ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์ ต่าง กัน อย่างไร

ฝาก-ถอนต่างสาขาได้ ยกเว้น

Show

  • บัญชีเงินฝากประจำประเภทใบรับฝาก
  • ถอนเงินโดยการมอบฉันทะ

สมัครง่าย ไม่ยุ่งยาก

เอกสารการเปิดบัญชี

  • หนังสือรับรองการจดทะเบียนธุรกิจ ที่นายทะเบียนรับรอง ไม่เกิน 6 เดือน
  • รายงานการประชุม หรือหนังสือแจ้งความประสงค์ขอเปิดบัญชี
  • หนังสือบริคณห์สนธิ
  • เอกสาร ที่นายทะเบียนรับรองไม่เกิน 6 เดือน
    • แบบ บอจ.3 รายการจดทะเบียนจัดตั้ง
    • แบบ บอจ.4 รายการจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมและหรือมติพิเศษ (ถ้ามี)
    • แบบ บอจ.5/บมจ.006 สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น หรือเอกสารแสดงการถือหุ้น ที่ออกโดยหน่วยราชการ
  • เอกสารแสดงตนของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
    • ผู้ที่ลงนามเปิดบัญชีและผู้มีอำนาจลงนามสั่งจ่าย
      • บริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ใช้บัตรประจำตัวประชาชนแบบสมาร์ทการ์ดที่ยังไม่หมดอายุ (คนต่างด้าวใช้หนังสือเดินทาง)
      • บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ใช้สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนที่ยังไม่หมดอายุ (คนต่างด้าวใช้สำเนาหนังสือเดินทาง)
        หากไม่มี ให้ใช้บัตรที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐ ที่มีรูปถ่ายพร้อมระบุเลขประจำตัวประชาชน ที่ยังไม่หมดอายุ เช่น บัตรประจำตัวข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานองค์การของรัฐ หนังสือเดินทาง (Passport) ใบอนญาตขับรถ เป็นตัน
    • ผู้มีอำนาจลงนามแทนนิติบุคคลทุกราย ผู้มีตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารระดับสูงสุด ผู้รับผลประโยชน์ที่แท้จริง (บุคคลธรรมดาที่เป็นผู้ถือหุ้นในกิจการตั้งแต่ร้อยละ 25 ขึ้นไป หากไม่มี ใช้เอกสารแสดงตนของผู้มีอำนาจควบคุมกิจการ หรือ ผู้มีตำแหน่งบริหารระดับสูงสุดของกิจการ) ใช้สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนที่ยังไม่หมดอายุ (คนต่างด้าวใช้สำเนาหนังสือเดินทาง) และรับรองสำเนา

บัญชีเงินฝากระยะยาว

เก็บเงินทุกวันที่เกิด ดอกเบี้ยสูงสุด 1.60%* ต่อปี เลือกฝากได้ทั้งแบบ 24 เดือน หรือ 36 เดือน

ดูผลิตภัณฑ์ทั้งหมด

Stories & Tips

ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์ ต่าง กัน อย่างไร

คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ของ SCB เพื่อเข้าสู่

xxxx


ขอขอบคุณที่ใช้บริการ SCB ธนาคารขอแนะนำให้ท่านศึกษานโยบายความเป็นส่วนตัว
รายละเอียดเงื่อนไขผลิตภัณฑ์ในหน้าเว็บไซต์ปลายทางทุกครั้ง ก่อนตัดสินใจสมัคร หรือเข้าร่วมรายการส่งเสริมการขาย

คำที่คุณใช้ค้นหาล่าสุด

    ผลการค้นหา <strong>"{{keyword}}"</strong> ไม่ปรากฎแต่อย่างใด

    ข้อแนะนำในการค้นหา

    • ตรวจสอบความถูกต้องของข้อความ
    • ตรวจสอบภาษาที่ใช้ในการพิมพ์
    • เปลี่ยนคำใหม่ กรณีไม่พบผลการค้นหา

    • Home

    • BLOG myAccount Cloud

    • บัญชีโคตรง่าย

    • บัญชีออมทรัพย์และกระแสรายวัน ต่างกันอย่างไร

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์ ต่าง กัน อย่างไร

    สิ่งหนึ่งที่คนส่วนใหญ่นิยมทำและเป็นวิธีการออมที่คุ้นเคยมากที่สุด คือการฝากเงินกับธนาคาร เรื่องฝากเงิน ไฉนเลยเราจะไม่รู้ความแตกต่างระหว่าง "บัญชีออมทรัพย์" กับ "บัญชีฝากประจำ" แต่กับบัญชีประเภทอื่นๆ ล่ะ เรารู้จักมันดีพอแล้วหรือยัง?

    บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ (Savings Account)
    เป็นเงินฝากประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม สามารถเบิกได้โดยไม่จำกัดจำนวนครั้งและจำนวนเงินทุกสาขาของธนาคารทั่วประเทศ แต่หากฝากหรือถอนข้ามเขตอาจมีค่าธรรมเนียมเพิ่ม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละธนาคาร เหมาะสำหรับเก็บเงินค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่จำเป็นในแต่ละเดือนมากกว่า เพราะได้รับอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าบัญชีประเภทอื่นๆ นอกจากนี้ ยังมีประเภทบัญชีออมทรัพย์แบบพิเศษ ซึ่งเป็นบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ที่มีเงื่อนไขพิเศษ อัตราดอกเบี้ยจะสูงกว่าบัญชีออมทรัพย์ธรรมดา และไม่ต้องเสียภาษีเงินหัก ณ ที่จ่ายเงินได้บุคคลธรรมดาจากดอกเบี้ยรับ โดยมีเงื่อนไขสำคัญคือต้องเปิดบัญชีไม่ต่ำกว่า 1,000 บาท การฝากเงินแต่ละครั้งต้องไม่ต่ำกว่า 100,000 บาท และมีข้อจำกัดในการเบิกถอนในแต่ละเดือน เช่น สามารถเบิกถอนได้ไม่เกินเดือนละ 3 ครั้ง เป็นต้น
     
    บัญชีเงินฝากประจำ (Fixed Deposit Account)
    เป็นบัญชีที่ได้รับดอกเบี้ยสูงกว่าบัญชีออมทรัพย์ ซึ่งปัจจุบันส่วนใหญ่จะมาพร้อมแคมเปญพิเศษ ไม่ต้องเสียภาษีเงินหัก ณ ที่จ่ายเงินได้บุคคลธรรมดาจากดอกเบี้ยรับ เหมาะสำหรับผู้ที่มีเงินเหลือจากการใช้จ่ายในชีวิตประจำวันและยังไม่มีความจำเป็นต้องใช้ โดยมีเงื่อนไขสำคัญคือมีการกำหนดระยะเวลาฝากประจำที่ 3, 6, 12, 24 และ 36 เดือน หรือมากกว่า และเมื่อฝากแล้วห้ามถอนก่อนกำหนด มิฉะนั้นธนาคารจะไม่คิดดอกเบี้ยให้ตามอัตราที่กำหนดให้
     
    บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน (Current Account)
    เป็นบัญชีหมุนเวียน เหมาะสำหรับการทำธุรกิจ สามารถขอใช้วงเงินเบิกเกินบัญชี (Overdraft) หรือวงเงิน O/D บนบัญชีนี้ได้ โดยผู้กู้จะใช้เงินเมื่อใดก็ได้ตามที่ต้องการ และธนาคารจะคิดดอกเบี้ยเฉพาะส่วนที่เจ้าของบัญชีเบิกเกินบัญชี และเฉพาะวันที่มีการเบิกเกินบัญชีจริงเท่านั้น บัญชีเงินฝากกระแสรายวันเป็นบัญชีเงินฝากที่ไม่มีดอกเบี้ย หรือหากมีอัตราดอกเบี้ยจะต่ำกว่าบัญชีออมทรัพย์ จึงไม่เหมาะสำหรับการออมเงิน โดยเงื่อนไขสำคัญในการเปิดบัญชีคือใช้จำนวนเงินฝากขั้นต่ำในการเปิดบัญชี 10,000 บาท ธนาคารจะให้สมุดเช็คแก่ผู้ฝากบัญชีประเภทนี้แทนสมุดคู่ฝาก และจะจัดส่งสเตทเมนท์ (statement) ทางไปรษณีย์ หรือทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแจ้งยอดเคลื่อนไหวของบัญชีให้ทราบ และผู้ฝากสามารถสั่งจ่ายเช็คให้กับผู้อื่นไปดำเนินการขึ้นเงินจากบัญชีของตนได้
     
    บัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ (Foreign Currency Deposit Account)
    เหมาะสำหรับผู้ที่มีรายรับ หรือมีภาระค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินตราต่างประเทศ เพราะสามารถใช้เงินในบัญชีมาทำธุรกรรมทางการเงินได้เลยโดยไม่ต้องแลกเปลี่ยนสกุลเงิน โดยเปิดได้ทั้งบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ และเงินฝากกระแสรายวัน ในส่วนดอกเบี้ยรับที่ได้จะต้องเสียภาษีด้วย ซึ่งการฝากเงินเป็นเงินตราต่างประเทศจะไม่ได้รับความคุ้มครองเงินต้นและดอกเบี้ยจากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก ขณะที่ค่าบริการในการทำธุรกรรมสำหรับบัญชีประเภทนี้อาจจะสูงกว่าดอกเบี้ยที่ได้รับ

    ปัจจุบันธนาคารต่างๆ มีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง ทำให้เราสามารถเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของแต่ละธนาคารได้โดยง่าย นอกจากนี้ เราควรเลือกบัญชีประเภทที่ไม่เสียภาษีเงินหัก ณ ที่จ่ายเงินได้บุคคลธรรมดาจากดอกเบี้ยรับด้วย

    บทความโดย : krungsri

    บัญชีเงินฝากกับออมทรัพย์ต่างกันยังไง

    การเลือกเปิดบัญชีเงินฝากที่เหมาะสมกับตัวเอง ต้องเลือกจากวัตถุประสงค์ในการเปิดบัญชี ว่าเราเปิดบัญชีเพื่ออะไร เช่น เป็นเงินสำรองไว้ใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน เน้นฝาก ถอน โอน สะดวก แนะนำ บัญชีออมทรัพย์ เพราะมีความคล่องตัวมากกว่า แต่หากใครอยากฝึกวินัยการออมเงิน อย่างจริงจังต่อเนื่องในทุก ๆ เดือน โดยที่ไม่กระทบกับค่าใช้จ่ายในส่วน ...

    เงินฝากกระแสรายวันกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

    บัญชีกระแสรายวัน เป็นบัญชีที่ไม่มีดอกเบี้ย ใช้สำหรับธุรกิจต่างๆ เพื่อความคล่องตัวในการดำเนินธุรกิจและสามารถสั่งจ่ายเช็คได้ บัญชีออมทรัพย์ เป็นบัญชีที่มีมีดอกเบี้ย ปัจจุบันเท่ากับ 0.5% ต่อปี สำหรับการออมเงิน, ทำธุรกรรมทางการเงินส่วนบุคคลต่างๆ เช่น ใช้ทำธุรกรรมออนไลน์, โอนเงิน, เติมเงิน, จ่ายเงิน ฯลฯ

    ออมเงินฝากประจํา ธนาคารไหนดี

    ฝากประจำ ดอกเบี้ยสูง ธนาคารไหนดี.
    ฝากประจำ: ธนาคารไทยเครดิต อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ : 1.10 – 1.50 % ... .
    ฝากประจำ: LH BANK. อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ : 0.85 – 1.15 % ... .
    ฝากประจำ: ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย ... .
    ฝากประจำ: ธนาคารออมสิน ... .
    ฝากประจำ: ธนาคารกสิกรไทย ... .
    ฝากประจำ: ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ... .
    ฝากประจำ: ธนาคารยูโอบี (UOB).

    บัญชี เงิน ฝาก ประจํา คือ อะไร

    บัญชีเงินฝากประจำแบบฝากเงินทุกเดือน เป็นการฝากเงินเข้าบัญชีทุกเดือนในจำนวนที่เท่ากันกับจำนวนเงินที่เปิดบัญชี และต้องฝากให้ครบตามระยะเวลาที่ธนาคารกำหนด เช่น 6 เดือน 24 เดือน หรือ 36 เดือน เมื่อครบกำหนด จึงจะสามารถถอนเงินออกได้พร้อมดอกเบี้ย