจำเป็นของทรัพยากรมนุษย์
    10. การสรรหาผู้ปฏิบัติงานที่มีศักยภาพ
    11. การคัดเลือกจากบุคคลที่สรรหามา
    12. การฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ต่างๆ
    13. การทบทวนและปรับปรุงคุณภาพและปริมาณของทรัพยากรมนุษย์ เมื่อสถานการณ์เปลี่ยนแปลง และผลลัพธ์ของการควบคุมไม่เป็นไปตามที่กำหนด
    14. การติดต่อสื่อสารในกระบวนการของการจัดคนเข้าทำงานเป็นไปอย่างทั่วถึง

    แหล่งอ้างอิง : องค์การและการจัดการ
    ผู้แต่ง : รองศาสตราจารย์ศิริวรรณ เสรีรัตน์
    สำนักพิมพ์ : บริษัท ธรรมสาร จำกัด 83 ถนนบำรุงเมือง เสาชิงช้า พระนคร กรุงเทพฯ 10210

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ (Organizing)ซึ่งเป็นการกำหนดภาระหน้าที่และความรับผิดชอบสำหรับสมาชิกในองค์การ จึงอาจกล่าวได้ว่าการจัดองค์การเป็นจุดเริ่มแรกของการดำเนินกิจกรรมในองค์การให้เป็นไปตามแผนงานที่องค์การกำหนด องค์การจะดำเนินกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีสิทธิภาพมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับการจัดองค์การที่เหมาะสม
    การจัดองค์การในองค์การโดยทั่วไปจะมุ่งเน้นให้เห็นระบบการทำงานขององค์การโดยการประสานความร่วมมือของแต่ละหน่วยงานในองค์การ ดังนั้นเพื่อให้การทำหน้าที่การจัดองค์การของผู้บริหารได้เป็นผลสำเร็จจึงควรทำความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการจัดองค์การดังตัวอย่างตำจำกัดความ
    รอบบินส์และเคาท์เลอร์ (Robbins and Coulter 2002: 256) การจัดองค์การคือกระบวนการในการสร้างโครงสร้างขององค์การซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญและช่วยสนับสนุนวัตถุประสงค์อื่นๆในองค์การ
    ทฤษฎีที่สำคัญของการจัดองค์การ
    องค์การเป็นที่รวมของคนและเป็นที่รวมของงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานขององค์การปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และเต็มความสามารถจึงจำเป็นต้องจัดแบ่งหน้าที่การทำงานกันทำและมอบอำนาจให้รับผิดชอบตามความสามารถและความถนัด
    ประเภทของการจัดองค์การมี 2ประเภท คือ
    1.การจัดองค์การแบบเป็นทางการ
    2.การจัดองค์การแบบไม่เป็นทางการ
    ประโยชน์
    1. ทำให้ทราบขอบเขต ความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่ต่าง ๆ
    2. ช่วยป้องกันการทำงานที่ซ้ำซ้อน
    3. ช่วยประสานงานในหน้าที่ต่าง ๆ ได้ดี
    4. ช่วยลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างพนักงานในองค์การได้
    5. สามารถแสดงให้เห็นตัวภาระหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน
    6. ทำให้มีระบบการสื่อสารตามสายการบังคับบัญชาที่ดี

    อ้างอิง ชื่อหนังสือ หลังการจัดการ ผู้แต่ง ดร.อนิวัช แก้วจำนงค์ เลขทะเบียน146281 หมวด658 อ ห ฉ.2 พิมพ์ที่ บริษัท นำศิลป์โฆษณา จำกัด อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

    นายศราวุฒิ แนวกันยา (9139)

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การหมายถึง การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างส่วนงานต่างๆ และบุคคลในองค์การ โดยกำหนดภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้ชัดแจ้ง เพื่อให้การประกอบการตามภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
    ทฤษฏี
    1.ทฤษฏีดั้งเดิม
    2.ทฤษฏี สมัยใหม่
    3.ทฤษฏี สมัยปัจจุบัน
    ที่สำคัญมี5 ประเภท
    1.โครงสร้างองค์การตามหน้าที่การงาน
    2.โครงสร้างองค์การตามสายงานหนัก
    3.โครงสร้างองค์การแบบคณะที่ปรึกษา
    4.โครงสร้างองค์การแบบคณะกรรมการการบริหาร
    5.โครงสร้างองค์การอนุกร
    ประโยชน์
    1. ความสามารถในการปรับตัวและความยืดหยุ่น
    อ้างอิง
    2. เพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
    3.เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและความอยู่รอด

    ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ ปีที่พิมพ์ 2526
    เรียบเรียงโดย ผศ.ศิริอร ขันธหัตถ์

    น.ส. เพ็ญนภา สร้อยเพ็ง (9123)

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ (Organizing) คือ กระบวนการที่กำหนด กฎระเบียบแบบแผน ในการปฎิบัติงานขององค์การ ซึ่งรวมถึงวิธีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มองค์การคือโครงสร้างที่ได้ตั้งขึ้นตามกระบวนการโดนมีการรับพนังงานให้เข้ามาทำงานร่วมกันในฝ่ายต่างๆเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ทฤษฎีความสำคัญของการจัดองค์การ เนื่องจากองค์การในปัจจุบันมักจะมีขาดใหญ่ เพราะฉะนั้นจึงมีความสับสนในการปฎิบัติงานว่างานนั้นใครเป็นคนรับผิดชอบ และงานนั้นจะมีขั้นตอนหรือวงจรในการปฏิบัติอย่างไร การจัดองค์การจะทำให้ทราบแนวทางปฏิบัติงาน (Work flow)จึงทำให้เราไม่ทำงานซ้ำซ้อนหรือขัดแย้งกันในหน้าที่ช่วยให้พนักงานได้ทราบขอบเขตของงาน การติดต่อประสานงานกันจะได้สะดวกขึ้นจึงทำให้ผู้บิหารสามารถที่จะตัดสินใจ (Decision-Making)ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วและการจัดองค์การที่สำคัญมี 2 ประเภท องค์การที่เป็นทางการและองค์การที่ไม่เป็นทางการ
    การจัดองค์การที่เป็นทางการ (Formal Organization)
    ผู้บริหารจำเป็นจะต้องวางโครงสร้างที่แน่นอนเพื่อให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบถึงอำนาจหน้าที่ของตนเองในการปฏิบัติงาน และบ่งบอกถึงขอบเขตความรับผิดชอบของแต่ละบุคคลที่ทำงานร่วมกันและเพื่อความเป็นระเบียบโดยไม่มีการทำงานซ้ำซ้อน ทั้งนี่ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของสถานการณ์และสภาพแวดล้อม
    การจัดการแบบไม่เป็นทางการ (Informal Organization)
    การรวมกิจกรรมส่วนบุคคลของกลุ่มคนโดยปราศจากจุดประสงค์ร่วมกัน ถึงแม้ว่าจะมีการช่วยเหลือกันภายในองค์การก็ตามและก่อให้เกิดความสัมพันธ์
    : แหล่งที่มา ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการฉบับสมบูรณ์ปรับปรุงใหม่
    รองศาสตราจารย์ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ พิมพ์ปี 2542

    ถูกใจถูกใจ

    • ครูไม่ได้รับงานเรื่อง การควบคุม การสั่งการ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ เลยนะคะ ขาดไป 3 เรื่องนะคะ

      ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ
    การจักระเบียบให้กิจกรรมต่างๆสมดุลกัน โดยกำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบไว้
    ทฤษฎี แบบดั้งเดิม แบบทหาร
    ประเภท มี 6 ประเภท
    1.โครงสร้างตามหน้าที่การงาน : แบ่งตามความสามารถ
    2.ตามสายงานหลัก : การบังคับบัญชาจากบนลงล่างเป้นขั้นๆ
    3.สายงานที่ปรึกษา : ให้ข้อมูล คำแนะนำ
    4.แบบเมทริกซ์ : การผสมผสานโครงสร้างแบบต่างๆเข้าด้วยกัน
    5.แบบคณะกรรมการบริหาร : มีการบริหารงานในลักษณะคณะกรรมการ
    6.การงานอนุกร : เกี่ยวกับธุรการและอำนวยความสะดวก
    ประโยชน์
    1. ประโยชน์ต่อองค์กร
    (1) ทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ
    (2) ทำให้งานไม่ซับซ้อน ไม่มีแผนงานมากเกินไป เป็นการประหยัดต้นทุนไปด้วย
    (3) องค์การสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ง่ายตามความจำเป็น
    2. ประโยชน์ต่อผู้บริหาร
    (1) การบริหารง่าย สะดวก รู้ว่าใครรับผิดชอบอะไร มีหน้าที่อะไร
    (2) แก้ปัญหาการทำงานซ้ำซ้อนได้ง่าย
    (3) ทำงานไม่คั่งค้าง สามารถติดตามแก้ไขได้ง่าย
    (4) การมอบอำนาจทำได้ง่าย ขจัดปัญหาการเกี่ยงกันทำงานหรือปัดความรับผิดชอบ
    3. ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน
    (1) ทำให้รู้อำนาจหน้าที่และขอบข่ายการทำงานของตนเองว่ามีเพียงใด
    (2) แบ่งงานให้พนักงานได้อย่างเหมาะสม
    (3) เมื่อพนักงานรู้อำนาจหน้าที่และขอบเขตงานของตนย่อมก่อให้เกิดความคิดริเริ่มในการทำงาน
    (4) พนักงานเข้าใจความสัมพันธ์ของตนต่อฝ่ายอื่นๆ
    ชื่อหนังสื่อ : หลักการบิหาร (แก้ไขปรับปรุงใหม่ พิมพ์ครั้งที่ 2)
    ผู้แต่ง : ศาตราจารย์ เสนาะ ติเยาว์
    รหัสหนังชื่อ : 658.4 ส ห ฉ.1
    โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 2

    ถูกใจLiked by 1 person

  • การจัดองค์การ Edgar Schein กล่าวว่าวัฒนธรรมองค์การหรือวัฒนธรรมของบริษัทคือระบบ(System)ของความเชื่อและค่านิยมที่ถูกยึดถือร่วมกัน พัฒนาขึ้นและกำหนดพฤติกรรมของสมาชิกในองค์การดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าวัฒนะธรรมองค์การก็คือสิ่งที่คอยเชื่อมโยงสมาชิกขององค์การอต่ล้ะคนเข้าด้วยกัน หลักการจัดการ 1. เรื่องราว คือเรื่องราวจะเล่ามาจากเหตุการณ์จริงซึ่งได้รับการเน้นย้ำและถูกสร้างจากค่านิยมบางอย่าง 2.วีรบุรุษ (Heroes)คือบุคคลผู้ที่เป็นเจ้าของความสำเร็จซึ่งสร้างค่านิยมขององค์การความสำเร็จทั้งในอดีตและปัจจุบัน 3.พิธีกรรม (Rituals)คือกิจกรรมและงานพิธีต่างๆทั้งที่เป็นและไม่เป็นแบบแผน ประเภทขององค์การ 1.องค์การแบบหวังผลกำไร(For-profit)หรือองค์การธุรกิจถูกสร้างขึ้นมาเพื่อสร้างรายได้และผลกำไรจากการสินค้าและบริการ 2.องค์การแบบไม่หวังผลกำไร(Non-profit)ผู้จัดการจะมองว่าเป็นนักบริหารองค์การแบบนี้อาจเป็นองค์การในภาครัฐหรืออาจเป็นองค์การในภาคเอกชน 3. องค์การแบบผลประโยชน์ตอบแทน(Mutual-benefit)จะมีการเรียกเก็บค่าสมาชิกหรือเงินบริจาคต่างๆโดยมีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือและรักษาผลประโยชน์ของสมาชิก
    แหล่งอ้างอิง หนังสือ การจัดการ ผู้แต่ง ผศ.รด.ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ สำนักพิมพ์ เอ็กซเปอร์เน็ท ปีที่พิมพ์ 2543

    ถูกใจถูกใจ

  • ตามกระบวนการจัดการที่ได้กล่าวไว้ในบทที่2นั้นได้แสดงให้เห็นว่าการจัดองค์การเป็นงานที่ดำเนินต่อเนื่องมาจากการวางแผน เป็นความพยายามที่จะแสดงให้เห็นถึงลักษณะของโครงสร้างองค์การที่จะช่วยให้แผนที่ได้จัดไว้ประสบความสำเร็จ ดังนั้นเมื่อกล่าวถึง การจัดองค์การ จึงหมายถึง ความพยายามที่ผู้บริหารกำหนดโครงสร้างขององค์การที่สามารถเอื้ออำนวยให้แผนที่จัดทำขึ้นไปสู่สัมฤทธิ์ผลที่ปรารถนา การจัดองค์การนับว่ามีความสำคัญยิ่งที่ช่วยให้องค์การดำเนินไปด้วยความราบรื่นประสบผลสำเร็จ ดังที่เคยกล่าวเสมอว่า องค์การเป็นการรวมกลุ่มของบุคคลโดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันคำกล่าวนี้สะท้อนให้เห็นถึง งานที่องค์การทำต้องอาศัยคนมากกว่าหนึ่งคนขึ้นไป ดังนั้นการจัดองค์การอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะขององค์การย่อมก่อให้เกิดประโยชน์ดังนี้
    1)ทำให้การบริหารงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
    2)ทำให้งานทุกอย่างให้องค์การดำเนินไปด้วยความสำเร็จด้วยดี
    3)ทำให้ประหยัดและคุ้มค่าเพราะไม่เกิดปัญหาความซ้ำซ้อนและความล่าช้า
    4)ทำให้องค์การสามารถพัฒนาและเจริญเติบโตต่อไป
    5)ทำให้สมาชิกเกิดการร่วมแรงร่วมใจกันทำงาน
    6)ทำให้สมาชิกในองค์การมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน
    ผู้แต่ง:พยอม วงศ์สารศรี
    รหัสหนังสือ:658.4 พ อ ฉ.37
    แหล่งอ้างอิง:หนังสือองค์การและการจัดการ

    ถูกใจLiked by 1 person

  • การจัดองค์การ -แนวคิด เป็นการจัดระบบโครงสร้างของงานในหน้าที่ต่างๆเริ่มด้วยเรื่องของการแบ่งงานในองค์การออกเป็นส่วนต่างๆ โดยการจัดรวมกลุ่มงานหรือกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์เข้าไว้ด้วยกัน พร้อมทั้งกำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ การจัดความสัมพันธ์ และการประสานงานระหว่างบุคคลในองคืการให้เหมาะสมลดหลั่นไปตามลำดับขั้น
    -ทฤษฎี การจัดองค์การตามแนวทฤษฏีของ Henri Fayol ยังเป็นที่ยอมรับและนำมาปฏิบัติอยู่ทุกวันนี้ โดยยึดหลักการบริหารที่ Fayol ได้คิดวิเคราะหืและกำหนดแนวทางปฏิบัติไว้ 5 ประการ ดังนี้
    1.O-Objective วัตถุประสงค์
    2. S-Specialization หลักความชำนาญเฉพาะ
    3.C-Co-ordinating การประสานงาน
    4.A-Authority หลักอำนาจหน้าที่
    5.R-Responsibility หลักความรับผิดชอบ
    -ประโยชน์ 1.จะทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ
    2.การบริหารง่าย สะดวก รู้ว่าใครรับผิดชอบอะไร มีหน้าที่อะไร
    3.ทำให้รู้อำนาจหน้าที่และขอบข่ายการทำงานของตนเองว่ามีเพียงใด

    อ้างอิง
    ชื่อหนังสือ หลักการบริหารธุรกิจ
    ผู้เขียน สุรพันธ์ ฉันทแดนสุวรรณ
    ปีที่พิมพ์ 2546
    นายอนุศักดิ์ ประภัสสราภรณ์ รหัส116

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ
    นับว่ามีความสำคัญยิ่งที่ช่วยให้องค์การดำเนินไปด้วยความราบรื่นประสบผลสำเร็จ ดังที่เคยกล่าวเสมอว่า องค์การเป็นการรวบรวมกลุ่มของบุคคลโดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันคำกล่าวนี้สะท้อนให้เห็นถึงงานที่องค์การทำต้องอาศัยคนมากกว่าหนึ่งคนขึ้นไป และโดยธรรมชาติ
    -โครงสร้างขององค์การ
    โดยทั่วไปโครงสร้างขององค์การจะแสดงออกมาในรูปของแผนภูมิองค์การ หรือพีระมิดของภาระงานและยังแสดงให้เห็นถึถงความสำพันธ์ด้านอะนาจหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างทำงานด้านต่างๆในองค์การ
    โครงสร้างองค์การ สิ่งสำคัญมี 3 ประการ
    1.การวิเคราะห์กิจกรรม
    2.การวิเคราะห์การตัดสินใจ
    3.การวิเคราะห์สัมพันธ์

    แหล่งอ้างอิง ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ
    ผู้แต่ง นายปรีชา ชูนามย
    โรงพิมพ์พรานนกการพิมพ์

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ organizing
    -ความหมาย
    การจัดองค์การเป็นการจัดระบบโครงสร้างของงานในหน้าที่ต่างๆให้มีระเบียบแบบแผนโดยมีกระบวนการที่เริ่มต้นด้วยการจัดกลุ่มกิจกรรมกำหนดขอบเขตของงานอำนาจหน้าที่ในการปรับตัวงานให้กับฝ่ายต่างๆตลอดจนจัดให้มีการประสานสัมพันธ์ระหว่างงานและบุคลากรในองค์การ
    -ความสำคัญ
    องค์การเป็นที่รวมของกลุ่มคนกิจกรรมเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปถ้าผู้บริหารมีความสามารถจัดองค์การให้เหมาะสมสอดคล้องกับแผนและสถานการณ์ต่างๆแล้วโอกาสที่จะทำให้การดำเนินขององค์กรก้าวไปสู่เป้าหมาบแห่งความสำเร็จในเวลาอันรวดเร็วจะทำให้งานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
    -ทฤษฎีการจัดองค์การ
    O-objective(วัตถุประสงค์)ถือเป็นหัวใจสำคัญของการปฏิบัติงาน
    S-specialization(หลักความชำนาญเฉพาะ)หลักการปฏิบัติจะต้องคำนึงถึงความสามารถของผู้ปฏิบัติเป็นสำคัญ
    C-co-ordinating(การประสานงาน)เป็นกิจกรรมหนึ่งที่คอยเชื่อมโยงให้งานแต่ล่ะงานดำเนินไปในทิศทางเดรวมกัน

    ถูกใจถูกใจ

    • ไม่มีการอ้างอิง แหล่งที่มาของข้อมูล และ ข้อมูลที่เขียนมาน้อยมากค่ะ ควรจะอธิบายให้มากกว่านี้ นะคะ

      ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ(Organizing) เป็นการจัดระบบความสัมพันธ์ของคนและงานโดยออกแบบในรูปแบบภูมิองค์การแสดงตำแหน่ง อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่แน่นอนและชัดเจน การออกแบบโครงสร้างองค์การที่เหมาะสมนอกจากจะทำให้แตะล่ะหน่วยงานได้รับรู้บทบาท อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ถูกต้องและชัดเจนแล้วยังช่วยลดการทำงานที่ซับซ้อนและขจัดปัญหาความขัดแย้งอันเกิดขึ้นจากการประสานงานหรือการทำร่วมกัน ด้วยเหตุนี้การจัดองค์การที่เหมาะสมแสดงให้เห็นถึงการแบ่งแยกอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในภารกิจต่างๆได้อย่างชัดเจน ทำให้ลดความวุ่นวาย ช่วยให้บุคคลในหน่วยงานรับรู้ขอบเขตงานในหน่วยงานและมุ่งทำงานในหน้าที่และความรับผิดชอบนั้นให้บรรลุผมสำเร็จตามเป้าหมายองค์การ
    ประเภทของการจัดองค์การมี 2 ประเภทดังนี้
    1. องค์การที่เป็นทางการ(Information Organization) เป็นการจัดตั้งทีม หน่วยงาน แผนกงานและฝ่ายงานตามโครงสร้างองค์การ มีการกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์และวิธีการทำงานอย่างเป็นระบบ มีระเบียบแบบแผนชัดเจน มีการแจ้งให้บุคคลที่เข้ามาร่วมงานได้ทราบล่วงหน้าเกี่ยวกับโครงสร้าง อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ทั้งนี้เพื่อผลสำเร็จภายใต้จุดประสงค์ร่วมกัน
    2. องค์การที่ไม่เป็นทางการ(Information Organization) เป็นองค์การที่ถูกจัดตั้งขึ้นโดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ปฏิบัติงานร่วมกันในองค์การที่เป็นทางการ อาจเป็นการรวมตัวกันอย่างง่าย แบบหลวมๆไม่มีระเบียบแบบแผน กฎหรือเกณฑ์ใดๆมาบังคับใช้กับคนในกลุ่มหรืออาจรวมตัวกันอย่างเหนียวแน่นก็ได้
    ปัจจัยสำคัญที่ผู้บริหารต้องคำนึงในการจัดองค์การอาจแยกกล่าวได้ดังนี้
    1. โครงสร้างองค์การกับการวางแผน(Planning and Organization Structure) ในการออกแบบโครงสร้างองค์การจะต้องสร้างความสัมพันธ์ที่เป็นเหตุและผลกับแผนงานองค์การหรือแผนในอนาคตที่อาจกำหนดขึ้น
    2. โครงสร้างองค์การกับอำนาจ อำนาจหน้าที่(Power, Authority and Organization Structure) อำนาจหน้าที่เป็นสิทธิในการอำนวยการหรือสั่งการให้บุคคลอื่นดำเนินการตามที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผลสำเร็จ ผู้บริหารจะได้อำนาจหน้าที่มาโดยอัตโนมัติเมื่อเข้าดำรงตำแหน่งในองค์การ
    3. โครงสร้างกับเป้าหมายองค์การทางธุรกิจ(Organization Structure and Organization Goals) เป้าหมายองค์การมีอิทธิพลต่อการออกแบบโครงสร้างองค์การดังนั้นจึงต้องออกแบบโครงสร้างให้สนองต่อการปฏิบัติงานเพื่อผลต่อการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย
    4. โครงสร้างองค์การกับสภาวะแวดล้อมทางธุรกิจ(Organization Structure and Environment) สภาวะแวดล้อม ทางธุรกิจมีผลหรืออิทธิพลต่อการจัดโครงสร้างองค์กรเนื่องจากเป็นปัจจัยในอันดับต่อๆที่ผู้ออกแบบโครงสร้างองค์การต้องคำนึงถึง สภาพแวดล้อมทางธุรกิจอาจแยกพิจารณาได้ 2 ลักษณะดังนี้
    1. สภาพแวดล้อมภายนอก(External Environment) เป็นปัจจัยที่อยู่นอกเหนือการควบคุมและมีอิทธิพลต่อองค์การโดยอาจจะส่งผลให้องค์การเจริญเติบโตหรือล้มเหลวในการดำเนินงานก็ได้ สภาพแวดล้อมภายนอกที่สำคัญ ได้แก่ สภาพการเมือง สังคม
    2. สภาพแวดล้อมภายใน(Internal Environment) เป็นปัจจัยภายในองค์การ องค์การสามารถควบคุมได้ด้วยการใช้หลักการจัดการ สภาพแวดล้อมภายในมีอิทธิโดยอาจทำให้องค์การเจริญก้าวหน้าหรืออาจล้มเหลวได้ เช่น พนักงาน ผู้ถือหุ้น
    แหล่งอ้างอิง ชื่อหนังสือ หลักการจัดการ
    ชื่อผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนิวัช แก้วจำนง
    สำนักพิมพ์บริษัทนำศิลป์โฆษณา จำกัด พิมพ์ครั้งที่ 4 ปีที่พิมพ์ 2556

    ถูกใจLiked by 1 person

  • การจัดองค์การ หมายถึง การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างสายงานต่างๆ และบุคคลในองค์การโดยกำหนดภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้ชัดแจ้งเพื่อให้การประกอบการตามภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
    ทฤษฏีองค์การแบ่งเป็น 3 ทฤษฏี
    -ทฤษฏีดั้งเดิม
    -ทฤษฏีสมัยใหม่
    -ทฤษฏีสมัยปัจจุบัน
    หลักการจัดองค์การควรยึดหลัก 8 ประการ
    -วัตถุประสงค์
    -ความชำนาญเฉพาะอย่าง
    -การรวมอำนาจ
    -สายการบังคับบัญชาเอกภาพ
    -การบริหาร
    -การประสานงาน
    -อำนาจหน้าที่
    -ความรับผิดชอบ
    การจัดโครงสร้างขององค์การ จำแนกได้ 3 ประเภท โครงสร้างตามหน้าที่การงาน ตามสายงานหลัก
    -สายงานคณะที่ปรึกษา
    -สายงานคณะกรรมการ
    -สายงานอนุกร
    การจัดแบ่งงานในองค์การจำแนกได้ 4 ลักษณะ
    -การแบ่งตามกระบวนการ
    -การแบ่งตามสักษณะลูกค้า
    -การแบ่งตามลักษณะสถานที่หรือภูมิประเทศ
    สำหรับแผนภูมิองค์การจำแนกได้ 2 ประเภท
    -แผนภูมิหลัก
    -แผนภูมิเสริม
    ในการจัดองค์การนั้นจะต้องคำนึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่างๆและจัดให้เหมาะสมแก่สภาพการณ์ เพื่อให้บรรลุถึงประสิทธิภาพขององค์การ
    *ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ
    *ผู้เรียบเรียง ผศ.ศิริอร ขันธหัตถ์
    *พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ทิพยวสุทธิ์

    ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ หมายถึง การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างสายงานต่างๆ และบุคคลในองค์การโดยกำหนดภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้ชัดแจ้งเพื่อให้การประกอบการตามภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
    ทฤษฏีองค์การแบ่งเป็น 3 ทฤษฏี
    -ทฤษฏีดั้งเดิม
    -ทฤษฏีสมัยใหม่
    -ทฤษฏีสมัยปัจจุบัน
    หลักการจัดองค์การควรยึดหลัก 8 ประการ
    -วัตถุประสงค์
    -ความชำนาญเฉพาะอย่าง
    -การรวมอำนาจ
    -สายการบังคับบัญชาเอกภาพ
    -การบริหาร
    -การประสานงาน
    -อำนาจหน้าที่
    -ความรับผิดชอบ
    การจัดโครงสร้างขององค์การ จำแนกได้ 3 ประเภท โครงสร้างตามหน้าที่การงาน ตามสายงานหลัก
    -สายงานคณะที่ปรึกษา
    -สายงานคณะกรรมการ
    -สายงานอนุกร
    การจัดแบ่งงานในองค์การจำแนกได้ 4 ลักษณะ
    -การแบ่งตามกระบวนการ
    -การแบ่งตามสักษณะลูกค้า
    -การแบ่งตามลักษณะสถานที่หรือภูมิประเทศ
    สำหรับแผนภูมิองค์การจำแนกได้ 2 ประเภท
    -แผนภูมิหลัก
    -แผนภูมิเสริม
    ในการจัดองค์การนั้นจะต้องคำนึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่างๆและจัดให้เหมาะสมแก่สภาพการณ์ เพื่อให้บรรลุถึงประสิทธิภาพขององค์การ
    *ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ
    *ผู้เรียบเรียง ผศ.ศิริอร ขันธหัตถ์
    *พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ทิพยวสุทธิ์

    ถูกใจถูกใจ

    • ส่งงานซ้ำกันสองครั้ง

      ถูกใจถูกใจ

  • ความหมายและความสำคัญของการจัดองค์การ
    ตามกระบวนการจัดการที่ได้กล่าวไว้ในบทที่ 2 นั้น ได้แสดงให้เห็นว่าการจัดองค์การเป็นงานที่ดำเนินต่อเนื่องมาจากการวางแผน เป็นความพยายามที่จะแสดงให้เห็นถึงลักษณะของโครงสร้างองค์การที่จะช่วยให้แผนที่ได้จัดไว้ประสบความสำเ็จ ดังนั้นเมื่อกล่าวถึง การจัดองค์การ จึงหมายถึง ความพยายามที่ผู้บริหารกำหนดโครงสร้างขององค์การที่สามารถเอื้ออำนวย ให้แผนที่จัดขึ้นไปสู้สัมฤธิ์ผลที่ปราถนา
    ชื่อผู้แต่ง ผศ.ดร.พยอยม ตันมณี วงศ์สารศรี
    โรงพิมพ์พรานนกการพิมพ์

    ถูกใจถูกใจ

    • เขียนน้อยไปนะคะ ควรจะอธิบายให้มากกว่านี้นะคะ

      ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ Edgar Schein กล่าวว่าวัฒนธรรมองค์การหรือวัฒนธรรมของบริษัทคือระบบ(System)ของความเชื่อและค่านิยมที่ถูกยึดถือร่วมกัน พัฒนาขึ้นและกำหนดพฤติกรรมของสมาชิกในองค์การดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าวัฒนะธรรมองค์การก็คือสิ่งที่คอยเชื่อมโยงสมาชิกขององค์การอต่ล้ะคนเข้าด้วยกัน หลักการจัดการ 1. เรื่องราว คือเรื่องราวจะเล่ามาจากเหตุการณ์จริงซึ่งได้รับการเน้นย้ำและถูกสร้างจากค่านิยมบางอย่าง 2.วีรบุรุษ (Heroes)คือบุคคลผู้ที่เป็นเจ้าของความสำเร็จซึ่งสร้างค่านิยมขององค์การความสำเร็จทั้งในอดีตและปัจจุบัน 3.พิธีกรรม (Rituals)คือกิจกรรมและงานพิธีต่างๆทั้งที่เป็นและไม่เป็นแบบแผน ประเภทขององค์การ 1.องค์การแบบหวังผลกำไร(For-profit)หรือองค์การธุรกิจถูกสร้างขึ้นมาเพื่อสร้างรายได้และผลกำไรจากการสินค้าและบริการ 2.องค์การแบบไม่หวังผลกำไร(Non-profit)ผู้จัดการจะมองว่าเป็นนักบริหารองค์การแบบนี้อาจเป็นองค์การในภาครัฐหรืออาจเป็นองค์การในภาคเอกชน 3. องค์การแบบผลประโยชน์ตอบแทน(Mutual-benefit)จะมีการเรียกเก็บค่าสมาชิกหรือเงินบริจาคต่างๆโดยมีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือและรักษาผลประโยชน์ของสมาชิก

    ชื่อหนังสือ องค์การและการจัดการ
    ผู้เรียบเรียง ผศ.ศิริอร ขันธหัตถ์
    พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ทิพยวสุทธิ์

    ถูกใจถูกใจ

    • ควรเพิ่มคำอธิบาย ให้มากกว่านี้นะคะ

      ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ (Organizing) เป็นขั้นที่สองของกระบวนการจัดการ ที่มีความหมายสำคัญและเป้นอย่างยิ่งที่จะช่วยสร้างระเบียบแบบแผนให้เกิดขึ้นในองค์การในกรณีที่เป็นองค์การขนานเล็กลักษณะมีรูปแบบของงานไม่ยุ่งยากซับซ้อน ปัญหาอุปสรรคต่างๆมีไม่มากการดำเนินงานอาจไม่ยุ่งยากจึงไม่จำเป็นต้องมีข้อจำกัดในการจัดองค์การมากนัก แต่ถ้าเป็นองค์การขนานใหญ่ความยุ่งยากซับซ้อนในการบริหานงานมีมากซึ่งมักจะพบปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการปฏิบัติงานต่างๆ นานัปการ ดังนั้นองค์การจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดโครงสร้างของงาน อำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบให้สอดคล้องกับแผนงานที่กำหนดไว้
    : แหล่งอ้างอิง หนังสือหลักการจัดการ PRINCIPES OF MANAGEMENT ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิลาวรรณ รพีพิศาล จากสำนักพิมพ์ โรงพิมพ์วิจิตรหัตถกร พิมพ์ครั้งที่3 เลขทะเบียน 138358 วันที่ 3 ก.ย. 2550 เลขหมู่ 658 วห ฉ.2
    น.ส.จริยา ปะวันโน (9127)

    ถูกใจถูกใจ

    • ควรเพิ่มคำอธิบาย พร้อมยกตัวอย่างให้มากกว่านี้ นะคะ

      ถูกใจถูกใจ

  • การจัดองค์การ (Organizing) คือ กระบวนการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนงานและกิจกรรมต่างๆขององค์การเพื่อที่จะก่อให้เกิด การใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และ การจัดระเบียบกิจกรรมต่าง ๆ ในองค์การ และมอบหมายงานให้คนปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย การจัดองค์การที่ดี จะช่วยให้การบริหารการจัดการมีประสิทธิภาพได้เนื่องจาก
    1. ทำให้ทราบขอบเขต ความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่ต่าง ๆ
    2. ช่วยป้องกันการทำงานที่ซ้ำซ้อน
    3. ช่วยประสานงานในหน้าที่ต่าง ๆ ได้ดี
    4. ช่วยลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างพนักงานในองค์การได้
    5. สามารถแสดงให้เห็นตัวภาระหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน
    6. ทำให้มีระบบการสื่อสารตามสายการบังคับบัญชาที่ดี

    ทฤษฎีองค์การ
    ทฤษฎีองค์การอาจแบ่งได้เป็น 3 ทฤษฎีด้วยกันคือ
    1. ทฤษฎีดั้งเดิม (Classical organization theory) แนวความคิดทฤษฎีดั้งเดิม ได้วิวัฒนาการจากการปกครองแบบทหารจนมาถึงปลายศตวรรษที่ 19 ได้นักบริหารสร้างรูปแบบการบริหารในระบบราชการขึ้น คือ แมควีเบอร์ และการสร้างรูปแบบการบริหาร โดยใช้การจัดการทางวิทยาศาสตร์

    2. ทฤษฎีสมัยใหม่ (Neo-Classical organization theory) เป็นทฤษฎีที่พัฒนามาจากดั้งเดิม ทฤษฎีนี้มีหลักการว่า “คนเป็นปัจจัยสำคัญและมีอิทธิพลต่อการเพิ่มผลผลิตขององค์การ” โดยเน้นให้เห็นถึงความสำคัญของคนที่ทำหน้าร่วมกันในองค์การ ถือว่าองค์การประกอบไปด้วยบุคคลซึ่งทำงานโดยมีเป้าหมายร่วมกัน
    3. ทฤษฎีสมัยปัจจุบัน (Modern organization theory) ทฤษฎีนี้กล่าวว่าเป็นการศึกษารูปแบบขององค์การในปัจจุบันโดยเน้นที่การวิเคราะห์องค์การในเชิงระบบ (Systems Analysis of Organization)

    ประเภทขององค์การ (Types of Organization)
    1. องค์การแบบเป็นทางการ (formal organization) เป็นองค์การที่มีการจัดโครงสร้างอย่างเป็นระเบียบแบบแผนแน่นอน การจัดตั้งมีกฎหมายรองรับ
    2. องค์การแบบไม่เป็นทางการ (informal organization) เป็นองค์การที่รวมกันหรือจัดตั้งขึ้นด้วยความพึงพอใจและมีความสัมพันธ์กันเป็นส่วนตัว

    ประโยชน์ต่อองค์การ
    – การจัดองค์การที่ดีและเหมาะสม จะทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ
    – ทำให้งานไม่ซับซ้อน ไม่มีแผนงานมากเกินไป เป็นการประหยัดต้นทุนไปด้วย
    – องค์การสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ง่ายตามความจำเป็น

    *หนังสือ – หลักการจัดการ
    *ผู้แต่ง – ดร.อนิวัช แก้วจำนงค์
    *พิมพ์ที่ – บริษัท นำศิลป์โฆษณา จำกัด

    นางสาว นิชนันท์ ไสยกิจ (9124)

    ถูกใจLiked by 1 person

  • การจัดองค์การหมายถึง การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างส่วนงานต่างๆ และบุคคลในองค์การ โดยกำหนดภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้ชัดแจ้ง เพื่อให้การประกอบการตามภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
    มี 3 ทฤษฏี คือ
    1.ทฤษฏีดั้งเดิม
    2.ทฤษฏี สมัยใหม่
    3.ทฤษฏี สมัยปัจจุบัน
    มีประเภท5 ได้แก่
    1.โครงสร้างองค์การตามหน้าที่การงาน
    2.โครงสร้างองค์การตามสายงานหนัก
    3.โครงสร้างองค์การแบบคณะที่ปรึกษา
    4.โครงสร้างองค์การแบบคณะกรรมการการบริหาร
    5.โครงสร้างองค์การอนุกร
    ประโยชน์
    1.จะทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ
    2.เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและความอยู่รอด
    3.ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจและวางแผนดำเนินงานให้รวดเร็ว
    แหล่งอ้างอิง
    ชื่อหนังสือ : องค์การและการจัดการ
    ผู้แต่ง : ผศ.ศิริอร ขันธหัตถ์
    สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์
    ปีที่พิมพ์ : 2536
    มีนชนก เกิดเจริญ (9120)

    ถูกใจถูกใจ

    • ควรจะเพิ่มคำอธิบายให้มากกว่านี้นะคะ

      ถูกใจถูกใจ

  • เมนูนำทางความเห็น

    ใส่ความเห็น

    การจัดองค์การ Organizing ตรงกับความหมายในข้อใด

    ความหมายของการจัดองค์การ Organizingหมายถึงการจัดระเบียบงานจัดโครงสร้างการบริหารงานการประสานงานระหว่างบัคคลและหน่วยงานต่างๆอำนาจหน้าที่ในการบังคับบัญชากับความ รับผิดชอบของงาน ให้รู้ว่า - ใคร ทำงานอะไร (What) ใคร รายงานต่อใคร (Who) วัตถุประสงค์ของการจัดองค์การ

    แผนภูมิองค์การ(Organization Chart) แสดงให้เห็นถึงอะไรมากที่สุด

    โครงสร้างองค์การ ซึ่งเขียนแทนด้วยแผนภูมิองค์การ (organization chart) บ่งบอก ๆ ถึงวิธีการแบ่งงานขององค์การออกเป็นหน่วยงานย่อย ๆ ที่เรียกว่า การแบ่งแผนกงาน

    การจัดโครงสร้างองค์การตามหน้าที่การทำงานคือข้อใด

    โครงสร้างองค์การตามหน้าที่การงาน หมายถึง โครงสร้างที่จัดตั้งขึ้นโดยแบ่งไปตามประเภทหรือหน้าที่การทำงาน เพื่อแสดงให้เห็นว่าในแต่ละแผนกนั้นมีหน้าที่ต้องกระทำอะไรบ้างซึ่งผลดีก่อให้เกิดการได้คนมีความสามารถทำงานในแผนกนั้นๆทั้งยังฝึกบุคคลในแผนกนั้นๆให้มีความเชี่ยวชาญกับหน้าที่ของงานนั้นอย่างลึกซึ้ง สำหรับฝ่ายบริหารระดับสูง ...

    องค์การมีความหมายตรงตามข้อใด

    องค์การหมายถึง การนำเอาส่วนต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันมารวมกันอย่างมีระเบียบหรือเป็นการรวมกลุ่มกันอย่างมีเหตุผลของบุคคล กลุ่มหนึ่ง เพื่อเป็นศูนย์อำนวยการให้การดำเนินงานลุล่วงไปตามเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ โดยมีการใช้อำนาจการบริหารที่ชัดเจน มีการแบ่งงานและหน้าที่ มีลำดับขั้นของการบังคับบัญชาและความรับผิดชอบ