การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

แบบทดสอบก่อนเรียน
 หลักเบื้องต้นขององค์ประกอบศิลปะ
 
องค์ประกอบศิลป์  
     องค์ประกอบศิลป์  หมายถึง  การนำส่วนประกอบต่างของทัศนธาตุต่างเช่น  จุด  เส้น  รูปร่าง  รูปทรง  ขนาด  สัดส่วน  แสงเงา  สี  ช่องว่าง  และลักษณะผิว  มาสร้างสรรค์เป็นผลงาน การเรียนรู้องค์ประกอบศิลป์จึงเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะทุกแขนงเพื่อให้เกิดความงามหรือสื่อความหมายทางศิลปะได้  โดยยึดหลักการจัดดังนี้ 
 
1.  เอกภาพ  (Unity)
2.  ความสมดุล  (Balance)               
3.  จังหวะ จุดเด่น  (Dominance)               
4.  ความกลมกลืน  (Harmony)             
5.  ความขัดแย้ง  (Contrast)
6. ขนาด สัดส่วน (Size  Proporty)
 1.  เอกภาพ  (Unity) 
   เอกภาพ  หมายถึง  ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน  ความสอดคล้องกลมกลืน  เป็นหน่วยเดียวกัน ด้วยการจัดองค์ประกอบให้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันเป็นกลุ่มก้อนไม่กระจัดกระจาย  โดยการจัดระเบียบของรูปทรง  จังหวะ  เนื้อหาให้เกิดดุลยภาพจะได้สื่ออารมณ์  ความรู้สึก  ความหมายได้ง่ายและรวดเร็ว
 ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด
 

การเชื่อมโยงเป็นหน่วยเดียวกัน

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด
 ภาพฝั่งซ้ายเส้นเป็นลักษณะโค้ง เช่น กะละมังที่ผู้หญิงนั่ง และตัวผู้ผญิงคนนี้ก้มลงเส้นขอบของลำตัวเป็นเส้นโค้ง เข้ากับกะละมังแต่ฝั่งขวามือเป็นโต๊ะมีลักษณะสี่เหลี่ยม ตัดกันกันกับวงกลมวิธีการคือการเชื่อมโยงรูปทรงของเรื่องราวให้เข้ากันด้วยการต่อเส้นโดยการเอาแปรงมาวางต่อระหว่างวงกลมกับโต๊ะให้เป็นเรื่องราวเดียวกัน

 เอกภาพทางแนวคิดเรื่องรูปแบบ และเนื้อหา

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

ในภาพเป็นแนวคิดเรื่องเดียวกัน คื่อเรื่องความศรัทธา เนื้อหาของภาพเรื่องเดียวกันคือเจดีย์

เอกภาพทางเส้น การประสานกันของเส้นรูปทรงและพื้นผิว

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

  ในภาพนี้มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเรื่องเส้น ทิศทางของเส้น รูปทรงของเส้น พื้นผิวเหมือนกัน ผิวเรียบ และวัสดุชนิดเดียวกัน

2.  ความสมดุล  (Balance) 
 
ความสมดุลหรือดุลยภาพ หมายถึง ความเท่ากันเสมอกัน มีน้ำหนัก หรือความกลมกลืนพอเหมาะพอดี โดยมีแกนสมมติทำหน้าที่แบ่งภาพให้ซ้ายขวา บน ล่าง ให้เท่ากัน การเท่ากันอาจไม่เท่ากันจริง ๆ ก็ได้ แต่จะเท่ากันในความรู้สึกตามที่ตามองเห็น
     ความสมดุลแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้

  

     2.1. ความสมดุล2 ข้างเท่ากัน (Symmetrical Balance) หมายถึง การจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ของศิลปะให้ทั้ง 2 ข้างแกนสมมติมีขนาด สัดส่วน และน้ำหนักเท่ากัน หรือมีรูปแบบเหมือนกันคล้ายกัน เช่น การวาดภาพที่ซ้ายขวา
เหมือนกันมาก

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

ความสมดุล 2 ข้างเท่ากัน ในเรื่องรูปร่าง และรูปทรง

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

ความสมดุล 2 ข้างเท่ากัน ในส่วนของขนาดและปริมาณ

   2.2. ความสมดุล2 ข้างไม่เท่ากัน (Asymmetrical Balance) หมายถึง การจัดองค์ประกอบของศิลปะ ทั้ง 2 ข้างแกนสมมติมีขนาดสัดส่วนน้ำหนักไม่เท่ากัน ไม่เหมือนกัน ไม่เสมอกัน แต่สมดุลกันในความรู้สึก

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

ความสมดุล 2 ข้างไม่เท่ากัน คือภาพมีความสมดุลย์ของเนื้อหาและเรื่องราวแต่ไม่เท่ากันในเรื่องขนาด น้ำหนัก

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

 

ความสมดุล 2 ข้างไม่เท่ากัน คือภาพมีความสมดุลย์ของเนื้อหาและเรื่องราวแต่ไม่เท่ากันในเรื่องขนาด น้ำหนัก

3.  จังหวะ จุดเด่น  (Dominance)
1.จุดเด่น  หรือจุดสนใจ   หมายถึง    ส่วนสำคัญที่ปรากฏชัด  สะดุดตาที่สุดในงานศิลปะ จุดเด่นจะช่วยสร้าง
                ความน่าสนใจในผลงานให้ภาพเขียนมีความสวยงาม มีชีวิตชีวายิ่งขึ้น   จุดเด่นเกิดจากการจัดวางที่
                เหมาะสม  และรู้จักการเน้นภาพ   (Emphasis)  ที่ดี  จุดเด่น มี  2   แบบ  คือ
                1.จุดเด่นหลัก  เป็นภาพที่มีความสำคัญมากที่สุดในเรื่องที่จะเขียน   แสดงออกถึงเรื่องราวที่ชัดเจน   เด่นชัดที่สุดในภาพ

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

                2.จุดเด่นรอง  เป็นภาพประกอบของจุดเด่นหลัก  ทำหน้าที่สนับสนุนจุดเด่นหลัก  ให้ภาพมีความสวยงามยิ่งขึ้น เช่น ในภาพจุดเด่นรองได้แก่ รูปเรือ
การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

จังหวะ ทางศิลปะได้แก่ความสอดคล้องของภาพที่มีความเท่ากันขององค์ประกอบในภาพ เช่นกลีบของดอกไม้ มีการจัดวางตามธรรมชาติที่เท่ากัน
การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

คลื่นทะเล เป็นการจัดองค์ประกอบศิลป์เรื่องจังหวะ
การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด
การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

ภาพที่แสดงในเรื่องของจังหวะอีกภาพ
การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

4.  ความกลมกลืน  (Harmony)
ภาพด้านล่างเป็นความกลมกลืนด้านเรื่องราวที่สอดคล้องเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาต และเป็นความกลมกลืนในเรื่องสีวรรณะเดียวกัน

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

 

5.  ความขัดแย้ง  (Contrast)

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

ขัดแย้งด้วยรูปทรง         ขัดแย้งด้วยขนาด        ขัดแย้งด้วยเส้น       ขัดแย้งด้วยผิว           ขัดแย้งด้วยสี
ความขัดแย้งที่กล่าวมาถูกจัดวางเพื่อให้เกิดความงามทางศิลปะ

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

เป็นภาพความขัดแย้งเรื่องสีแต่ทำให้เกิดความลงตัวด้วยการเบล็คสีโทนเย็นของกลุ่มคนพายเรือลำที่อยู่ตรงกลาง
การจัด องค์ประกอบ ศิลป์ ที่ต้องการ ให้ เป็นอัน หนึ่งอัน เดียวกัน คือ ข้อ ใด

 ความตัดกันของสี แต่กลมกลืนเรื่องรูปร่างและรูปทรง

6. ขนาด สัดส่วน (Size  Proporty)
ในการวาดภาพขนาดและสัดส่วนมีความสำคัญมาก ทุกส่วนของภาพวาดจะต้องมีความสอดคล้องกันของขนาดและสัดส่วน จะผิดเพี้ยนไม่ได้