งบประมาณแผ่นดิน ต่างกับ งบประมาณเอกชน ในเรื่องใด *

หมายถึง การใช้จ่ายเพื่อการบริหารประเทศของรัฐบาล โดยกำหนดนโยบายและการดำเนินงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับรายรับ รายข่าย หนี้สาธารณะ ซึ่งในแต่ละปีรัฐบาลจะต้องจัดทำเป็นงบประมาณแผ่นดินประจำปี เพื่อแสดงให้ประชาชนรู้ว่าในปีต่อไปรัฐบาลมีโครงการจะทำอะไรบ้าง แต่ละโครงการต้องใช้จ่ายเป็นจำนวนเงินเท่าใด และรัฐบาลจะหารายได้จากทางใดมาใช้จ่ายตามโครงการนั้น ๆ ดังนั้นงบประมาณแผ่นดินจึงเป็นแผนเกี่ยวกับการหารายได้และการใช้จ่ายตามโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาล
ความแตกต่างระหว่างภาคเอกชนกับรัฐบาล
บทบาทระหว่างเอกชนกับรัฐบาล มีความแตกต่าง พอสรุปได้ดังนี้
       1) ด้านวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมาย การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจภาครัฐบาลมุ่งเพื่อประโยชน์ของสาธารณชน เช่น การจัดให้มีบริการสาธารณสุข สาธารณูปโภค การรักษาความสงบภายใน การป้องกันประเทศ เป็นต้น การใช้จ่ายเพื่อกิจกรรมของภาครัฐบาลส่วนใหญ่ได้มาจากค่าภาษีอากร และใช้จ่ายไปโดยมิได้แสวงหากำไร ส่วนการดำเนินกิจกรรมเศรษฐกิจของภาคเอกชนส่วนใหญ่มุ่งเพื่อแสวงหากำไรสูงสุด และประโยชน์ส่วนตนเป็นสำคัญ
       2) ด้านการวางแผนดำเนินกิจกรรม ในการวางแผนรัฐบาลมีรายจ่ายเป็นเครื่องกำหนดรายได้ กล่าวคือ การดำเนินกิจกรรมของดภาครัฐบาลมักเริ่มด้วยการวางแผนตั้งโครงการพร้อมด้วยประมาณรายจ่ายในแต่ละโครงการแล้วจึงประมาณการรายได้ที่คาดว่าจะได้รับ หากไม่เพียงพอกับการใช้จ่าย ก็อาจก่อหนี้สาธารณะมาชดเชย แต่ภาคเอกชนมีรายได้เป็นเครื่องกำหนดรายจ่าย กล่าวคือ ภาคเอกชนจะพิจารณารายได้ที่คาดว่าจะได้รับก่อนแล้วจึงวางแผนดำเนินการใช้จ่ายออกไป
       3) ด้านการตัดสินใจดำเนินกิจกรรม การตัดสินใจดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจภาครัฐบาลจะมีขั้นตอนซับซ้อน ผ่านการพิจารณาตัดสินของหลายฝ่าย แต่ภาคเอกชนมีขั้นตอนน้อยกว่า ตัดสินใจได้ด้วยตนเองโดยผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการไม่กี่คน การตัดสินใจดำเนินกิจกรรมของภาคเอกชนจึงสามารถดำเนินการได้รวดเร็วกว่ารัฐบาล
       4) ด้านระยะเวลาของโครงการ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาครัฐบาลมักเป็นโครงการที่ให้ผลตอบแทนในระยะยาว ใช้งบประมาณจำนวนมาก ส่วนภาคเอกชนใช้เงินทุนน้อยกว่า และมักให้ผลตอบแทนในระยะสั้น เพื่อนำรายได้นั้นเป็นทุนหมุนเวียนในกิจกรรมต่อไป
       จะเห็นได้ว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจะมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์ซึ่งกันและกันตลอดเวลา การดำเนินการของภาครัฐบาลย่อมมีผลกระทบต่อภาคเอกชนทั้งทางตรงและทางอ้อม สำหรับเศรษฐกิจภาคเอกชน ก็จะมีผลต่อรายได้ของภาครัฐบาล
ความสำคัญของการคลัง
       การคลังมีความสำคัญในการดำเนินงานของรัฐบาล เพราะรัฐบาลจะใช้นโยบายการคลัง ควบคุมภาวะเศรษฐกิจของประเทศด้วยวิธีการดังต่อไปนี้
       1) การจัดสรรการใช้ทรัพยากรของสังคม มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ทรัพยากรของสังคมในการผลิตสินค้าและบริการให้เกิดประโยชน์เต็มที่อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การป้องกันประเทศ การบริการการแพทย์ พยาบาล ตำรวจ ตลอดจนรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยการใช้นโยบายงบประมาณที่กำหนดไว้
2) การกระจายรายได้ของสังคม เพื่อให้สินค้าและบริการต่าง ๆ ที่ผลิตขึ้นมา ได้รับการจัดสรร จำแนก แจกจ่ายได้ทั่วถึง และเป็นธรรม ซึ่งรัฐบาลสามารถได้มาตรการทางด้านภาษีเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการดำเนินการ
3) การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคม โดยรัฐบาลจะควบคุมดูแลให้เศรษฐกิจของสังคม เป็นไปด้วยความราบรื่นด้วยการรักษาระดับการจ้างให้อยู่ในอัตราสูง ระดับราคาสินค้าเสถียรภาพ รวมทั้งมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับที่น่าพอใจ
       กล่าวโดยสรุป การคลังจึงมีความสำคัญมากในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล เพราะรัฐบาลจะใช้นโยบายการคลังเป็นเครื่องมือในการควบคุม ดูแล ตลอดจนแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ เพื่อให้เศรษฐกิจของประเทศคงไว้ซึ่งความมีเสถียรภาพ

                    3. เงินคงคลัง คือเงินที่เก็บอยู่ในคลัง ซึ่งสะสมและได้มาจากหลายทาง อาทิงบประมาณเหลือจ่ายจากปีงบประมาณก่อน จากการรับชำระหนี้คืน ฯลฯ ซึ่งรัฐบาลมีสิทธินำออกมาใช้ได้ตามกฎหมายพระราชบัญญัติเงินคงคลัง แต่จะต้องไม่ก่อให้เกิดผลเสียหายต่อสภาวะการคลังและการเงินของประเทศ

ตอบ 3 (เอกสารหมายเลข P-3300 หน้า 46 – 47) ปรากฏการณ์เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกในช่วงทศวรรษ 1930 เรียกว่า The Great Depression ซึ่งทฤษฎีของเคนส์ได้เข้ามาช่วยในการ แก้ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำนี้โดยการกระตุ้นเศรษฐกิจ ดําเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุลโดยรัฐบาล ซึ่งเป็นการทํางานของกลไกอุปสงค์มวลรวม

3 เพื่อไม่ให้การก่อหนี้สาธารณะเป็นข้อจํากัดของการพัฒนาประเทศ รัฐบาลควรคํานึงถึงหลักการใด

(1) ความสมดุลทางการคลัง

(2) ความเท่าเทียมทางการคลัง

(3) ความยั่งยืนทางการคลัง

(4) การกระจาย

(5) ความพอเพียง

ตอบ 3 (เอกสารหมายเลข P-3300 หน้า 43) เพื่อไม่ให้การก่อหนี้สาธารณะเป็นข้อจํากัดของการพัฒนาประเทศ รัฐบาลควรคํานึงถึงความยั่งยืนทางการคลัง (Fiscal Sustainability) ซึ่งมี เครื่องชี้วัดที่สําคัญ เช่น ภาระหนี้ต่างประเทศภาครัฐต่อรายได้เงินตราต่างประเทศจากการส่งออกสินค้าและบริการ (Debt Service Ratio) เป็นต้น

4 ภาระหนี้ต่างประเทศภาครัฐต่อรายได้เงินตราต่างประเทศจากการส่งออกสินค้าและบริการ เรียกว่าอะไร

(1) Burden

(2) Deficit

(3) Debt Service Ratio

(4) Debt to GDP

(5) ถูกทุกข้อ

ตอบ 3 ดูคําอธิบายข้อ 3 ประกอบ

5 ข้อใดไม่ใช่รัฐวิสาหกิจ

(1) การท่าเรือแห่งประเทศไทย

(2) บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

(3) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

(4) บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด

(5) วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

ตอบ 5 (คําบรรยาย) หน่วยงานที่เป็นรัฐวิสาหกิจในปัจจุบัน เช่น การท่าเรือแห่งประเทศไทย บริษัทการบินไทย จํากัด (มหาชน) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย  ท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย เป็นต้น

 

6 บุคคลใดดํารงตําแหน่งเป็นประธานคณะกรรมการนโยบายและกํากับการบริหารหนี้สาธารณะ

(1) นายกรัฐมนตรี

(2) รองนายกรัฐมนตรี

(3) ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย

(4) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

(5) ปลัดกระทรวงการคลัง

ตอบ 4 (เอกสารหมายเลข P-3300 หน้า 42), (คําบรรยาย) กรณีการจัดบริการของรัฐก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกต่อสังคม รัฐควรกําหนดอัตราค่าบริการต่ํากว่าต้นทุนทางบัญชีและจัดสรร เงินอุดหนุนชดเชยส่วนที่ขาดทุน แต่ถ้าการจัดบริการของรัฐก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อสังคม รัฐควรกําหนดอัตราค่าบริการสูงกว่าต้นทุนทางบัญชีและนําเงินส่วนที่ต่างไปอุดหนุนชดเชย ผู้ที่ได้รับความเสียหาย

Surplus Budget แตกต่างจาก deficit Budget อย่างไร

2. งบประมาณไม่สมดุล (Unbalance Budget) หมายถึง งบประมาณที่เป็นรายได้ ของรัฐรวมกันแล้วไม่เท่ากับรายจ่ายของรัฐ ถ้า รายได้ มากกว่า รายจ่าย เรียกว่า "งบประมาณเกินดุล" (Surplus Budget) ถ้า รายได้ น้อยกว่า รายจ่าย เรียกว่า "งบประมาณขาดดุล" (Deficit Budget)

งบประมาณปผ่นดินเน้นเรื่องใด

งบประมาณแผ่นดิน หมายถึง แผนเกี่ยวกับการใช้จ่ายของรัฐบาลและจัดหารายรับ ให้เพียงพอกับการใช้จ่ายในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติมีระยะเวลา ๑ ปี ดังนั้น จึงเรียกว่า งบประมาณ แผ่นดินประจำปี ซึ่งจะเริ่มต้นในวันที่ 9 ตุลาคมของทุกปีไปจนถึงวันที่ ๓๐ กันยายนของปีถัดไป สำนัก

งบประมาณแผ่นดินมีอะไรบ้าง

งบประมาณแผ่นดิน (government budget) หมายถึง แผนการทางการเงินของรัฐบาลที่ จัดท าขึ้นเพื่อแสดงรายรับและรายจ่ายที่ก าหนดไว้สาหรับด าเนินการตามโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ในช่วงเวลาปีหนึ่ง ๆ การจัดการด้านงบประมาณแผ่นดินยังเน้นการจัดการด้านการคลังประการ หนึ่งของรัฐบาล งบประมาณแผ่นดินนัยว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งในการบริหารประเทศ ...

งบประมาณสมดุล หมายถึง ข้อใด *

งบประมาณสมดุล (balanced budget) คือ งบประมาณที่รายจ่ายของรัฐบาลเท่ากับรายได้ของรัฐบาล งบประมาณเกินดุล (budget surplus) คือ งบประมาณที่รายจ่ายของรัฐบาลน้อยกว่ารายได้ของรัฐบาล