หลักการ ที่ สำคัญ ที่สุด ของสหกรณ์ คือ ข้อ ใด

��ѡ����ˡó� ��� ��͡�˹��Ӥѭ����ˡó�ء�ˡó��ͧ�ִ������Ƿҧ��Ժѵ����ҡ��Ѩ�غѹ�մ��¡ѹ 7 ��� �ѧ���

��ѡ��÷�� 1 ����Դ�Ѻ��Ѥ��·���仵��������Ѥ��

�ˡó���ͧ������觤�����Ѥ�㨷���Դ�Ѻ�ؤ�ŷ�����·������ö���ԡҢͧ�ˡó���������Ѻ�Դ�ͺ㹰ҹ���Ҫԡ�������Ҫԡ�»��Ȩҡ��áմ�ѹ�ҧ�� �ѧ�� ���ͪҵ� ������ͧ�����ʹ�

��ѡ��÷�� 2 ��äǺ�������Ҫԡ�����ѡ��ЪҸԻ��

�ˡó���ͧ���û�ЪҸԻ�� ���Ǻ����������Ҫԡ�������ǹ�������ҧ�秢ѹ㹡�á�˹���º����С�õѴ�Թ� ��������ʵ�ռ�������Ѻ���͡����繼��᷹��Ҫԡ ��ͧ�Ѻ�Դ�ͺ��������Ҫԡ��ˡó��
�����Ҫԡ���Է�㹡���͡���§��������ѹ (��Ҫԡ˹�觤�˹�����§)

��ѡ��÷�� 3 �������ǹ�����ҧ���ɰ�Ԩ����Ҫԡ

��Ҫԡ�ˡó�֧����ǹ����㹡��ŧ�ع (�������) ��ˡó�ͧ���ͧ���ҧ�����Ҥ�ѹ �������ǹ㹡�äǺ���������Թ�ع�ͧ�ˡó����Ƿҧ��ЪҸԻ�� �ع�ͧ�ˡó����ҧ���� ��ǹ˹�觵�ͧ�繷�Ѿ���Թ��ǹ����ͧ�ˡó� �»�����Ҫԡ�����Ѻ�ŵͺ᷹ (�����) ��ѵ�ҷ��ӡѴ����Թŧ�ع (���) ����˹������͹䢢ͧ����������Ҫԡ ��Ҫԡ����ö�Ѵ����Թ��ǹ�Թ�ͧ�ˡó������ѵ�ػ��ʧ��ѧ���
- ���͡�þѲ���ˡó����Ҩ�ѹ����繷ع���ͧ ������ҧ���¨е�ͧ����ǹ˹�觷������觡ѹ������- �ͺ᷹����Ҫԡ����Ѵ��ǹ�ͧ����ҳ��áԨ�����Ҫԡ��ӡѺ�ˡó�- ����ʹѺʹع�Ԩ������ҧ� ��������Ҫԡ��繪ͺ
��ѡ��÷�� 4 ��û���ͧ���ͧ��Ф����������
�ˡó���ͧ���÷���觾ҵ��ͧ ���ա�äǺ��������Ҫԡ �ҡ�ˡó�е�ͧ�բ�͵�ŧ�١�ѹ�Ѻͧ�������������֧˹��§ҹ�ͧ�Ѱ��Ŵ��� ���ͨе�ͧ�����Թŧ�ع������������Թ�ع��¹͡�ˡó� �ˡó��ͧ��зӡ�ôѧ����� ��������͹䢷��������������Ҫԡ���ѧ����ç������ӹҨ 㹡�äǺ����ˡó����Ƿҧ��ѪҸԻ������ˡó��ѧ����ç�����������

��ѡ��÷�� 5 ���������֡�� ��ý֡ͺ��������ʹ��

�ˡó�֧������֡����С�ý֡ͺ���������Ҫԡ ���᷹�ҡ������͡��駼��Ѵ��� ��о�ѡ�ҹ�����������ö����ǹ���¾Ѳ���ˡó������ҧ�ջ���Է�Լ� ��о֧������������Ҹ�óЪ� ��੾�����Ǫ���к�ôҼ��ӷҧ�����Դ�����ͧ�س�ѡɳ���Фس����ª��ͧ����ˡó�

��ѡ��÷�� 6 ���������������ҧ�ˡó�

�ˡó�����ö����ԡ������Ҫԡ���ҧ�ջ���Է�Լ��٧�ش�����������ҧ�������������袺ǹ����ˡó�����������͡ѹ��дѺ��ͧ��� �дѺ�ҵ� �дѺ�����Ҥ����дѺ�ҹҪҵ�

��ѡ��÷�� 7 ����������ҷõ�ͪ����

�ˡó�֧���Թ�Ԩ��õ�ҧ� ���͡�þѲ�Ҫ��������դ�����ԭ����׹�����º�·�������Ҫԡ��繪ͺ
หลักการ ที่ สำคัญ ที่สุด ของสหกรณ์ คือ ข้อ ใด
��ª���� �ӻ�
��иҹ�������
หลักการ ที่ สำคัญ ที่สุด ของสหกรณ์ คือ ข้อ ใด

�������к��ˡó��͹�Ź�
หลักการ ที่ สำคัญ ที่สุด ของสหกรณ์ คือ ข้อ ใด
หลักการ ที่ สำคัญ ที่สุด ของสหกรณ์ คือ ข้อ ใด
�ѵ�Ҵ͡�����Թ�ҡ�����Ѿ��   ���¡��� 1 �ʹ�ҷ1.75   1 �ʹ - 1 ��ҹ�ҷ2.00   1 ��ҹ�ҷ ����2.25�Թ�ҡ��Ш�   �ҡ��Ш� (��������)2.50�Թ���   �Թ���ء������5.75�Ţ�ѭ�ո�Ҥ��
�ͧ�ˡó���.��ا�� �ҢҾ����
    512-6-00937-0�.��ا෾ �ҢҾ����
    295-301909-4�.����Թ �ҢҾ����
    0-2002437324-1�.��ԡ��� �ҢҾ����
    209-1-03805-9�.���. �ҢҾ����
    0-20051843800***��Ҫԡ����͹�Թ�����
���ͪ����Թ��������������
��ҽҡ�����Ѿ��
�����Ҫԡ����¡���͹
���Ѿ������ 054-431994
��������ѡ�ҹ����͹
�������������´����͹
���ѧLine �ˡó�
ID Line : @pyocoop�ӹǹ����͹�Ź� : 3
�ӹǹ�����Ҫ�:2297006

������Ѻ�ѹ��� 1��.�.2552

หลักคิดข้อนี้  คือ    คุณธรรมนำสหกรณ์ สังคมแผ่นดินธรรมนำซึ่งความเจริญ อย่างมั่นคงยั่งยืน    ซึ่งหมายถึงเป้าหมายแห่งสังคมสหกรณ์ทั้ง   3   ข้อนี้  เทียบเคียงได้กับกระบวนการสอนหลักธรรมของพุทธศาสนาที่กำหนดว่า

หลักการ ที่ สำคัญ ที่สุด ของสหกรณ์ คือ ข้อ ใด

สลับเนวิเกชั่น

  • Home
  • เกี่ยวกับสหกรณ์
    • โครงสร้างสหกรณ์
    • คณะกรรมการ
    • ผู้ตรวจสอบกิจการ
    • เจ้าหน้าที่สหกรณ์
    • คณะผู้จัดตั้งสหกรณ์
    • วิสัยทัศน์
    • หลักการสหกรณ์
    • ประวัติความเป็นมา
    • ประโยชน์ของการเป็นสมาชิกสหกรณ์
  • บริการสหกรณ์
    • การถือหุ้น
    • บริการเงินฝาก
    • เงินกู้สามัญ
    • เงินกู้ฉุกเฉิน
    • สวัสดิการสมาชิก
      • สวัสดิการรับขวัญทายาทใหม่
      • สวัสดิการเพื่อสงเคราะห์สมาชิกเสียชีวิต
    • สมัครสมาชิก
  • แบบฟอร์มDownload
    • ใบสมัครสมาชิก
    • คำขอกู้สามัญ
    • หนังสือค้ำประกันเงินกู้สามัญ
    • ใบลาออก
    • รับเงินสงเคราะห์สมาชิกเสียชีวิต
    • รับขวัญยาทใหม่
    • ใบมอบอำนาจ
    • เปลี่ยนแปลงค่าหุ้น
    • แจ้งความประสงค์ต่างๆ
    • หนังสือยินยอมหักเงินอบจ.
  • ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์
    • พระประวัติพระบิดาแห่งสหกรณ์ไทย
    • ประวัติสหกรณ์ไทย
  • ข่าวสารและกิจกรรม
  • ติดต่อเรา
  • แจ้งเงินโอนเข้าสหกรณ์

หลักการสหกรณ์

หลักการสหกรณ์ คือ "แนวทางที่สหกรณ์ยึดถือปฏิบัติเพื่อให้คุณค่าทางสหกรณ์เกิดผลเป็นรูปธรรม" ซึ่งประกอบด้วยการที่สำคัญรวม 7 ประการ กล่าวคือ


หลักการที่ 1 การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง

(1) พึงตระหนักว่าการเข้าและออกจากการเป็นสมาชิก จะต้องเป็นไปโดยความสมัครใจของบุคคล (คำว่า "บุคคล" หมายถึง ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล) ไม่ใช้ถูกชักจูง โน้มน้าว ล่อลวง บังคับ ข่มขู่จากผู้อื่น
(2) อย่างไรก็ดี การกำหนดคุณสมบัติสมาชิกของสหกรณ์ต่างๆ เพื่อให้ได้บุคคลที่เข้ามาเป็นสมาชิกแล้วสามารถร่วมกันดำเนินกิจกรรมในสหกรณ์ได้ และไม่สร้างปัญหาความเดือดร้อนให้แก่เพื่อนสมาชิกและสหกรณ์ ไม่ถือว่าขัดกับหลักการสหกรณ์ข้อนี้
(3) สมาชิกสมทบนั้น ควรมีแต่เฉพาะกรณีของสหกรณ์บางประเภทที่มีลักษณะพิเศษและจำเป็นเท่านั้น ไม่ควรให้มีในสหกรณ์ทั่วไปหรือทุกประเภท เพราะตามปกติสมาชิกสมทบมาจากบุคคลซึ่งขาดคุณสมบัติที่จะเป็นสมาชิกธรรมดา หากสหกรณ์ใดรับสมาชิกสมทบจำนวนมาก ก็อาจกระทบต่อการส่งเสริมผลประโยชน์ของสมาชิกธรรมดาได้แม้ว่ากฎหมายจะได้ห้ามมิให้สมาชิกสมทบมีสิทธิบางประการก็ตาม

หลักการที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย 

พึงตระหนักว่าเป็นหน้าที่ของสมาชิกทุกคนที่จะต้องร่วมแรงกายใจ และสติปัญญาในการดำเนินการและควบคุมดูแลการดำเนินงานของสหกรณ์ของสหกรณ์ตามวิถีทางประชาธิปไตย เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยผ่านช่องทางหรือองค์กรต่างๆ เช่น คณะกรรมการดำเนินการ ผู้ตรวจสอบกิจการและที่ประชุมใหญ่

หลักการที่ 3 การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก

(1) หลักการสหกรณ์ข้อนี้ มุ่งเน้นให้สมาชิกทุกคนพึงตระหนักว่าบทบาทที่สำคัญของตนคือ การที่ต้องเป็นทั้งเจ้าของและลูกค้าในคนเดียวกัน (Co-owners and Customers) จึงต้องทำหน้าที่เป็นผู้สมทบทุน ผู้ควบคุม และผู้อุดหนุน หรือผู้ใช้บริการของสหกรณ์ มิใช่มาเป็นสมาชิกเพียงเพื่อมุ่งหวังได้รับประโยชน์จากสหกรณ์เท่านั้น
(2) ในการจัดสรรกำไรสุทธิเพื่อความเป็นธรรมแก่สมาชิก ส่วนหนึ่งต้องกันไว้เป็นทุนสำรอง ซึ่งจะนำไปแบ่งกันมิได้ แต่เป็นทุนเพื่อพัฒนาสหกรณ์ของพวกเขาเอง ถือว่าเป็นทุนทางสังคม นอกนั้นอาจแบ่งเป็นเงินปันผลในอัตราจำกัด และเป็นเงินเฉลี่ยคืน ตามส่วนแห่งธุรกิจ

หลักการที่ 4 การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ

(1) สมาชิก กรรมการและพนักงานสหกรณ์รวมทั้งหน่วยงานส่งเสริมสหกรณ์ต้องสำนึกและตระหนักอยู่เสมอว่าสหกรณ์เป็นองค์การช่วยตนเอง และปกครองตนเอง เพราะฉะนั้นสหกรณ์ต้องเป็นอิสระในการตัดสินใจ หรือทำสัญญาใด๐ ตามเงื่อนไขที่สหกรณ์ยอมรับได้กับบุคคล
ภายนอกหรือรัฐบาล
(2) การรับความช่วยเหลือหรือสนับสนุนจากรัฐ หรือบุคคลภายนอกไม่ขัดกับหลักความเป็นอิสระของสหกรณ์ หากผู้ให้ความช่วยเหลือมุ่งหมายให้สหกรณ์ช่วยเหลือตนเองได้ และควบคุมตามหลักประชาธิปไตย รวมทั้งธำรงไว้ซึ่งความเป็นตัวของตัวเองของสหกรณ์

หลักการที่ 5 การศึกษา ฝึกอบรมและสารสนเทศ

(1) หลักการข้อนี้เป็นจุดอ่อนของสหกรณ์ในประเทศไทยทุกระดับ ทั้งสหกรณ์ขั้นปฐมและสหกรณ์ขั้นสูง เพราะขาดแผนแม่บทในการพัฒนาการศึกษาทางสหกรณ์ให้เป็นบทบาท และความรับผิดชอบของขบวนการสหกรณ์อย่างแท้จริง ทั้งๆ ที่ได้รับเริ่มให้จัดตั้งกองทุนสะสม
จัดสหภาพสหกรณ์จากกำไรของสหกรณ์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2492 และแม้จะมีการจัดตั้งสันนิบาต สหกรณ์แห่งประเทศไทยและมีชุมนุมสหกรณ์ระดับชาติบ้างแล้วส่วนราชการที่ทำหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ก็ยังคงดำเนินการให้การศึกษาและฝึกอบรมทางสหกรณ์แทบจะเรียกได้ว่า
ซ้ำซ้อนกับขบวนการสหกรณ์โดยไม่มีเป้าหมายที่ชัดเจนให้ขบวนการสหกรณ์สามารถรับผิดชอบการให้การศึกษาและฝึกอบรมทางสหกรณ์ได้ด้วยตนเองในที่สุดโดยมีหน่วยงานของรัฐทำหน้าที่ให้การสนับสนุนอย่างเพียงพอตามความจำเป็นและเน้นการฝึกอบรมข้าราชการให้ปฏิบัติหน้าที่ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
(2) การศึกษาฝึกอบรมและสารสนเทศมีความมุ่งหมายและเน้นกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้
          - การศึกษามุ่งให้สมาชิกและบุคคลทั่งไปซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่จะเป็นสมาชิกในอนาคต มีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับสหกรณ์ รวมทั้งมีความสำนึก และตระหนักในสิทธิและหน้าที่ของสมาชิก หรือให้เป็นผู้มีจิตวิญญาณสหกรณ์
          - การฝึกอบรมมุ่งให้กรรมการ ผู้จัดการและพนักงานสหกรณ์ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ รวมทั้งความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของตน
          - ส่วนสารสนเทศนั้นมุ่งให้บุคคลทุกกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับเยาวชนปละผู้นำด้านความคิดเป็น เช่น ผู้นำชุมนุม นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้นำองค์กร พัฒนาชุมชน ฯลฯ โดยเน้นการติดต่อสื่อสาร 2 ทาง
(3) หลักสูตรและเนื้อหาของการศึกษาอบรม ควรครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
และวัฒนธรรม

หลักการที่ 6 การร่วมมือระหว่างสหกรณ์

(1) แท้จริงการร่วมมือระหว่างสหกรณ์เป็นหลักการเดียวกันกับการร่วมมือระหว่างบุคคลธรรมดาในการจัดตั้งสหกรณ์นั่นเอง ซึ่งจะก่อให้เกิดการประหยัดด้วยขนาด มีอำนาจการต่อรองสูงขึ้น และนำไปสู่การรับใช้สมาชิกอย่างมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น
(2) การร่วมมือระหว่างสหกรณ์อาจทำได้ทั้งในแนวนอนและแนวตั้ง ในแนวนอนสหกรณ์ทุกสหกรณ์ไม่ว่าประเภทเดียวกันหรือไม่ สามารถร่วมมือกันได้ในทุกระดับเพื่อประโยชน์สูงสุดของสมาชิกและขบวนการสหกรณ์ในแนวตั้งสหกรณ์ท้องถิ่นประเภทเดียวกันควรรวมตัวกันทางธุรกิจเป็นชุมนุมสหกรณ์ระดับภูมิภาค หรือระดับประเทศ และระดับระหว่างประเทศ และสหกรณ์ทุกประเภท ทุกระดับ ทุกสหกรณ์ควรรวมตัวกันเป็นองค์การสหกรณ์สูงสุด (Apex Organization) เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมด้านอุดมการณ์ การศึกษา การฝึกอบรม การส่งเสริมแนะนำ การกำกับดูแล การตรวจสอบ การวิจัย และการพัฒนา ฯลฯ
(3) วัตถุประสงค์สำคัญของการร่วมมือระหว่างสหกรณ์ คือ เพื่อให้สหกรณ์สามารถอำนาจผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจ เพราะฉะนั้นสหกรณ์ท้องถิ่นแต่ละสหกรณ์ และสหกรณ์ขั้นสูงต้องเป็นสหกรณ์ที่มีความเข้มแข็งและยั่งยืน มีชีวิตชีวา (Viable & Sustainable) และร่วมมือกันในลักษณะของ "ระบบรวม" หรือเป็นเอกภาพ

หลักการที่ 7 การเอื้ออาทรต่อชุมชน

(1) สหกรณ์เป็นองค์การทางเศรษฐกิจและสังคม และเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนที่สหกรณ์ตั้งอยู่ เพราะฉะนั้น การดำเนินงานของสหกรณ์ต้องเป็นไปเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนนั้นๆ ซึ่งหมายความว่าเป็นการพัฒนา ที่ไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ หรือเป็นการพัฒนาที่สนองความต้องการและความใฝ่ฝันของคนรุ่นปัจจุบัน โดยไม่ทำลายโอกาส ความสามารถ และอนาคตของคนรุ่นหลัง
(2) เนื่องจากสมาชิกสหกรณ์ก็เป็นสมาชิกของชุมชนนั้นเอง สหกรณ์จึงควรมีส่วนช่วยเหลือในการพัฒนาชุมชนนั้นแบบยั่งยืน

  • ก่อนหน้า
  • ต่อไป

หลักการสำคัญที่สุดของสหกรณ์คือข้อใด *

1. การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง 2. การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย 3. การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก 4. การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ

หลักการของสหกรณ์คืออะไร

สหกรณ์เป็นองค์การประชาธิปไตยที่ควบคุมโดยสมาชิก ซึ่งมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการกำหนดนโยบาย และการตัดสินใจของสหรณ์ผู้ปฏิบัติงานในฐานะผู้แทนจากการเลือกตั้งต้องรับผิดชอบต่อบรรดาสมาชิกในสหกรณ์ปฐมสมาชิกมีสิทธิ์ออกเสียงเท่ากัน (คนหนึ่งมีหนึ่งเสียง) และในสหกรณ์ระดับอื่นก็จัดให้ดำเนินการตามแนวทางประชาธิปไตย

ข้อใดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดสหกรณ์

มูลเหตุการจัดตั้งสหกรณ์ในประเทศไทยนั้น สืบเนื่องมาจากชาวนาในปลายสมัยรัชกาลที่ 5 ส่วนมากมีฐานยากจนและมีหนี้สินล้นพ้นตัว การทำนาในขณะนั้นต้องใช้ทุนรอนในการผลิตมากขึ้นกว่าที่เคยทำมาด้วยแต่เดิมการค้าขายยังไม่เจริญก้าวหน้าชาวนาของเราส่วนมากจึงเพียง

สหกรณ์ยึดหลักอะไร

สหกรณ์ยึดมั่นในคุณค่าของการพึ่งพาตนเอง ความรับผิดชอบตนเองการเป็นประชาธิปไตย การมีสิทธิทัดเทียมกัน ความเที่ยงธรรมและความสามัคคีโดยมีสมาชิกที่เชื่อมั่นในคุณค่าทางจริยธรรมของความซื่อตรง ความโปร่งใส ความรับผิดชอบต่อสังคมและความเอื้ออาทรต่อผู้อื่น ตามแบบแผนที่สืบทอดต่อกันมาจากผู้ริเริ่มการสหกรณ์ หลักการสหกรณ์