หลักฐานที่สําคัญที่สุดที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์สุโขทัยคืออะไร


          �ѧ��Ѵ��⢷�� �繷�����ҳҨѡ��á�ͧ���ҵ�������͡��� 700 �շ���ҹ�� ����� "��⢷��" �Ҩҡ���ͧ�Ӥ�� "�آ+�ط��" �դ���������� "�����س��觤����آ " ����ѵԢͧ��⢷�����������ҳ  �.�. 1800 ����;������չ�ǹӶ� ��кԴ���觾�͢ع�����ͧ�黡��ͧ��⢷�«���ѧ�繻�����Ҫ�ͧ��������鹵�͢����Ҵ�ŭ�Ӿ������ǧ�ҡ�ҳҨѡâ�� ����;������չ�ǹӶ���鹾�Ъ����͢ع�ҧ��ҧ�����о�͢ع�����ͧ������ͧ�Ҵ���ִ���ͧ�׹������ҧ���ͧ��⢷�¢�����Ҫ�ҹ� ����Ҿ�͢ع�ҧ��ҧ������ʴ稢�鹤�ͧ�Ҫ����зç��й����� ��͢ع����Թ��ҷԵ�� 

          ����¾�͢ع������˧����Ҫ �������ͧ��������ͧ��͢ع����Թ��ҷԵ�� �ҳҨѡ���⢷��������͡仡��ҧ��ҧ��ͺ�����������㹻Ѩ�غѹ��ͺ��� ��ҹ���ͧ��ԭ����˹�ҷء��ҹ��駴�ҹ��û���ͧ ��þҳԪ�� ������ ��ʹ� �����Ż�Ѳ��������ླ� ��ѡ�ҹ�Ӥѭ��������Һ����ͧ���ͧ��⢷���ҡ��� ��� ���Ҩ��֡����͢ع������˧����Ҫ�ô���������֡�ѡ������������ �.�. 1826

          ����Ҩ��֡����Ƕ֧������ԭ������ͧ�ͧ�ҳҨѡ���⢷������¾�͢ع������˧����Ҫ������ҳ�ࢵ���ҧ��ҧ ����˹�ͨô���ͧ��� ��ҹ �����ǧ��кҧ �����ô�����ո����Ҫ ��ȵ��ѹ�͡�ô���ͧ���§�ѹ��� ��з�ȵ��ѹ���ô���ͧ˧��Ǵ� ��û���ͧ��ҹ���ͧ���к���ͻ���ͧ�١ ��ЪҪ��դ���������� ���Է�������Ҿ�ѧ�Ө��֡������ "..����ͪ��Ǿ�͢ع������˧ ���ͧ��⢷�¹��� 㹹���ջ�� 㹹��բ��� ������ͧ����Ҩ�ͺ ���� �ٷ�ҧ���͹�٧���令�Ң�����仢�� �èѡ����Ҫ�ҧ ��� �èѡ�������� ��� �èѡ�������͹��ҷͧ ��� �����˹���ʅ"

          ����¹�鹪����⢷�»�Сͺ�Ҫվ��ҹ�ɵá��� ���ա�����ҧ���͹����Ѻ�ѡ�������������˹����� ���¡��� "�ӹ������ǧ" ��⢷�������ͧ�ٹ���ä����С�ü�Ե����ͧ���ª��������¡��� "����ͧ�ѧ��š" �觢���ѧ��ҧ����� �� ������� �Թⴹ���� ��к������� �͡�ҡ����ѧ�繡�ä���Թ��Ҩҡ����Ȩչ �� ���ª����м����� ���͢��㹻���������令�Ң���š����¹�Ѻ��ҧ����ȴ���
         ��ѡ�ҹ����з�͹�����繶֧������ԭ�ҧ��Ż�Ѳ������ͧ��⢷�� �������ѵԷҧʶһѵ¡��� ������Ѻ��ú�óТ�����ط�ҹ����ѵ���ʵ����⢷�� �ط�ҹ����ѵ���ʵ��
����Ѫ����� ������Ѻ��äѴ���͡�ҡͧ�����֡���Է����ʵ������Ѳ���������˻�ЪҪҵ�������ô��š㹻վط��ѡ�Ҫ 2534

          ����ҳ �.�. 1890 ��ا�����ظ�����ӹҨ�ҡ�����С������ٹ���ҧ��觡�û���᷹ͧ��⢷�� ����⢷�¡��ѧ�վ����ҡ�ѵ���컡��ͧ�Դ��͡ѹ���ա 2 ���ͧ��֧����Ҫǧ����⢷����������ҡѺ�ҳҨѡá�ا�����ظ�� ����͡�ا�����ظ����������Ҥ��駷�� 2 ��кҷ���稾�оط��ʹ��Ҩ����š����Ҫ��觡�ا�ѵ���Թ����ô��������ͧ��⢷�·���ҹ�ҹ� (��ҹ���˹�) ���������� ��觡��� �ѧ��Ѵ��⢷��㹻Ѩ�غѹ �ç���¼�餹�ҡ��⢷�� ������ͧ����ҧ��觵��ѹ�͡�ͧ�����������;.�. 2336 ����ҧ�ҡ���ͧ��⢷�·�����Ҫ�ҹ� 12 �������� ����Ҫ����㹤��駹����������� ���ͧ��⢷�������ͧ���� ����ռ�餹�ͨе������ѡ�����鹨ҡ����ء�ҹ�ͧ������Т���֡��� ���

          ������ѹ��� 1 ����¹ �.�. 2475 �ҧ�Ҫ���������¹��������͸ҹ��� �������⢷�¸ҹ� ��鹡Ѻ�ѧ��Ѵ���ä�š ���֧�.�. 2482 ��¡�������⢷�¸ҹ� ����� �ѧ��Ѵ��⢷�� ���������

         ��⢷�� �繴Թᴹ��觤����ç�Ӷ֧ʹյ�����觤����Ҥ����㨢ͧ���·�駪ҵ� ����Ӥѭ���е�ͧ���֡�֧����

          -   ���Ҫ�ҹ�����á�ͧ��������ҳ�ࢵ���ҧ�˭����ŷ���ش

          -  �繴Թᴹ�ͧ�����ҡ�ѵ��������Ҫ���ͧ���á�ͧ����� ��� ��͢ع������˧����Ҫ

          -  �����觡��Դ�������� �����ó��������á�ͧ�¤�� "�����Ծ����ǧ"

         -  ���ؤ�á������դ�������ѹ��ҧ�Ҫ����աѺ��ҧ�����

         -  �����觡��Դ��Ż�Ѳ�������������������ؤ�ͧ�ͧ��Ż���

         -  �����觡��Դ�ҹ�ص��ˡ�������ͧ��鹴Թ�ҷ���ժ������§ ��� "����ͧ�����ѧ��š"

          ���Ҩ��֡����ѡ�ҹ���ҧ˹�觷���þ��������ҳ���ҧ������Ͷ��·ʹ����ͧ������͹ت������ѧ���Һ����ͧ����Դ����ʹյ㹪�ǧ���ҷ���ա�è��֡���ҹ��� �͡�ҡ������Ҩ��֡�ѧ����ѡ�ҹ�Ӥѭ���ҧ˹��㹡���֡���Ԫһ���ѵ���ʵ�������ҳ��� ��èѴ�ӴѺ�����Ӥѭ�ͧ��ѡ�ҹ����͡�����ҧ�ԧ��� ��͡ѹ������Ҩ��֡���͡��â����Ż������ (primary source) ����դس�������ҧ�ԧ��
          ���Ҩ��֡��ҷ���ش��辺㹻������ ��ҷ������ѡ�ҹ�ҧ�ѡ�Ҫ��ҡ�������¤�� ���֡�ҹ��� ������ҹ��� �������ѭ����� �ѧ��Ѵ��Ҩչ���� ���ҧ���㹻վط��ѡ�Ҫ 1180 ���֡��辺�����㹻���������ѡ�õ�ҧ� �ѹ �� �ѡ�û����� �ѡ���ͭ��ҳ �ѡ�â����ҳ 
          ���֡��褹�·Ӣ�鹻�ҡ���ѡ�ҹ㹵鹾ط�ȵ���ɷ�� 19 ����ͤ��¡�͵���ҳҨѡ���⢷�¢���ᶺ����������� ��͢ع������˧����Ҫ ��ѵ������ͧ���� 3 ����Ҫǧ����⢷�����д�ɰ��������¢��㹻վط��ѡ�Ҫ 1826 ������������Ҩ��֡��͢ع������˧����Ҫ (���Ҩ��֡��ѡ��� 1) �繨��֡�ѡ���·����ҷ���ش ���������ѡɳТͧ�ٻ�ѡ���·�����㴨������� �����Ҩ��龺���֡�ѡ���¨ӹǹ�ҡ㹷ء�Ҥ�ͧ������� ����ѡ�ҹ��ä鹾���ҡ���� ���֡����ҹ�����������������ҧ�ط�ȵ���ɷ�� 20 ŧ�ҷ����� �ٻ�ѡ����������⢷���������Ẻ�ͧ�ٻ�ѡ���·��������»Ѩ�غѹ 
            ���֡�ٻ�ѡ�����¾�͢ع������˧����Ҫ�����Ѳ�ҡ���繨��֡�ٻ��ҧ� ��� 

ประวัติและความสำคัญ

หลักฐานที่สําคัญที่สุดที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์สุโขทัยคืออะไร
 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เสด็จมาทรงประกอบพิธีเปิดอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย

ก่อนกำเนิดแคว้นสุโขทัย
            บริเวณที่ราบตอนล่างของลุ่มแม่น้ำยม ปิง น่าน ที่ราบลุ่มแม่น้ำเมย และที่ราบตอนบนของแม่น้ำป่าสัก เคยเป็นที่ชุมนุมของบ้านเมืองในแคว้นสุโขทัย ซึ่งเจริญรุ่งเรืองอยู่ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19-21 บริเวณดังกล่าวนี้อยู่ระหว่างอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่และเจริญมาก่อน นั่นคือ อาณาจักรพุกามทางด้านตะวันตก และอาณาจักรเขมรทางด้านตะวันออก
           หลักฐานก่อนกำเนิดแคว้นสุโขทัย มีทั้งศิลาจารึกและโบราณสถานเป็นเครื่องสนับสนุนความเป็นแว่นแคว้นที่ปรากฏขึ้นเมื่อราวกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ระบุว่าดินแดนสุโขทัยมีผู้คนเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ดังปรากฏหลักฐานเครื่องมือหินที่เขาเขน เขากา อำเภอศรีนคร โครงกระดูกมนุษย์ที่บ้านบึงหญ้า อำเภอคีรีมาศ และโครงกระดูกมนุษย์ที่บ้านวังหาด อำเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย ชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์เหล่านี้ อาจอยู่ต่อเนื่องกันและตั้งเป็นบ้านเมืองขึ้นในเวลาต่อมา จนกระทั่งถึงประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 เป็นต้นมา ได้มีการติดต่อกับดินแดนอื่นแถบบริเวณภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีพื้นฐานทางวัฒนธรรมแบบทวารวดีโดยได้พบโบราณวัตถุที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันได้แก่ การค้นพบลูกปัด เครื่องมือเครื่องใช้เหล็ก สำริด เหรียญเงินที่มีรูปพระอาทิตย์ รวมทั้งโครงกระดูกมนุษย์ซึ่งพบร่วมกับแท่งดินเผามีลวดลาย ที่วัดชมชื่น ในเขตเมืองเก่าศรีสัชนาลัย
           การค้นพบโบราณสถานในศิลปะเขมรซึ่งตั้งอยู่บนภูเขาเตี้ย ๆ ลูกหนึ่ง ในแถบบ้านนาเชิง อำเภอคีรีมาศ ที่เรียกกันว่า "ปรางค์ปู่จา" เป็นหลักฐานการเข้ามาของวัฒนธรรมเขมรโบราณที่สำคัญ การแพร่กระจายของวัฒนธรรมเขมรปรากฏเป็นระยะต่อเนื่องเรื่อยมา นับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 17 จนถึงพุทธศตวรรษที่ 18 หลักฐานโบราณสถานที่เด่นชัดได้แก่ ศาลตาผาแดง ในเขตเมืองเก่าสุโขทัย ซึ่งเป็นโบราณสถานร่วมสมัยกับสมัยบายน ในศิลปะเขมร ราวพุทธศตวรรษที่ 18 เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในอาณาจักรเขมร เมื่อพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 หันมานับถือพุทธศาสนาลัทธิมหายานและถือเป็นศาสนาหลักในราชอาณาจักรของพระองค์ การสร้างศาสนสถานซึ่งแต่เดิมประดิษฐานรูปเคารพในศาสนาฮินดูเริ่มเปลี่ยนแปลงไป มีการนำเรื่องราวทางพุทธศาสนามาประดับสถาปัตยกรรมและใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแทน ลักษณะดังกล่าวนี้ยังปรากฏตามศาสนสถานในศิลปะเขมรที่พบในประเทศไทย ที่สร้างขึ้นในระยะเวลาเดียวกันหลายแห่ง เช่น ที่ปรางค์สามยอด กับปรางค์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ที่จังหวัดลพบุรี และที่ปราสาทวัดพระพายหลวงเมืองเก่าสุโขทัย เป็นต้น

เมืองสุโขทัย
         ศิลาจารึกหลักที่ 2 ซึ่งพบอยู่ในอุโมงค์วัดศรีชุมทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือนอกเมืองสุโขทัย ได้ให้เรื่องราวเกี่ยวกับสุโขทัยในระยะต้นว่า เมื่อพ่อขุนศรีนาวนำถมเจ้าเมืองสุโขทัยสิ้นพระชนม์ลง ขอมสบาดโขลญลำพงได้เข้าครอบครองเมืองสุโขทัย พ่อขุนผาเมืองโอรสพ่อขุนศรีนาวนำถมที่ครองเมืองราด ได้ชักชวนพระสหายคือพ่อขุนบางกลางหาว เข้าร่วมชิงเมืองสุโขทัยกลับคืนมาได้ แต่พ่อขุนผาเมืองกลับยกเมืองสุโขทัยของพระบิดา พร้อมกับได้มอบพระขรรค์ชัยศรีและพระนามศรีอินทรบดินทราทิตย์ของพระองค์ให้กับพระสหาย พ่อขุนบางกลางหาวจึงมีพระนามเป็นที่รู้จักกันว่าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ได้ปกครองกรุงสุโขทัยเป็นต้นราชวงศ์สุโขทัยสืบมา
        เมื่อสิ้นพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนบานเมืองโอรสองค์ใหญ่ได้ปกครองต่อมา ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าในระยะต้นนี้ศูนย์กลางของเมืองยังคงอยู่ในบริเวณวัดพระพายหลวง ซึ่งมีพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมและมีคูน้ำคันดินล้อมรอบ หรือย้ายมาที่เมืองใหม่ที่มีวัดมหาธาตุเป็นศูนย์กลางแล้ว แต่เมื่อพ่อขุนรามคำแหงพระอนุชาได้ขึ้นปกครองสุโขทัยต่อมา ข้อมูลจากศิลาจารึกหลักที่ 1 บอกให้ทราบว่าได้ย้ายเมืองมาอยู่ตรงที่มีวัดมหาธาตุเป็นศูนย์กลางแล้ว ศิลาจารึกหลักที่ 1 ได้กล่าวถึงความเกรียงไกรของพ่อขุนรามคำแหงไว้มากมาย พระองค์ทรงเป็นนักรบผู้ปรีชาสามารถเอาชนะขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด ตั้งแต่พระชนมายุได้ 19 พรรษา อาณาเขตของแคว้นสุโขทัยในสมัยนี้แผ่ขยายไปถึงเมืองหลวงพระบางและสุดแหลมมลายู ในทางตะวันตกติดเขตแดนเมาะตะมะ   อาณาเขตที่กว้างใหญ่นี้นักวิชาการเชื่อว่า เป็นความสัมพันธ์ของเมืองสุโขทัยกับบรรดาเมืองน้อยใหญ่เหล่านี้ในลักษณะบ้านพี่เมืองน้อง
         พ่อขุนรามคำแหงทรงนำพุทธศาสนาแบบเถรวาทที่กำลังเจริญอยู่ที่นครศรีธรรมราช เข้ามาเผยแผ่ที่สุโขทัย อันนับเป็นการเปลี่ยนแปลงความเชื่อความนับถืออย่างใหม่ให้แก่คนสุโขทัย พระองค์ทรงโปรดให้มีการฟังเทศน์ในวันธรรมสวนะ ศิลาจารึกได้ให้ภาพความเป็นผู้นำของพ่อขุนรามคำแหงทั้งในทางโลกและทางธรรม กล่าวคือทรงมีความสามารถในการเป็นนักรบที่ปกครองไพร่ฟ้าให้มีความเป็นอยู่ที่ดี บ้านเมืองเป็นปกติสุข ประชาชนมีอิสระในการทำการค้า ถึงกับมีคำกล่าวว่า “เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่ลู่ทาง เพื่อนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า” พระองค์ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์พุทธศาสนา โปรดให้มีการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุกลางเมืองศรีสัชนาลัยอันเป็นเมืองคู่ของสุโขทัย และก่อสร้างอาราม พระพุทธรูปต่างๆขึ้นในสุโขทัย ในช่วงเทศกาลออกพรรษา พ่อขุนรามคำแหงทรงช้างขึ้นไปไหว้พระในเขตอรัญญิกที่วัดสะพานหินเพื่อกรานกฐิน พระองค์ทรงเป็นแบบอย่างให้แก่กษัตริย์ไทยในเวลาต่อมา ความเป็นปึกแผ่นของเมืองสุโขทัยนอกจากจะมีกำลังที่เข้มแข็ง บ้านเมืองเป็นสุขดังกล่าวแล้ว พระองค์ยังเป็นผู้ที่ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้เป็นพระองค์แรกด้วย
      เมื่อสิ้นรัชกาลของพ่อขุนรามคำแหง สุโขทัยไม่สามารถดำรงความเป็นบ้านเมืองที่รุ่งเรืองมากเหมือนแต่ก่อนไว้ได้ เมืองต่าง ๆ ภายในแคว้นสุโขทัยได้แตกแยกกันเป็นอิสระปกครองกันเอง ไม่ยอมขึ้นกับเมืองสุโขทัยที่เคยเป็นศูนย์กลางเช่นเดิม ดังนั้น เมื่อพุทธศักราช 1890 พระมหาธรรมราชาลิไท พระราชนัดดาของพ่อขุนรามคำแหง ซึ่งขณะนั้นครองเมืองศรีสัชนาลัย จึงนำกองทัพเข้ามาปราบจนเป็นผลสำเร็จ ได้ขึ้นครองสุโขทัย และสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันให้แก่แคว้นสุโขทัยซึ่งประกอบด้วยเมืองต่าง ๆ อีกครั้งหนึ่ง
       ในสมัยของพระมหาธรรมราชาลิไท เมืองสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาก พระองค์ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์พุทธศาสนาที่ยิ่งใหญ่ ได้อาราธนาพระมหาสามีสังฆราชจากนครพัน อันเป็นเมืองหนึ่งทางตอนใต้ของพม่า ด้วยความเลื่อมใสในพุทธศาสนา พระมหาธรรมราชาลิไทได้ออกผนวชและจำพรรษาอยู่ที่วัดป่ามะม่วง ทางทิศตะวันตกของเมืองสุโขทัย พระองค์ยังได้ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมทางพุทธศาสนาขึ้นเรียกว่า    "เตภูมิกถาหรือไตรภูมิพระร่วง" เพื่อสั่งสอนอบรมประชาชนของพระองค์ ให้เลื่อมใสในพุทธศาสนาด้วย
        ในสมัยนี้มีความเจริญรุ่งเรืองอีกประการหนึ่งที่เกิดขึ้นพร้อมกับพุทธศาสนา เพราะเป็นสิ่งที่เกิดจากความเลื่อมใสศรัทธานั่นคือ ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมซึ่งมีความงดงาม เป็นเอกลักษณ์และสะท้อนถึงความรู้ทางเทคนิควิทยาการต่าง ๆ เป็นอย่างดี จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นยุคทองของศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม เช่น การสร้างพระพุทธรูปลีลาอันเป็นงานประติมากรรมลอยตัว และเจดีย์ทรงดอกบัวตูมอันเป็นเอกลักษณ์ของเจดีย์สุโขทัย พระมหาธรรมราชาลิไททรงนำพุทธศาสนามาปรับใช้ในด้านการเมืองการปกครอง โปรดให้มีการอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุไปยังเมืองต่าง ๆ เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนได้สักการะบูชาพระบรมสารีริกธาตุ การสร้างเจดีย์ทรงดอกบัวตูมซึ่งเป็นเสมือนเครื่องหมายความสัมพันธ์ทางการเมืองและศาสนาในเมืองต่างๆ จึงเกิดขึ้นในสมัยนี้ เช่น วัดบรมธาตุนครชุม จังหวัดกำแพงเพชร , วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ , วัดเจดีย์ยอดทอง จังหวัดพิษณุโลก เป็นต้น

การสิ้นสุดของแคว้นสุโขทัย
        ตั้งแต่ประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา เกิดอาณาจักรที่มีอำนาจขึ้น 2 อาณาจักร ทางเหนือของสุโขทัยมีอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่เมืองเชียงใหม่ สามารถแผ่อาณาเขตมาถึงเมืองตากซึ่งเคยเป็นของสุโขทัย ส่วนทางใต้ของสุโขทัย คือ อาณาจักรอยุธยาที่ได้สถาปนาขึ้นเมื่อพุทธศักราช 1893 และสามารถควบคุมเมืองในแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาไว้ได้ เป็นเหตุให้กษัตริย์ของสุโขทัยในระยะนี้ ตกอยู่ในสถานการณ์ที่ลำบาก ครั้งหนึ่ง สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้ยกทัพมายึดเมืองสองแคว (พิษณุโลก) ไว้ได้ พระมหาธรรมราชาลิไทต้องถวายบรรณาการเพื่อขอเมืองคืน ซึ่งอาจเป็นเหตุให้พระองค์ต้องเสด็จไปประทับอยู่ที่นั่น เมื่อทรงได้รับคืนเมืองสองแควแล้วทรงโปรดให้พระขนิษฐาของพระองค์ปกครองสุโขทัยแทน เหตุการณ์ตอนนี้ชี้ให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ราชบัลลังก์สุโขทัยได้ถูกทำลายคุณลักษณะในการเป็นที่ตั้งอำนาจอันชอบธรรมของผู้ที่จะปกครองแคว้นสุโขทัยทั้งมวลลงไป
      ปรากฏหลักฐานว่า เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยา เสด็จสวรรคต เมื่อพุทธศักราช 1911 พระมหาธรรมราชาลิไททรงพยายามฟื้นฟูความเป็นเมืองศูนย์กลางของสุโขทัยอีกครั้งหนึ่ง ทรงเสด็จกลับสุโขทัยพร้อมไพร่พลบริวารที่เป็นเจ้าเมืองต่าง ๆ ของแคว้นสุโขทัยที่ยังจงรักภักดี แต่พระองค์ก็ไม่สามารถแสดงบทบาทด้านการเมืองต่อไปได้นาน พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อประมาณพุทธศักราช 1913 – 1914 อันเป็นเวลาที่ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว) ได้เสวยราชสมบัติที่กรุงศรีอยุธยา และส่งกำลังเข้ายึดเมืองสุโขทัยและเมืองอื่น ๆ ในแว่นแคว้นไว้ได้ทั้งหมด
      ประวัติศาสตร์แคว้นสุโขทัยในช่วงเวลาต่อไปประมาณครึ่งศตวรรษ เป็นเรื่องที่กษัตริย์ราชวงศ์สุพรรณภูมิที่มีอำนาจอยู่ที่กรุงศรีอยุธยาและสุพรรณบุรี พยายามที่จะเข้าครอบครองแคว้นสุโขทัย โดยการสมรสระหว่างเจ้านายของทั้งสองราชวงศ์ การใช้ระบบขุนนางเข้าแทรกซึม ตลอดจนการสนับสนุนด้านกำลังแก่เจ้านายสุโขทัยที่เป็นพรรคพวก เครือญาติ ที่ฝ่ายสุพรรณภูมิมีศักดิ์เหนือกว่าด้วยเหตุนี้จึงปรากฏว่าอย่างน้อยก็เมื่อพุทธศักราช 1981 ที่แคว้นสุโขทัยทั้งหมดได้กลายเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา เพราะในปีนี้เป็นปีที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (สมเด็จเจ้าสามพระยา) ได้ส่งโอรสที่สมภพจากพระชายาราชวงศ์สุโขทัยมาครองเมืองพิษณุโลกในตำแหน่งพระราเมศวร อันเป็นตำแหน่งพระมหาอุปราช ปกครองกลุ่มเมืองเหนือทั้งมวล โดยขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยาอีกทีหนึ่ง

ประวัติการดำเนินการอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
       
กรมศิลปากร เริ่มดำเนินการสำรวจและขึ้นทะเบียนโบราณสถานเมืองเก่าสุโขทัย ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2478 เป็นต้นมา โดยได้มีการประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอนที่ 75 วันที่ 8 มีนาคม พุทธศักราช 2478 ในครั้งนั้นเป็นจำนวน 75 แห่ง
      ต่อมาในปีพุทธศักราช 2496 รัฐบาลได้ตั้งคณะกรรมการฟื้นฟูบูรณะเมืองสุโขทัยขึ้น โดยเริ่มมีการขุดแต่งที่วัดมหาธาตุเป็นแห่งแรก และตามด้วยโบราณสถานที่สำคัญอื่น ๆ ทั้งภายในกำแพงเมือง และภายนอกกำแพงเมือง   ระยะต่อมาได้มีการตั้งคณะกรรมการปรับปรุงบูรณะโบราณสถานจังหวัดสุโขทัย เพื่อดำเนินงานในระยะที่ 2 ระหว่างปีพุทธศักราช 2508 – 2512
        พุทธศักราช 2518 กรมศิลปากร กำหนดขอบเขตพื้นที่ของโบราณสถานเมืองสุโขทัยจำนวน 43,750 ไร่ หรือประมาณ 70 ตารางกิโลเมตร โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 92 ตอนที่ 112 วันที่ 17 มิถุนายน พุทธศักราช 2518
        พุทธศักราช 2519 กรมศิลปากรริเริ่มจัดทำแผนแม่บทเพื่อพัฒนาเมืองโบราณสุโขทัยให้เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ ได้ดำเนินการสำรวจ ขุดแต่ง บูรณะ และพัฒนาเมืองโบราณสุโขทัย ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พุทธศักราช 2520 – 2524) และฉบับที่ 5 (พุทธศักราช 2525 - 2529) โดยใช้ชื่อโครงการว่า “โครงการอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย” ซึ่งเป็นโครงการของแผนงานสงวนรักษา อนุรักษ์ และซ่อมแซมมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของกรมศิลปากร มีเป้าหมายที่จะอนุรักษ์โบราณสถานของเมืองสุโขทัยไว้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์และอารยธรรม   ตลอดจนพัฒนาให้เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้นำเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ ให้กรมศิลปากรดำเนินการพัฒนาพื้นที่เขตเมืองสุโขทัยเป็น อุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัย

การเปิดอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
         พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีเปิดอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 20 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2531 ซึ่งรัฐบาลและประชาชนชาวไทยร่วมเฉลิมฉลองเนื่องในมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ และ พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ทั้งเพื่อธำรงรักษามรดกวัฒนธรรมแห่งบรรพชนไทยให้คงอยู่ยั่งยืน เป็นหลักฐานของอารยธรรมของประเทศไทยสืบไป

การประกาศให้สุโขทัยเป็นมรดกโลก
         คณะกรรมการมรดกโลกแห่งอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ได้ประกาศในการประชุม ณ กรุงคาร์เธจ ประเทศตูนีเซีย ให้อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกำแพงเพชร เป็นมรดกโลก   เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พุทธศักราช 2534 นับเป็นมรดกโลกตามบัญชีในลำดับที่ 574

         จากหลักฐานที่ปรากฏ ณ เมืองโบราณสุโขทัย และเมืองบริวาร แสดงให้เห็นถึงผลงานอันล้ำเลิศทางสถาปัตยกรรมไทยยุคแรก ความงดงามอลังการของศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมแห่งอาณาจักรสุโขทัยเป็นประจักษ์พยานของความรุ่งเรืองในอดีต แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญา และประวัติศาสตร์ของการก่อตั้งประเทศ
            จากการดำเนินงานสำรวจและศึกษาโบราณสถานในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยในปัจจุบัน พบโบราณสถานจำนวน 217 แห่ง ดังนี้
             - โบราณสถานในเขตกำแพงเมืองสุโขทัย จำนวน 66 แห่ง
             - โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศเหนือ จำนวน 30 แห่ง
             - โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศใต้ จำนวน 39 แห่ง
             - โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันออก จำนวน 24 แห่ง
             - โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันตก จำนวน 58 แห่ง