สื่อกลางในการส่งข้อมูลแบบไร้สายมีอะไรบ้าง

          4 ดาวเทียม(Satellite) เป็นการสื่อสารโดยคลื่นไมโครเวฟแต่เนื่องจากเป็นคลื่นที่เดินทางในแนวตรง ทำให้พื้นที่ที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหรือตึกสูงมีผลต่อการบดบังคลื่น จึงมีการพัฒนาดาวเทียมให้เป็นสถานีไมโครเวฟที่อยู่เหนือพื้นผิวโลก ทำหน้าที่เป็นสถานีส่งและรับข้อมูล ถ้าเป็นลักษณะการส่งข้อมูลจากภาคพื้นดินไปยังดาวเทียม ดาวเทียมสู่ภาคพื้นดิน เรียกว่า “การเชื่อมโยงหรือดาวน์ลิงค์ (Down Link)” ทั้งนี้มีระบบเทคโนโลยีที่นิยมและอาศัยการทำงานของดาวเทียมเป็นหลัก คือ ระบบจีพีเอส(Global Positioning System : GPS) ที่ช่วยตรวจสอบตำแหน่งที่อยู่บนพื้นผิวโลก เช่น การติดตั้งอุปกรณ์จีพีเอสไว้ในรถและทำงานร่วมกับแผนที่ ผู้ใช้สามารถขับรถไปตามระบบนำทางได้ นอกจากนี้ยังได้นำอุปกรณ์จีพีเอสมาติดตั้งในระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ด้วย

ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้เลยว่าการสื่อสารแบบไร้สายนั้น เข้ามามีบทบาทสำคัญอย่างมากในชีวิตประจำวันของเรา ใกล้ตัวเข้ามาหน่อยก็เป็นพวกสมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ตชนิดต่างๆ หรือจะเป็นพวกรีโมทไร้สายต่างๆ ก็เป็นการสื่อสารไร้สายด้วยเหมือนกัน แต่เรารู้หรือไม่ว่าตัวกลางในการสื่อสารไร้สายนั้นมีกี่แบบ อะไรบ้าง วันนี้เราจะพาไปรู้จักกัน

คลื่นวิทยุ

ตัวกลางสื่อสารไร้สายอย่างแรกเชื่อว่าเราคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี โดยเฉพาะใครที่โตมาในยุคอนาล็อก นั่นคือ วิทยุนั่นเอง คลื่นวิทยุเป็นตัวกลางสื่อสารไร้สายแบบแรกๆในบ้านเราเลย ไม่ว่าจะเป็นวิทยุกระจายเสียงตามหมู่บ้าน หรือวิทยุแบบเราฟังตามคลื่นต่างๆ คลื่นวิทยุแบบนี้จะเป็นการกระจายเสียงแบบรอบทิศทาง ข้อเสียของตัวกลางไร้สายแบบนี้คือ มันค่อนข้างอ่อนไหวต่อการกระจายสัญญาณ รวมถึงอาการคลื่นแทรกด้วย ไม่ค่อยเสถียรเท่าไร

คลื่นไมโครเวฟ

คลื่นไมโครเวฟ ก็เป็นตัวกลางสื่อสารไร้สายอีกรูปแบบหนึ่ง ความถี่จะอยู่ระหว่าง 1 – 300 GHz คลื่นแบบนี้จะสื่อสารทางเดียวโดยตรง ข้อดีคือมันจะไม่ถูกรบกวนจากคลื่นแบบอื่น หรือไม่มีคลื่นแทรก แต่ว่าข้อเสียเป็นเรื่องการทะลุทะลวงน้อยกว่ามาก ทำให้การเข้าไปในอาคารคลื่นนี้ตามไปไม่ค่อยได้

คลื่นอินฟาเรด

ตัวกลางลำดับที่ 3 เชื่อว่าน่าจะคุ้นหู คุ้นตากันบ้างแล้ว นั่นคือ คลื่นอินฟาเรด คลื่นตัวนี้มีความถี่ระหว่าง 300-400 GHz คลื่นแบบนี้เราจะใช้การสื่อสารหรือสั่งการระยะสั้น อย่างเช่น พวกรีโมต พวกเมาส์ หรือ คีย์บอร์ดไร้สายแบบต่าง ข้อดีคือมันสามารถทำงานทะลุผ่านผนังได้แต่ทำได้ในระยะทางสั้นๆเท่านั้น ด้วยระยะสั้นนี่เองจึงเป็นการอธิบายว่าทำไมรีโมตของเราไม่สามารถกดทีวีบ้านอื่นได้ (ไม่ไกลเกินไป) อีกทั้งใช้งานภายนอกไม่ได้ด้วยแสงอาทิตย์บังหมด

คลื่นบลูทูธ

คลื่นต่อไปเชื่อว่าเราคนใช้โทรศัพท์น่าจะคุ้นกันเป็นอย่างดี นั่นคือ บลูทูธ จะว่าไปคลื่นตัวนี้ก็พัฒนามาขึ้นมาจากอินฟาเรดส่วนหนึ่ง บลูทูธจะทำหน้าที่เชื่อมต่อเครื่องมือ สั่งการผ่านคลื่นนี้ข้อดีของคลื่นนี้คือ เราจะสามารถสั่งการเครื่องมือต่างๆได้เลยไม่ต้องต่อสายให้ยุ่งยาก สองคลื่นบลูทูธจะกระจายตัวเป็นคลื่นรอบทิศทางทำให้มันสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้พร้อมกันหลายตัว แต่ข้อเสียเป็นเรื่องการเชื่อมต่อบางครั้งอาจจะยังไม่ดีพอ หรือ ไม่เสถียรเท่าไร

ไวไฟ

ตัวกลางทันสมัยสุดในโลกยุคดิจิตอล คงหนีไม่พ้นคำว่า Wi-Fi หรือ ไวไฟ นั่นเอง ตัวกลางนี้เกิดจากการพัฒนาอุปกรณ์ให้สามารถรับส่งข้อมูลความเร็วสูงผ่านเครือข่ายที่ติดตั้งอยู่ได้ ไวไฟ เป็นการนำข้อดีของตัวกลางหลายตัวมารวมกันเช่น การแผ่คลื่นไปรอบทิศทาง การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์พร้อมกันหลายตัว หลายชนิด การสื่อสารสองทาง และอีกมากมาย ในอนาคตจะมีการพัฒนาตัวกลางการสื่อสารไร้สายแบบไหนดีต้องมาติดตามกัน

สื่อกลางไร้สาย (Wireless media)   เป็นการเชื่อมต่อที่ไม่ต้องใช้สัญญาณเป็นสื่อกลางในการสื่อสารระหว่างผู้รับ และผู้ส่งข้อมูล  แต่จะใช้อากาศเป็นสื่อกลาง  ตัวอย่างสื่อกลางไร้สาย  มีดังนี้

1. อินฟราเรด (Infrared)  เป็นการสื่อสารโดยใช้คลื่นแสงที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า  สามารถส่งข้อมูลในระยะไม่ไกล  การส่งข้อมูลด้วยคลื่นอินฟราเรดต้องส่งในแนวตรง  และไม่สามารถทะลุสิ่งกีดขวางที่มีความหนาได้  นิยมใช้ในการส่งถ่ายข้อมูลสำหรับอุปกรณ์แบบพกพา  เช่น โน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องพีดีเอไปยังคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

2. คลื่นวิทยุ (Radio wave)  เป็นการสื่อสารโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง  อุปกรณ์พิเศษนี้เรียกว่า เครื่องรับส่ง (transceiver) ทำหน้าที่รับและส่งสัญญาณวิทยุจากอุปกรณ์ไร้สายต่างๆ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรืออุปกรณ์ที่สามารถเปิดเข้าถึงเว็บไซต์ได้  ผู้ใช้บางรายใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการเชื่อมต่อเพื่อใช้บริการอินเทอร์เน็ต  ปัจจุบันมีเทคโนโลยีไร้สายที่ใช้คลื่นวิทยุ  คือ  บลูทูธ (bluetooth) ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณโดยใช้คลื่นวิทยุระยะสั้น  เหมาะสำหรับการติดต่อสื่อสารในระยะไม่เกิน 33 ฟุต  การส่งสัญญาณสามารถส่งผ่านสิ่งกีดขวางได้  ทำให้เทคโนโลยีบลูทูธได้รับความนิยมสูง  จึงมีการนำมาบรรจุไว้ในอุปกรณ์เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่องพีดีเอ โน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ดิจิทัล

3. ไมโครเวฟ (Microwave) เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง  ส่งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟซึ่งเป็นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปใน อากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่ง และจะต้องมีสถานีที่ทำหน้าที่ส่งและรับข้อมูล และเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรงไม่สามารถเลี้ยวหรือโค้งตาม ขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ-ส่งข้อมูลเป็นระยะๆ และส่งข้อมูลต่อกันเป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง  และแต่ละสถานีจะตั้งอยู่ในที่สูงเช่นดาดฟ้าตึกสูงหรือยอดดอยเพื่อหลีก เลี่ยงการชนหากมีสิ่งกีดขวางเนื่องจากแนวการเดินทางที่เป็นเส้นตรงของสัญญาณ ดังที่กล่าวมาแล้ว การส่งข้อมูลด้วยสื่อกลางชนิดนี้เหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกลมากๆ และทุรกันดาร

สื่อกลางในการส่งข้อมูลแบบไร้สายมีอะไรบ้าง

4. ดาวเทียม (satilite) ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดของสถานีรับ-ส่งไมโครเวฟบนผิว โลก วัตถุประสงค์ในการสร้างดาวเทียมเพื่อเป็นสถานีรับ-ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสัญญาณดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทำหน้าที่รับและส่งสัญญาณ ขึ้นไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์  โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นอยู่นิ่งอยู่กับที่ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง  ทำให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจาย สัญญาณจากดาวเทียมลงมายังสถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยำ ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้โดยอาศัยพลังงานที่ได้มาจากการเปลี่ยนพลังงานแสง อาทิตยด้วยแผงโซลาร์ (solar panel)

สื่อกลางในการส่งข้อมูลแบบไร้สายมีอะไรบ้าง

Advertisement

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

10 Responses

  1. นางสาว พิมพิไล ไชยรบ, on กรกฎาคม 13, 2010 at 5:58 am said:

    อาจไม่จำเปงต้องมีสายดินหรือ สายที่จะมารองรับถึงความ แน่นอน ขอวัดถุนั้นเพราะว่าแม้แต่การ ทำงาน แบไร้สายก็สามารถส่งข้องมูลที่แม่นยำหรือ ทำหน้าที่ไม่ต่างจากสายดิน หรือสายอย่างอื่นเลย

    แต่ปํญหาที่มาพร้อมกับ สื่อกลางไร้สายคือ ต้องหาตัวดึดสัญญาคือ

    ไวเลศ

    ตอบกลับ

  2. นางสาว ชุติกาญจน์ ลืออุติกุลวงศ์ ม.4/1 เลขที่27, on กรกฎาคม 20, 2010 at 4:01 am said:

    สื่อกลางไร้สาย สะดวกต่อการใช้งานเป็นอย่างมากสำหรับผู้ต้องการความสะดวกสบาย สามารถส่งข้อมูลได้โดยไม่ต้องเชื่อมต่อสายอินเตอร์เน็ต เพียงมีอินฟราเรดก็สามรถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตได้แล้ว

    ตอบกลับ

  3. นายณัฐกมล สุนทรพิทักษ์ ม.4/1 เลขที่ 8, on กรกฎาคม 20, 2010 at 4:09 am said:

    สื่อกลางไร้สาย เป็นสิ่งที่มีความสะดวกสบายในการใช้งานมาก ปัจจุบันสื่อกลางไร้สายถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทำให้มีราคาถูกลง

    สื่อกลางแบบไร้สายคืออะไร

    สื่อกลางที่กำหนดเส้นทางไม่ได้ หรือ สื่อกลางไร้สาย (Unguided Transmission Media) เป็นสื่อกลางประเภทที่ไม่มีวัสดุใดๆในการนำสัญญาณแต่จะใช้อากาศเป็นสื่อกลาง ซึ่งจะไม่มีการกำหนดเส้นทางให้สัญญาณเดินทางซึ่งเราเรียกว่าการสื่อสารไร้สาย ตัวกลางที่ใช้ในการสื่อสารไร้สายคือ อากาศ สุญญากาศ หรือแม้แต่น้ำ อากาศเป็นตัวกลางที่ใช้อย่าง ...

    สื่อกลางแบบไร้สายมีกี่แบบ

    ตัวกลางสื่อสารไร้สาย มีแบบไหนบ้าง.
    คลื่นวิทยุ ... .
    คลื่นไมโครเวฟ ... .
    คลื่นอินฟาเรด ... .
    คลื่นบลูทูธ ... .

    สื่อกลางมีอะไรบ้าง

    ในปัจจุบัน สามารถแบ่งสื่อกลางได้เป็น 2 ประเภท คือ.
    คลื่นวิทยุ (Radio Wave) ... .
    สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave) ... .
    แสงอินฟราเรด (Infrared) ... .
    ดาวเทียม (satilite) ... .
    บลูทูธ (Bluetooth).

    สื่อกลางในการส่งข้อมูลแบบใช้สายมีอะไรบ้าง

    สื่อกลางส่งข้อมูลแบบใช้สาย (Conducted Media) สื่อกลางแบบใช้สาย เปรียบเสมือนกับท่อส่ง ท าหน้าที่ส่งข้อมูล ผ่านท่อไปยังอุปกรณ์ต่างๆ เช่น สายเคเบิล ไม่ว่าจะเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล หรือสายไฟเบอร์ออปติก โดยสัญญาณจะเดินทางไปตาม สื่อกลางที่เชื่อมต่อโดยตรง