ข้อใดคือ การย้ายมวล (Mass Wasting)

โคลนถล่ม (อังกฤษ: Mudflow) เป็นภัยธรรมชาติ คือ คำเรียกรวมๆของการเคลื่อนที่ของมวลสาร (Mass movement หรือ mass-wasting) ซึ่งคือ กระบวนการเคลื่อนตัวของมวลหิน ดินและทรายลงมาตามความลาดชัน (Slope) ภายใต้แรงดึงดูดของโลก (Gravity) เป็นหลัก โดยอาจอาศัยตัวกลางระหว่างการพัดพา ยกตัวอย่างเช่น น้ำ, ลมและธารน้ำแข็ง ซึ่งตัวกลางเหล่านี้เป็นตัวช่วยเสริมการย้ายมวล ดังนั้นหากตะกอนอิ่มตัวด้วยน้ำ แรงเสียดทานระหว่างเม็ดตะกอนจะลดลง การย้ายมวลจึงเกิดได้ดีขึ้น

ส่วนใหญ่การย้ายมวลที่กล่าวถึงกันบ่อยๆ คือ แผ่นดินเลื่อน (Landslide) หรือดินถล่ม โดยรวมเอาวิธีการย้ายมวลทุกรูปแบบไว้ด้วยกัน ซึ่งความจริงยังไม่ถูกต้องมากนัก รูปแบบการย้ายมวลมีหลายกระบวนการด้วยกัน โดยถือปัจจัยเหล่านี้เป็นตัวกำหนด

  1. ความเร็วของการย้ายมวล
  2. ปริมาณน้ำที่เข้ามาเกี่ยวข้อง
  3. ชนิดของสารที่เกิดการย้ายมวล
  4. ความลาดชันของพื้นที่

หากจำแนกตาม Sharpe (1938) จะพิจารณาความเร็วของการย้ายมวล ปริมาณน้ำและความลาดชันของพื้นที่เป็นสำคัญ โดยเรียงลำดับจาก ปริมาณน้ำน้อยและมีการเคลื่อนตัวของมวลสารมาก ในพื้นที่ความลาดชันสูง – ปริมาณน้ำมากและมีการเคลื่อนตัวของมวลสารน้อย ในพื้นที่ความลาดชันต่ำ ดังนี้

  1. แผ่นดินถล่ม (Landslide)
  2. กองหินจากการถล่ม (Debris avalanches) ซึ่งเป็
    นการถล่มอย่างรวดเร็วจากเทือกเขาสูงชัน โดยอัตราความเร็วอาจมากกว่า 800 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สามารถทำลายสิ่งต่างๆที่ขวางกั้น
  3. ดินเลื่อน (Earth flow) เป็นการเคลื่อนตัวของหินหรือหินผุตามไหล่เขาหรือลาดเขาจากแรงดึงดูดของโลก การเลื่อนตัวเป็นไปอย่างช้า ๆจนสามารถกำหนดขอบเขตของการเลื่อนตัวด้านข้าง ถ้าปริมาณน้ำมากขึ้นและการเคลื่อนตัวเร็วขึ้นดินเลื่อนอาจเปลี่ยนเป็นโคลนไหล (Mud flow)
  4. น้ำหลากแผ่ซ่าน (Sheet flood) เป็นลักษณะการหลั่งไหลของน้ำแผ่ซ่านจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ขณะฝนตกหนัก เพราะปริมาณน้ำมีมากจนไหลลงร่องห้วยลำธารต่างๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการไหลแผ่ซ่าน (Sheet flow) ของน้ำออกเป็นผืนบางๆบนผิวดิน
  5. การกร่อนแบบพื้นผิว (Slope wash, sheet flood erosion, unconcentrated wash, rain wash หรือ surface wash) เป็นการกร่อนผุพังของพื้นผิวที่มักเกิดในฤดูฝน เพราะน้ำฝนไหลหลากลงสู่ร่องลำธารต่างๆไม่ทันจึงไหลแผ่ซ่านไปตามพื้นดินที่ต่ำกว่า ทำให้เกิดการกัดกร่อนเป็นบริเวณกว้างกว่าน้ำหลากแผ่ซ่าน (Sheet flood)
  6. ธารน้ำ (Stream)


ดินถล่ม


          �������͹���ͧ��� (mass movement) ���¶֧ ��÷����ʴظ����ҵԷ�����躹���͡�š �� �Թ �Թ ������ �ա������͹����������Ҵ���§�ͧ��鹷�� ������ç�֧�ٴ�ͧ�š ��觡������͹���ͧ��ʴ�����ҹ�� �Դ�ҡ�Ѩ��·���Ӥѭ���»�С������

          -�����ѹ�ͧ��鹷�� ��Ҿ�鹷�����դ����ѹ�ҡ �������͹���ͧ��š���Դ�����������ç�����ǧ���繵�ǢѺ����͹�����ʴ�����ҹ������͹���ŧ� �����ç��͹ (shear force) ��袹ҹ�Ѻ�����Ҵ���§�繵�Ƿ������ʴ�����͹ŧ ��駹��������Ѻ�����״�ͧ��鹼�Ǵ��� ��Ҿ�鹷�����դ����״�ҡ�����ç��͹ �ѵ������ҹ�鹡��������ö����͹���ŧ����дǡ

           -��� ���繻Ѩ��·���Ӥѭ�ա��С��˹�� �������������͹���ͧ����Դ��� ����ջ���ҳ���㹾�鹷�����ҡ��з����������͹���ѧ�����Դ������������Ǵ���Ǣ�� ��ж�Ҿ�鹷�����յ�����˭軡���������ҡ ������ҡ�ת��ª����ִ˹�ҴԹ�����觷�����Դ�������͹���ͧ����Ǵ������觢���ա

           -��Դ�ͧ�Թ����ç���ҧ�ͧ�Թ���ռŵ�͡������͹���ͧ��Ŵ����蹡ѹ ��Ҿ�鹷���鹻�Сͺ�����Թ����ʴ �����ᵡ ����¡��Թ���� ����դ�����ҹ�ҹ�ҡ�����Թ�ط�������ᵡ �������������Թ�ҡ

สรปุ เนือ้ หา . แบบฝึกหัด

วทิ ยาศาสตร์โลก

7

การผุพังและยา้ ยมวล

WEATHERING AND MASS WASTING

สันติ ภยั หลบล้ี

สนั ติ ภัยหลบล้ี การผุพงั และการยา้ ยมวล

วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เพ่อื ทาความเข้าใจเกยี่ วกบั กระบวนผพุ งั ท้งั ทางกายภาพและเคมี
2. เพ่อื เข้าใจกระบวนการเกดิ และการจาแนกชนดิ ของดนิ
3. เพ่ือจาแนกภยั พบิ ัติการยา้ ยมวล

สารบญั หนา้
1
สารบัญ 2
1. การผพุ งั (Weathering) 5
2. การผพุ ังทางกายภาพ (Physical Weathering) 9
3. การผุพงั ทางเคมี (Chemical Weathering) 14
4. ดนิ (Soil) 20
5. การยา้ ยมวล (Mass Wasting) 23
6. ชนิดของการยา้ ยมวล (Type of Mass Wasting) 35
36
อา้ งอิง 51
แบบฝกึ หัด
เฉลยแบบฝึกหดั

1

สนั ติ ภยั หลบล้ี การผพุ งั และการยา้ ยมวล

1

การผพุ งั

Weathering

การผุพัง (Weathering) หมายถึง กระบวนการบนพ้ืนผวิ โลกท่ที าใหห้ ิน
ยอ่ ยสลายเปน็ ช้ินขนาดเล็กลงโดยท่ีไม่มีการเคล่ือนท่ีของหิน ซ่ึงศักยภาพหรืออตั รา
การผพุ งั ขึ้นอยกู่ ับหลายปจั จัย ได้แก่ [Dearman, 1974]

1) เสถียรภาพของแร่ประกอบหิน (stability of rock-forming
mineral) หินในแต่ละชนิดประกอบด้วยแร่ท่ีแตกต่างกัน ซึ่งจากหลักการของชุด
ปฏิกิริยาของโบเวน (รูป 1) แร่ท่ีเกิดในช่วงอุณหภูมิสูง เช่น แร่โอลิวีน จะมีความ
เสถียรต่าและผุพังได้ง่ายกว่าแร่ท่ีเกิดข้ึนในช่วงอุณหภูมิต่า ซ่ึงใกล้เคียงกับสภาวะ
ปกตขิ องโลก เช่น แร่ควอซ์ตหรอื ไมกา

2

สันติ ภัยหลบลี้ การผพุ ังและการย้ายมวล

รปู 1. ชดุ ปฏกิ ริ ยิ าของโบเวน (Bowen’s reaction series)

2) พื้นที่ผิว (surface area) หินที่มีพ้ืนที่ผิวมากจะมีอัตราการผุพังท่ีสูง
ดังน้ันยิ่งหินมีขนาดเล็ก อัตราการผุพังก็จะเร็วขึ้น (รูป 2) รวมท้ังระยะเวลาที่หิน
โผล่บนพน้ื ผวิ โลก ซง่ึ ยง่ิ สมั ผสั อากาศเป็นเวลานานยิง่ ทาให้มกี ารผพุ ังมากข้ึนเช่นกัน

รปู 2. พื้นทีผ่ วิ ของหนิ ท่ีสัมพนั ธก์ ับอตั ราการผุพงั
3

สนั ติ ภัยหลบลี้ การผพุ งั และการยา้ ยมวล

3) เนื้อหิน (rock texture) หินที่มีแนวรอยแตกมาก เช่น หินชนวน มี
โอกาสผพุ ังไดง้ ่ายกว่าหินท่มี เี นื้อมวลหนา เชน่ หินปนู หรอื หินอ่อน (รปู 3)

4) ภูมิอากาศ (climate) อุณหภูมิและความชื้นเป็นปัจจัยสาคัญต่อการ
เรง่ ปฏกิ ิรยิ าในการผพุ งั เช่น สภาพอากาศรอ้ นชืน้ ทาให้อัตราการผุพังเร็วข้ึน อีกทั้ง
ทาใหพ้ ืชเติบโตและชอนไชตามซอกหินได้ดขี ึ้น

รปู 3. เนอื้ หินทส่ี ัมพนั ธ์กบั อตั ราการผพุ งั
4

สนั ติ ภยั หลบล้ี การผพุ งั และการยา้ ยมวล

2

การผพุ ังทางกายภาพ

Physical Weathering

การผพุ ังทางกายภาพ (physical weathering) หมายถงึ การผุพังทที่ า
ให้หินแตกเป็นช้นิ เลก็ ลงแต่ไม่เปล่ียนแร่องค์ประกอบภายในหิน ซ่ึงสาเหตหุ ลกั ของ
การผุพงั ทางกายภาพแบ่งยอ่ ยเปน็ 5 รูปแบบ คอื [Duff, 1993]

1) การคลายแรงดัน (pressure release) คือ การผุพังท่ีเกิดจากหินใต้
พื้นผิวโลกซึ่งเดิมเคยถูกกดทับด้วยน้าหนักของหินหรือดินด้านบนอย่างสมดุล แต่
เมื่อหินหรือดินด้านบนถูกกัดกร่อนไป หินเดิมจึงคลายแรงดัน ขยายตัวและแยก
ออกตามแนวรอยแตกเดิม บางคร้งั อาจแตกตามแนวขนานกับพ้ืนผวิ หนิ สภาพการ
แตกจึงมีลักษณะเป็นแผ่นหินบางหุ้มซ้อนกันคล้ายกับเปลือกหอมหัวใหญ่ เรียก
ลักษณะการแตกแบบน้ีว่า การแตกเป็นกาบ (exfoliation) (รูป 4ก) เช่น การ

5

สันติ ภยั หลบล้ี การผุพังและการย้ายมวล

แตกของหินเป็นกาบใน อุทยานแห่งชาติโยเซมิตี (Yosemite National Park)
ประเทศสหรัฐอเมรกิ า (รูป 4ข)

2) การเปล่ียนแปลงอุณหภูมิ (thermal expansion) คือ การผุพังที่
เกิดจากการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิของหินร้อน-เย็นสลับกัน ทาให้หินขยาย-หดตัว
และผุพัง พบมากในสภาพแวดล้อมแบบทะเลทราย ซึ่งมีอุณหภูมิแตกต่างกันมาก
ในชว่ งกลางวนั -กลางคนื (รปู 5ก)

รูป 4. การผุพังที่เกดิ จากการคลายแรงดัน
6

สันติ ภัยหลบลี้ การผุพังและการย้ายมวล

รูป 5. สาเหตกุ ารผพุ ังทางกายภาพ

3) การเปล่ียนแปลงความช้ืน (alternate wetting and drying) คือ
การผุพงั ที่เกิดจากการดูดซึม-ระเหยของน้าในหินสลับกัน ทาให้หินมีการขยาย-หด
ตัว และผุพัง โดยส่วนใหญ่เกิดกับหินตะกอนท่ีมีเม็ดตะกอนขนาดเล็กและมีแร่ดิน
เป็นองค์ประกอบสูง เนอื่ งจากแร่ดินสามารถขยายตัวได้ถึง 60% เมอ่ื ได้รับความชน้ื
และหดตัวลงคงเดิมหากน้าระเหยออกไป ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดคือ การแตกระแหง
ของโคลนเมือ่ น้าระเหยออกไป

4) การเกิดล่ิมน้าแข็งและล่ิมเกลือ (frost and salt wedging) คือ
การผุพังเนื่องจากหินที่มีน้าหรือเกลือ เป็นองค์ประกอบหรือแซกอยู่ตามรอยแตก
โดยน้าจะมีปริมามาตรเพิ่มขึ้นเมื่อกลายเป็นน้าแข็ง และเกลือสามารถขยายตัวได้

7

สันติ ภัยหลบล้ี การผพุ งั และการยา้ ยมวล

เมื่อได้รับความร้อน ดังนั้นเมื่อมีการเปล่ียนสถานะของน้าเป็นน้าแข็งหรือการเพิ่ม
อุณหภมู ิให้เกลือ หนิ จะมีการขยาย-หดตัว และผุพงั โดยกระบวนการล่ิมนา้ แขง็ พบ
มากบริเวณใกล้ขวั้ โลก ส่วนลิ่มเกลอื พบในพ้ืนทแี่ ห้งแล้งหรอื ใกลท้ ะเล

5) กิจกรรมของสง่ิ มชี วี ิต (biological activity) คือ การผพุ งั ทีเ่ กดิ จาก
การกระทาของทั้งพืช สัตว์และคน เช่น รากพืชชอนไชหิน เช้ือราและไลเคนหล่ัง
กรดอินทรีย์ที่ช่วยละลายแร่ธาตุในหิน การขุดรูของสัตว์ (รูป 5ข-ค) ตลอดจน
กิจกรรมของมนุษย์ เช่น การระเบิดเพ่ือทาเหมืองก็เป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิด
กระบวนการผุพงั เชน่ กัน (รปู 5ง)

8

สันติ ภยั หลบลี้ การผุพังและการย้ายมวล

3

การผพุ งั ทางเคมี

Chemical Weathering

การผพุ ังทางเคมี (chemical weathering) หมายถึง การผุพังจากการ
เปลี่ยนแปลงองคป์ ระกอบทางเคมีของแรใ่ นหิน กลายเป็นแรช่ นิดใหม่ แบง่ ยอ่ ยเป็น
6 รปู แบบ ตามปฏิกิรยิ าทางเคมี คอื [Duff, 1993]

1) กระบวนการไฮโดรไลสสิ (hydrolysis) คอื กระบวนการทีไ่ ฮโดรเจน
ไอออน (H+) หรือ ไฮดรอกซิลไอออน (OH-) ของน้าทาปฏิกิริยากับไอออนของแร่
โดยเฉพาะหมวดแรซ่ ิลิเกต เช่น แร่เฟลด์สปาร์ (KAlSi3O8) ผุพังกลายเป็นแร่ดินคา
โอลีไน ต์ (Al2Si2O5 (OH) 4) ด้วยเหตุน้ีหินแกรนิตซึ่งมีแร่เฟลด์สปาร์เป็น
องค์ประกอบอยู่มากจึงผุพังได้ง่ายโดยเฉพาะในภูมิอากาศแบบร้อนช้ืน (ดูรูป 6
ประกอบ)

9

สนั ติ ภัยหลบลี้ การผพุ ังและการย้ายมวล

KAlSi3O8 + H2CO3 + H2O → Al2Si2O5 (OH) 4 + 2K+ + 2HCO3-+ 4SiO2

โปแตสเซียมเฟลด์สปาร์ + กรดคาร์บอนกิ + นา้ → คาโอลีไนต์ + โปแต
สเซียม + ไอออนไบคาร์บอเนต + คอวซ์ต

รูป 6. ความแตกต่างในการผุพังของเสาหินแกรนิตซ่ึงมีแร่เฟลด์สปาร์เป็น
องคป์ ระกอบ จากสภาพอากาศทแ่ี ตกต่างกนั

10

สนั ติ ภยั หลบลี้ การผพุ ังและการย้ายมวล

2) กระบวนการไฮเดรชัน (hydration) คือ กระบวนการท่ีแร่ดูดซึมน้า
ทาให้แรข่ ยายตัว และเน่ืองจากกระบวนการไฮเดรชนั เกิดปฏกิ ิริยาย้อนกลบั ไดง้ ่าย
ดังนั้นเม่ือแร่มีการสลบั กันระหว่างการรับ-เสียน้า ทาให้หินมีการขยาย-หดตัว และ
ผุพังเหมือนกับการผุพังทางกายภาพแบบการเปล่ียนแปลงความช้ืน เช่น แร่ฮีมา
ไทท์ (Fe2O3) เปลยี่ นเป็นแร่ไลมอไนท์ (2Fe2O3.3H2O)

2Fe2O3 + 3H2O → 2Fe2O3.3H2O

ฮีมาไทท์ + นา้ → ไลมอไนท์

3) กระบวนการออกซิเดชัน (oxidation) คือ กระบวนการท่ีเกิดจาก
การรวมตัวกันของแร่ น้าและออกซิเจน ทาให้เกิดการเพ่ิมประจุบวกหรือลดประจุ
ลบของไอออนลง ผลท่ีได้คือคราบสนิมเหล็กสีน้าตาลตามเม็ดแร่ เช่น แร่ไพไรต์
(FeS2) ถูกออกซิไดส์กลายเป็นกรดกามะถนั (H2SO4)

2FeS2 + 2H2O + 15O2 → 2Fe2 (SO4) 3 + 2H2SO4

ไพไรต์ + นา้ → เหลก็ ซัลเฟต + กรดกามะถนั

ต่อมากรดกามะถันทาปฏิกิริยากับ แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) และ
นา้ เกิดเปน็ แรย่ ิปซมั่ (CaSO4 2H2O)

11

สันติ ภยั หลบล้ี การผุพงั และการย้ายมวล

H2SO4 + CaCO3 + 2H2O → CaSO4 2H2O + H2CO3
กรดกามะถนั + แคลเซยี มคาร์บอเนต + น้า → ยปิ ซม่ั

4) กระบวนการรีดักชัน (reduction) คือ กระบวนการที่เกิดปฏิกิริยา
ตรงกันขา้ มกับกระบวนการออกซิเดชัน โดยส่วนใหญ่เกิดในบรเิ วณทีม่ ีนา้ ขงั (รูป 7
ก) ในสภาพไร้อากาศ หรือไม่มีออกซิเจนอิสระเนื่องจากมวลน้าปิดทับ เช่น
กระบวนการรดี ักชันที่เปลย่ี นเหลก็ เฟอรร์ ิก (Fe3+) ไปเป็นเหล็กเฟอร์รสั (Fe2+) ถือ
เป็นการคายหรือคนื สภาพตวั เองของไอออนเหล็กให้สามารถละลายไดง้ ่ายขน้ึ

5) กระบวนการคาร์บอเนชัน (carbonation) คือ กระบวนการที่ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ทาปฏิกิริยากับน้า กลายเป็นกรดคาร์บอนิก หรือ ฝน
กรด (acid rain) ซ่ึงฝนกรดน้ันเม่ือทาปฏิกิริยากับแคลเซียมคาร์บอเนต หรือ
หนิ ปูน ทาให้หนิ ปนู ผพุ งั กลายเปน็ แคลเซยี มไบคารบ์ อเนต (Ca(HCO3) 2) (รูป 7ข)

CaCO3 + H2O + CO2 → Ca (HCO3) 2

แคลเซียมคาร์บอเนต + นา้ + คาร์บอนไดออกไซด์ → แคลเซียมไบคารบ์ อเนต

ซ่ึงในธรรมชาติก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น
การปะทุของภูเขาไฟ การหายใจของพืช ตลอดจนการย่อยสลายอินทรียวัตถุโดย
แบคทีเรยี นอกจากน้กี ิจกรรมหลายอย่างของมนุษย์กส็ ร้างกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์
ไดเ้ ชน่ กัน ทง้ั จากโรงงานอตุ สาหกรรมหรือการทาเหมอื ง

12

สันติ ภยั หลบล้ี การผุพงั และการยา้ ยมวล

รูป 7. สาเหตกุ ารผพุ ังทางเคมี

6. กระบวนการละลาย (disolution) คือ กระบวนการท่ีเกิดจากการ
เคล่ือนย้ายแร่ธาตุที่ละลายได้ออกไป เช่น แคลเซียมไบคาร์บอเนต (Ca (HCO3) 2)
ท่ีได้จากกระบวนการคาร์บอเนชัน สามารถละลายและถูกชะล้างออกได้ด้วยน้า
นอกจากน้แี รเ่ ฮไลด์ ยิปซั่ม แคลไซต์ ยังสามารถละลายและชะล้างไปไดด้ ้วยนา้ ซึ่ง
ถือว่าเป็นการผุพังทางเคมีโดยตรงท่ีไม่ต้องอาศัยปฏิกิริยาท่ีซับซ้อนเหมือนกับ
กระบวนการอืน่ ๆ

CaCO3 + H2CO3 + 2H+ → 2H2O + 2CO2 + Ca2+

แคลไซต์ + กรดคาร์บอนกิ + ไอออนไฮโดรเจน → น้า + คารบ์ อนไดออกไซด์
+ ไออนแคลเซยี ม

13

สันติ ภยั หลบล้ี การผุพังและการยา้ ยมวล

4

ดนิ

Soil

ดิน (soil) คือ วัตถุทางธรรมชาติที่ปกคลุมพื้นผิวโลกและช่วยในการ
เจรญิ เติบโตของพืช ประกอบด้วยเศษหินและแร่ประมาณ 45% น้าประมาณ 25%
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจนและก๊าซออกซิเจนประมาณ 25% รวมทั้ง
อินทรยี วตั ถุจากซากพืชซากสตั ว์อีกประมาณ 5% (รูป 8ก) ซึ่งเนื้อดินโดยส่วนใหญ่
จะมีความพรุนสูง ระบายน้าและอากาศได้ดี ดังน้ันด้วยคาจากัดความ ดิน (soil)
จงึ แตกต่างจาก ตะกอน (sediment) ซ่ึงมีองค์ประกอบเฉพาะเศษหินและแร่เป็น
หลกั เทา่ นั้น (รปู 8ข)

14

สนั ติ ภัยหลบล้ี การผุพังและการยา้ ยมวล

รปู 8. (ก) ดิน (soil) (ข) ตะกอน (sediment)

4.1. การเกดิ ดนิ (Soil Forming)
ก ร ะ บ ว น ก า ร เกิ ด ดิ น เริ่ ม ต้ น จ า ก เศ ษ หิ น แ ล ะ แ ร่ ที่ เป็ น ผ ล ม า จ า ก

กระบวนการผุพัง เมื่อถูกฝนชะล้างตะกอนขนาดเล็กรวมท้ังสารละลายต่างๆ จะ
ไหลผ่านลงไปดา้ นลา่ ง เกิดการเปล่ียนแปลงและแยกช้นั ระหว่างช้ันบนทถี่ ูกชะล้าง
และชั้นล่างที่มีการสะสมตัวของตะกอนขนาดเล็กและสารละลายที่ไหลลง ซ่ึง
Jenny [1941] ได้จาแนกปัจจยั การเกิดดนิ ออกเปน็ 5 ปจั จยั ไดแ้ ก่

1) วัตถุต้นกาเนิดดิน (parent material) ได้แก่ เศษหินและแร่ที่ได้
จากการผุพังอยู่กับที่ ตะกอนที่ถูกพัดพามาจากแหล่งอ่ืน อินทรียวัตถุ โดยวัตถุต้น
กาเนดิ แตกต่างกนั ทาใหเ้ กิดดนิ ท่แี ตกต่างกนั

2) ภูมิประเทศ (topography) โดยพ้ืนท่ีซ่ึงมีความชันสูงจะมีอัตราการ
กัดเซาะสงู ดนิ สูง ทาใหด้ นิ พัฒนาได้ช้ากวา่ ท่รี าบซ่งึ มอี ตั ราการกดั เซาะต่า

15

สนั ติ ภัยหลบล้ี การผพุ ังและการยา้ ยมวล

3) ภูมิอากาศ (climate) โดยเฉพาะความช้ืนและอุณหภูมิ เช่น ใน
บริเวณเภูมิอากาศร้อนชื้น ความช้ืนสูงทาให้หินและแร่ผุพังเร็วข้ึน ส่วนอุณหภูมิ
สง่ ผลต่อปฏกิ ิรยิ าในการย่อยสลายอินทรยี วัตถขุ องจลุ นิ ทรีย์ในดนิ

4) ส่ิงมีชีวิต (organism) พืชและสัตว์จะช่วยในกระบวนการย่อยสลาย
และเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการเกดิ อินทรียวัตถุซึง่ ทาให้ดนิ สมบูรณข์ ้ึน

5. เวลา (time) ปัจจัยท้ังหมดดังท่ีอธิบายในข้างต้น สัมพันธ์กับเวลา
เน่ืองจากเม่ือเวลาผ่านไปการพัฒนาช้ันดินจะมากข้ึนมีความหนามากขึ้นและมกี าร
แยกช้นั ชัดเจนขนึ้

วิชาท่ศี กึ ษาเกีย่ วกบั ดิน เรยี กว่า
ปฐพีวิทยา (Soil Science)

4.2. หน้าตดั ดิน (Soil Profile)
หน้าตัดดิน (soil profile) หมายถึง การลาดับ ช้ันดิน (horizon) ใน

แนวดิ่ง ตามคุณสมบัติทางกายภาพ เช่น สี องค์ประกอบ ตลอดจนความช้ืน ซ่ึง
โดยทั่วไปช้ันดนิ สามารถแบง่ ย่อยเป็น 5 ช้ัน คือ (รูป 8)

1) ชั้น O หรือ ชั้นดินอินทรีย์ เป็นชั้นบนสุด มีสีคล้าเน่ืองจากมี
อินทรียวัตถุเป็นองค์ประกอบจานวนมาก ชน้ั ดิน O โดยส่วนใหญพ่ บในปา่ ทึบ สว่ น
พ้นื ทก่ี ารเกษตร ชน้ั ดิน O ไม่พบชัดเจน เนอื่ งจากถูกรบกวนจากการทาเกษตร

2) ชั้น A หรือ ช้ันดินบน มีสีเข้ม ประกอบด้วยเศษหินและแร่ปะปนกัน
กับอินทรียวัตถุที่ถูกชะล้างลงมาจากชั้นดิน O โครงสร้างดินจะเป็นแบบก้อนกลม
แต่หากดินมกี ารอดั ตวั โครงสร้างอาจเป็นแบบแผน่

16

สนั ติ ภยั หลบล้ี การผุพังและการย้ายมวล

รูป 8. หน้าตัดดนิ (soil profile) [Wilsonbiggs]
17

สนั ติ ภัยหลบล้ี การผพุ งั และการย้ายมวล

3) ช้นั B หรอื ช้ันดินล่าง เป็นชัน้ สะสมตัวของสงิ่ ต่างๆ ที่ถูกชะลา้ งลงมา
โครงสรา้ งดินเป็นก้อนเหลย่ี ม ช้ันดิน B โดยส่วนใหญจ่ ะมีสนี ้าตาลปนแดงเนื่องจาก
มีการสะสมตัวของเหล็กออกไซด์

4) ชั้น C หรือ ชั้นดินวัตถุต้นกาเนิดดิน เป็นช้ันดินท่ีเกาะตัวกันอยู่
หลวมๆ ประกอบด้วยหนิ และแร่ที่กาลังผุพังจากชน้ั หินฐานด้านลา่ ง ไมม่ ีการสะสม
ตวั ของวสั ดทุ ่ไี ด้จากการชะล้างชน้ั ดินด้านบน

5) ช้นั R หรอื ชั้นหินฐาน (bedrock) เป็นชั้นหินแข็งที่ยังไม่ผพุ ัง อาจมี
หรอื ไมม่ ีในหน้าตัดดินกไ็ ด้

4.3. ชนิดของดิน (Type of Soil)
ดินจาแนกได้ 3 ชนิด ตามหลักการเกษตรกรรม คือ (รูป 9)
1) ดินพีดอลเฟอร์ (pedalfer) เกิดจากภูมิอากาศท่ีชุ่มชน้ื สูงตลอดทั้งปี

จึงมแี ร่เหล็กและอะลูมิเนยี มจานวนมากสะสมอยู่ โดยช้นั B จะมสี นี ้าตาลทเี่ กดิ จาก
แร่ดินเป็นส่วนใหญ่ ช้ันดนิ นก้ี อ่ ตวั ได้ดใี นสภาพแวดลอ้ มแบบปา่ ดงดิบท่ชี ุ่มชืน้

2) ดินเพโคดอล (pedocal) เกิดจากภูมิอากาศแห้งแล้ง อัตราการ
ระเหยสูง เกิดแนวชั้นของแคลเซียมคาร์บอเนตสีขาว เรียกว่า คาลิเช (caliche)
ในช้ัน B เนื่องจากแคลไซต์จากชั้นดินหรือระดับน้าใต้ดินด้านล่างระเหยข้ึนมา ชั้น
ดนิ น้กี อ่ ตวั ได้ดใี นพน้ื ที่แห้งแลง้ เชน่ ทะเลทราย มีพันธ์ไมเ้ ปน็ พมุ่

3) ศิลาแลง (laterite) เกิดในภูมิอากาศแบบร้อนชื้นหรือมรสุม มีการ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิร้อน-หนาว และความช้ืนแห้ง-เปียก สลับกันอยู่ตลอดเวลา
ทาให้มีอัตราการผุพังทางเคมีสูง ดินมีลักษณะเป็นสีแดงเน่ืองจากเหล็กออกไซด์
และอะลูมเิ นยี มออกไซด์ แตโ่ ดยสว่ นใหญไ่ มพ่ บการแยกช้ันอย่างชัดเจนของช้นั B

18

สนั ติ ภยั หลบล้ี การผุพงั และการยา้ ยมวล

รปู 9. หนา้ ตัดดนิ ชนดิ ต่างๆ ที่สมั พันธ์กับภมู ิอากาศ
19

สนั ติ ภยั หลบล้ี การผพุ ังและการย้ายมวล

5

การย้ายมวล

Mass Wasting

การย้ายมวล (mass wasting) หมายถึง กระบวนการเคล่ือนตัวของ
มวลหิน เศษชิ้นตะกอนและดินตามความลาดช้ันดว้ ยแรงโน้มถ่วงของโลกเป็นหลัก
โดยไม่มีตัวกลางในการพัดพา เช่น น้า ลม ธารน้าแข็ง เข้ามาสัมพันธ์ เป็น
กระบวนการท่ีต่อเน่ืองมาจากการผุพัง เพ่ือปรับสภาพพื้นผิวโลกให้มีความสมดุล
โดยพื้นที่สูงชันย้ายมวลไปสู่พ้ืนท่ีต่า ซึ่งบางครั้งการย้ายมวลสามารถทาให้เกิดภัย
พิบัติต่อมนุษย์ โดยปจั จยั ท่ีส่งผลต่อระดบั ความรุนแรงและชนดิ การย้ายมวล ได้แก่

1) ความชัน (slope) โดยแสดงในรูปแบบของ มุมตอบสนอง (angle
of respond) ซ่ึงหมายถึง มุมของความชันที่วัสดุสามารถเกาะตัวอยู่ได้อย่าง
เสถียรและสมดลุ (รูป 10) ซง่ึ มมุ ตอบสนองจะข้ึนอยู่กับขนาด รปู ร่างและความเป็น

20

สันติ ภยั หลบล้ี การผพุ ังและการยา้ ยมวล

เน้ือเดียวกันของวัสดุ โดยตะกอนขนาดใหญ่จะมีมุมตอบสนองกว้างกว่าตะกอน
ขนาดเล็ก เช่น ทรายละเอียดมีมุมตอบสนอง 35 องศา ทรายหยาบมมี ุมตอบสนอง
40 องศา และกรวดเหลย่ี มมมี ุมตอบสนอง 45 องศา เปน็ ต้น

รูป 10. ปจั จัยท่สี ง่ ผลต่อการเกาะตัวและการยา้ ยมวล

2) น้า (water) น้าตามช่องว่างของตะกอนทาให้แรงเสียดทานน้อยลง
และน้าหนักมากข้ึน ทาให้ประสิทธิภาพในการเกาะตัวกันของตะกอนลดลง (รูป
10) และเน่อื งจากนา้ ช่วยใหม้ วลลื่นไถลไดด้ ขี ้ึน วัสดุที่อิม่ น้าจึงเคล่ือนตัวได้เร็วขนึ้

3) การวางตัวของชั้นหิน (orientation of bed) การเอียงเทของช้ัน
หินส่งผลต่อโอกาสการย้ายมวล โดยมวลลื่นไถลได้งา่ ยไปตามแนวการเอียงเทหรือ
ระนาบรอยแตกของช้ันหิน

21

สันติ ภัยหลบล้ี การผพุ งั และการยา้ ยมวล

4) พืชคลุมดิน (vegetation) รากพืชชว่ ยยึดเกาะหน้าดินและชว่ ยยบั ยั้ง
การย้ายมวล ดังนั้นพื้นท่ีซ่ึงมีการตัดไม้ทาลายป่าหรือเกิดไฟไหม้ป่าบ่อยคร้ังจะมี
โอกาสสูงท่ีจะเกิดการย้ายมวล แต่บางครั้งหากพืชหนาแน่นมากเกินไปอาจเพิ่ม
น้าหนักใหพ้ ื้นทแ่ี ละเรง่ ใหม้ กี ารยา้ ยมวลไดง้ า่ ยขน้ึ เชน่ กัน

5) ตัวกระตุ้น (trigger) ได้แก่ 1) แรงสั่นสะเทือนจากคล่ืนไหวสะเทือน
หรือการระเบิดเพื่อทาเหมือง โดยสว่ นใหญ่กระตุ้นให้มีการย้ายมวลง่ายและเร็วข้ึน
เช่น ในกรณีของดินถล่มหลังจากแผ่นดินไหวขนาด 7.8 ที่ประเทศจีน พ.ศ. 2551
2) การปะทุของภูเขาไฟทาให้ความชันของภูเขาเพิ่มข้ึนพร้อมท้ังมีเถ้าภูเขาไฟ
จานวนมากที่ถับถมเป็นช้ันหนาในระยะเวลาอันส้ัน ทาให้มีโอกาสที่มวลเถ้า
เหล่านั้นจะเคล่อื นที่ในเวลาตอ่ มา เชน่ ดินถล่มหลังจากการปะทุของภเู ขาไฟเซนต์
เฮเลนส์ ในประเทศสหรฐั อเมริกา พ.ศ. 2523 3) การเกิดพายุ ฝนตกหนักและอย่าง
ต่อเนื่องเป็นการเพิ่มน้าให้กับพื้นที่อย่างรวดเร็ว เช่น ดินถล่มหลังจากพายุฝนใน
บราซิล พ.ศ. 2510 เปน็ ตน้

22

สนั ติ ภยั หลบล้ี การผุพังและการยา้ ยมวล

6

ชนิดของการยา้ ยมวล

Type of Mass Wasting

โดยสว่ นใหญ่ ประชาชนทัว่ ไปจะรู้จกั คุ้นชินและรวมการย้ายมวลท้ังหมด
เป็นการเกิดดินถล่ม อย่างไรก็ตาม หากศึกษาในรายละเอียด นักวิทยาศาสตร์
จาแนกการย้ายมวลออกเป็นชนิดต่างๆ โดยรูปแบบของการย้ายมวลในแต่ละชนิด
ขึ้นอยู่กับปัจจัยการย้ายมวล 3 ปัจจัย คือ 1) ชนิดวัสดุที่เคลื่อนท่ี เช่น หินแข็ง
ตะกอน ดิน หินมะ หรือน้าแข็ง 2) ปริมาณน้ามากหรือน้อย และ 3) รูปแบบการ
เคล่ือนท่ี เช่น การหล่น (fall) เล่ือน (slide) ไหลหลาก (flow) ซ่ึงผลรวมของท้ัง 3
ปัจจัยดังกล่าว ทาให้เกิดการย้ายมวลท่ีมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันท้ังในด้าน
ความเร็ว ขนาด และระดับของภัยพิบัติที่สามารถเกิดข้ึน โดยการย้ายมวลจาแนก
ตามลกั ษณะการเคลอ่ื นได้ 7 รูปแบบ ดงั น้ี (ดรู ปู 11 ประกอบ)

23

สนั ติ ภยั หลบลี้ การผุพังและการย้ายมวล

รูป 11. รูปแบบการยา้ ยมวล

6.1. การหล่น (Fall)
การหล่น (fall) เป็นการย้ายมวลในแนวดิ่งอย่างอิสระตามแรงโน้มถ่วง

ของโลก ซงึ่ ไม่มีปัจจัยด้านความชันเข้ามาเกยี่ วข้อง โดยส่วนใหญ่เกิดกับหินบริเวณ
หน้าผาสูงชัน เรียก หินหล่น (rock fall) [Hoek and Bray, 1977] ซึ่งถือเป็นภัย
พิบัติเน่ืองจากมีความเร็วสูงและไม่มีสัญญาณเตือนล่วงหน้า โดยเศษหินท่ีหล่นลง
มาจะสะสมบริเวณดา้ นลา่ งใกล้หนา้ ผา เรียก ลานหนิ ตีนผา (talus) (รปู 12)

24

สนั ติ ภัยหลบล้ี การผพุ ังและการย้ายมวล

รูป 12. สภาพแวดลอ้ มที่เกดิ จากการยา้ ยมวลแบบหินหล่น

6.2. การทลาย (Avalanche)
การทลาย (avalanche) เป็นการเคลื่อนที่ซึ่งคล้ายกับการหล่น แต่จะมี

การเล่ือนไถลปนกับการกระเด็นกระดอนอย่างรวดเรว็ ของมวลจานวนมากรวมอยู่
ด้วย โดยสว่ นใหญ่พบบริเวณลานหินตีนผา สาเหตุอาจจะเกิดจากการหล่นของหิน
ขนาดใหญ่ลงสู่ลานหินตีนผาด้านล่างที่มีการทับถมของเศษหินจานวนมากและสูง
ชัน ทาให้หินบริเวณลานหินตีนผาทลายเคลื่อนท่ีไกลออกไป ตัวอย่างการทลาย
ได้แก่ หินทลาย (rock avalanche) เศษหินทลาย (debris avalanche) และ
หมิ ะทลาย (snow avalanche) ซง่ึ ในกรณขี องหมิ ะพบเหน็ บอ่ ยทส่ี ดุ (รูป 13)

6.3. การเล่ือนถลม่ (Slide)
การเลื่อนถล่ม (slide) คือ การย้ายมวลตามความชันของพ้ืนที่ โดยไม่มี

การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ทิศทางหรือระนาบการเคล่ือนที่มากนัก โดยรวมนิยม
เรียกว่า ดินถล่ม (landslide) แต่หากต้องการช้ีเฉพาะถึงวัสดุที่ถล่มก็สามารถ

25

สันติ ภยั หลบลี้ การผุพงั และการย้ายมวล

จาแนกได้ เช่น หินถล่ม (rock slide) เศษหินถล่ม (debris slide) และ ดิน
ถล่ม (landslide) เป็นต้น (รูป 14) ซงึ่ เม่อื เปรียบเทียบกับการถล่มของวัสดุต่างๆ
หินถล่มจะมีความเร็วและภัยพิบัติสูงท่ีสุด ซ่ึงโดยส่วนใหญ่เกิดในบริเวณท่ีมีรอย
แตกหรือการวางตัวของชั้นหินที่เอียงเทขนานไปกับความชัน เช่น หินถล่มเขาเต่า
(tuttle Mountain) ในประเทศแคนาดา พ.ศ. 2446 ซง่ึ เกิดจากชน้ั หินวางตัวเอียง
เทขนานไปกับความชันของภเู ขา ประกอบกับฝนทีต่ กลงมาอยา่ งหนัก

รูป 13. สภาพแวดล้อมท่ีเกิดจากการย้ายมวลแบบการทลาย
26

สันติ ภัยหลบลี้ การผพุ ังและการย้ายมวล

รูป 14. สภาพแวดล้อมที่เกิดจากการย้ายมวลแบบการเล่ือนถลม่
6.4. การเลอ่ื นไถล (Slump)

การเล่ือนไถล (slump) คือ การหลุดเป็นกะบิของมวลดินและเคล่ือนที่
ในลักษณะท่ีมีการไถลร่วมกับการหมุน (rotational slide) ทาให้เกิดแนวแตกของ
มวลโค้งเว้าตามระนาบความลาดเอียง (รูป 15) เกิดเป็นหน้าผาชันคล้ายกับ
พระจันทร์เส้ยี วลดหล่นลงมาเปน็ ตะพัก การเคล่อื นท่ีแบบน้ีพบมาบริเวณหน้าผาริม
ชายฝั่งทะเลหรือริมตลิ่งแม่น้าที่มีการกรัดกร่อนสูง แบง่ ย่อยตามวสั ดุการเลือ่ นไถล
ไดแ้ ก่ หินเล่ือนไถล (rock slump) หรอื ดินเลอื่ นไถล (soil slump)

รูป 15. สภาพแวดล้อมท่ีเกิดจากการยา้ ยมวลแบบการเล่ือนไถล
27

สนั ติ ภัยหลบล้ี การผพุ ังและการย้ายมวล

6.5. การไหลหลาก (Flow)
การไหล (flow) คือ การย้ายมวลที่มีน้าร่วมกับตะกอน โดยน้าเป็นตัว

ช่วยให้วัตถุเล่ือนไถลโดยตะกอนไม่มีการกระเด็นกระดอน แบ่งตามขนาดตะกอน
และปริมาณของนา้ ได้ 3 ชนดิ คอื (รูป 16)

รปู 16. สภาพแวดล้อมที่เกดิ จากการย้ายมวลแบบการไหลหลาก
28

สันติ ภัยหลบล้ี การผพุ ังและการย้ายมวล

1) เศษหินไหลหลาก (debris flow) เกิดจากตะกอนขนาดใหญ่ ( >
50% ของตะกอนใหญ่กว่าทรายและกรวด) ปะปนกันกับดิน หินและซากต้นไม้
ไหลลงมาตามความชนั ด้วยความเร็ว 1-10 เมตร/วนิ าที (รปู 16ก-ข) โดยส่วนใหญ่
พบบริเวณธารนา้ ในร่องเขา ซ่งึ มีเศษหิน ดินและซากพืชสะสมอยู่ตลอดธารน้า โดย
เมอ่ื มีฝนตก นา้ ที่มากขน้ึ จะกวาดวตั ถทุ ุกอย่างลงมาตามร่องน้า ก่อนท่ีจะไหลลงมา
กองทบั ถมกนั บริเวณทีร่ าบเชงิ เขาในลักษณะของเนนิ ตะกอนรูปพดั หนา้ หบุ เขา

2) ดินไหลหลาก (earth flow) เป็นการไหลของมวลที่ประกอบด้วย
ตะกอนขนาดดินทรายแป้งหรือทรายละเอียด ตามพ้ืนท่ีลาดชันต่า ด้วยความเร็ว
10 เมตร/ช่ัวโมง น้ามีปริมาณไม่มากนักเพียงดินอิ่มตัว แต่การเคลื่อนที่เกิดจาก
พฤตกิ รรมของดนิ ทเ่ี ม่ือได้รบั ความช้ืนเพียงพอจาทาใหด้ ินลน่ื ขนึ้ (รูป 16ค)

3) โคลนไหลหลาก (mud flow) เกิดจากวัตถุท่ีมีขนาดดิน > 50%
และมีน้าเป็นองค์ประกอบสูงมาก ซึ่งหากมวลเป็น กรวดภูเขาไฟ (pyroclastic)
และอม่ิ น้า เรยี กการไหลของกรวดภูเขาไฟวา่ ลาฮาร์ (lahar) (รูป 16ง)

6.6. การคืบคลาน (creep)
การคืบคลาน (creep) คือ การย้ายมวลดินหรือลานหินลงมาตามความ

ลาดเอียงอยา่ งชา้ ๆ ด้วยความเร็ว 0.5-5.0 เซนติเมตร/ปี โดยสาเหตุสาคัญเกิดจาก
การยืดตัวหรือหดตัวของมวลไปตามแรงโน้มถ่วงของโลก [Fookes และคณะ,
2005] ซึ่งถึงแม้ว่าจะเป็นการเคลื่อนที่ซึ่งช้ามาก และยากต่อการสังเกตใน
ระยะเวลาอันสั้น แต่สามารถตรวจสอบได้จากหลักฐานการเอียงเทของโครงสร้าง
หินต้นไม้หรือสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ในพ้ืนที่ (รูป 17) บางพ้ืนที่การคืบสัมพันธ์กับ
ความช้ืน เช่น ในพ้ืนที่ซงึ่ มีอุณหภูมิต่า น้าหรือหิมะซึมผ่านชนั้ ดินในระดับตื้นทาให้

29

สันติ ภัยหลบล้ี การผพุ ังและการย้ายมวล

ดินชั้นบนช้ืนแฉะและมีความอิ่มตัวของน้าสูงกว่าดินหรือหินด้านล่างซ่ึงยังคงมี
อุณหภูมิที่จุดเยือกแข็งอยู่ทาให้ดินชั้นบนขาดการยึดตัวและไหลเล่ือนลงไปอย่าง
ช้าๆ เรียกว่า การไหลของดนิ (soil fluction หรอื solifluction) (รปู 18)

รูป 17. การคบื เนอ่ื งจากแรงโนม้ ถว่ งของโลก
30

สันติ ภัยหลบลี้ การผุพังและการย้ายมวล

รปู 18. การคบื เนอื่ งจากแรงโนม้ ถว่ งของโลกและความชนื้

6.7. การทรุดตวั (Subsidence)
การทรุดตัว (subsidence) เกิดข้ึนได้ท้ังเร็วและช้า และมีสาเหตุทัง้ จาก

ธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ซ่ึงบางคร้งั การทรุดตัวอาจครอบคลุมพื้นท่ีกว้าง
และทาให้เกิดภัยพบิ ตั ิ รปู แบบและสาเหตุการทรดุ ตวั จาแนกได้ 3 รูปแบบ คอื

1) หลุมยุบ (sink hole) เป็นการทรุดตัวเน่ืองจากการถล่มของโพรงใต้
ดินอย่างทันทีทันใด (รูป 19ก-ข) ซึ่งโพรงเกิดข้ึนได้ท้ังจากธรรมชาติ เช่น การกัด
เซาะหินปูนของน้าใต้ดินจนกลายเป็นโพรงหรือถ้าใต้ดิน โพรงภายในท่อลาวา (รูป

31

สนั ติ ภยั หลบลี้ การผพุ งั และการยา้ ยมวล

19ค) หรือเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การทาเหมืองใต้ดิน (รูป 19ง) เหมือง
เกลือ การสูบน้าหรือน้ามันจากใต้ดินข้ึนมา โดยปกติหลุมยุบที่เกิดจากน้าใต้ดินกัด
เซาะหินปูนจะไม่ยุบเมื่อมีระดับน้าใต้ดินสูง แต่เมื่อน้าใต้ดินลดต่าลง ไม่มีน้าพยุง
โครงสร้างของโพรงใต้ดิน อาจเกิดการถล่มได้ หรือหากมีการกระตุ้น เช่น
แผน่ ดนิ ไหวก็สามารถทาใหโ้ พรงใตด้ นิ ถล่มไดง้ ่ายขึน้

หลงั จากเหตกุ ารณแ์ ผน่ ดนิ ไหวขนาด 9.2 ท่เี กาะสมุ าตรา
ประเทศอนิ โดนเี ซยี พ.ศ. 2547 เกิดหลุมยุบ > 30 ครั้ง
ในช่วง 4-5 เดอื น บรเิ วณภาคใต้ตอนลา่ งของประเทศไทย

รปู 19. หลุมยบุ และแหลง่ กาเนดิ ของโพรงใต้ดินทที่ าให้เกิดหลุมยุบ
32

สนั ติ ภยั หลบลี้ การผุพังและการย้ายมวล

2) การอัดตัวของตะกอน (Soil Compaction) ตะกอนขนาดโคลนเม่ือ
มนี ้าเป็นองค์ประกอบจะเกาะกันอยา่ งหลวมๆ แต่เม่ือมีการนาน้าออกไป โคลนถูก
กดทับจากน้าหนักของตัวเอง ทาให้โคลนน้ันทรุดลงอย่างช้าๆ เช่นการ ทรุดตัว
เนื่องจากการสูบน้าใต้ดินมาใช้มากเกินไปในพ้ืนที่รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศ
สหรัฐอเมริกา ในช่วงปี พ.ศ. 2468-2518 ทาให้พื้นท่ี > 5,000 ตารางกิโลเมตร
ทรุดตวั > 9 เมตร (รูป 20)

รูป 20. การทรุดตัวของพ้ืนดินในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรฐั อเมริกา เน่ืองจาก
การสูบน้าใต้ดนิ มาใช้มากเกนิ ไป

33

สันติ ภยั หลบลี้ การผุพงั และการย้ายมวล

3) การขยายตวั ของดิน (expansive soil)
หากมวลที่มีแร่องค์ประกอบหลักเป็นแร่ดิน จะสามารถขยายตัวใน
ช่วงเวลาที่เปียกและหดในระหว่างที่แห้งได้ ทาให้เกิดรอยแตกของผิวดินคล้ายกับ
ข้าวโพดข้ัว (popcorn-like texture) ซ่ึงจะเป็นดินท่ีมีความอ่อนยวบไม่เสถียร
และสรา้ งความเสียหายได้หลายรปู แบบ (รูป 21) เช่น การทรดุ ตัวแบบยุบยับทาให้
ถนนไมร่ าบเรียบ ซงึ่ อาจจะส่งผลเลก็ น้อยหากเปน็ ถนนโดยทั่วไป แต่ถอื ว่าอนั ตราย
มากหากเกดิ กับทางดว่ น รนั เวย์สนามบนิ หรือฐานรากของอาคารสงู

รปู 21. ลกั ษณะและผลกระทบท่เี กดิ จากการขยายตัวของดนิ
34

สนั ติ ภัยหลบล้ี การผุพงั และการยา้ ยมวล

อา้ งองิ

Dearman, W. R. 1974. Weathering Classification in the Characterisation
of Rock for Engineering Purposes in British Practice. Bulletin
of the International Association of Engineering Geology 13:
123–127.

Duff, P.M.D. 1993. Principles of Physical Geology. Chapman and Hall,
London.

Fookes, P.G., Lee, E.M. and Milligan, G. 2005. Geomorphology for
Engineers. Whittles Publishing, Dunbeath, Scotland.

Hoek, E. and Bray, J. 1977. Rock Slope Engineering. Institute of Mining
and Metallurgy. London.

Jenny, H. 1941. Factors of Soil Formation. McGraw-Hill, New York.
Selby, M.J. 1993. Hillslope Materials and Processes. Oxford University

Press. ISBN 0-19-874183-9.

35

สันติ ภัยหลบลี้ การผุพงั และการย้ายมวล

แบบฝกึ หัด

วัตถปุ ระสงคข์ องแบบฝึกหดั
แบบฝึกหัดน้ี มีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเน้ือหา และ 2)
ค้นควา้ ความรู้เพ่มิ เติม โดยผ่านกระบวนการสอ่ื สารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผเู้ ขียน-
ผอู้ า่ น เท่านัน้ โดยไม่มีเจตนาวเิ คราะหข์ อ้ สอบเก่าหรอื แนวขอ้ สอบแต่อย่างใด

1) แบบฝึกหัดจับคู่
คาอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคาบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้าย
ของแตล่ ะข้อท่ีมคี วามสัมพันธก์ นั

1. ____ abrasion ก. อตั ราการผุพงั สงู
2. ____ frost wedging ข. การผุพงั ทพ่ี บมากในทะเลทราย
3. ____ carbonic acid ค. ปจั จัยในการผพุ งั ของหินปนู
4. ____ exfoliation ง. แร่เฟลดส์ ปาร์เปล่ียนเปน็ แรด่ นิ
5. ____ hydrolysis จ. หินโผล่เม่ือไม่มีแรงกดทับเกิด

6. ____ rainforest soil การขยายตัว
ฉ. การผุพังของหินบะซอลต์เหลือ
7. ____ oxidation
เพยี งสนมิ ของเหลก็
ช. ดินช้ันบนที่ประกอบด้วยกลุ่มแร่

ออกไซด์ของธาตุเหลก็

36

สนั ติ ภยั หลบล้ี การผุพงั และการย้ายมวล

8. ____ laterite ซ. กระบวนการผุพังท่ีพบมากใน

พนื้ ทใี่ กล้ชายฝ่งั ทะเล

9. ____ thermal expansion ฌ. การผุพงั ของหนิ เนอ่ื งจากน้าแข็ง

10. ____ salt crystal growth ญ. การขัดสีของตะกอนในแม่น้า

หรือธารน้าแขง็

2) แบบฝึกหัดถูก-ผิด
คาอธิบาย : เติมเครื่องหมาย T หน้าข้อความที่กล่าวถูก หรือเติมเครื่องหมาย F
หน้าขอ้ ความท่กี ลา่ วผดิ

1. ____ แร่โอลิวีนโดยส่วนใหญ่ไม่พบเป็นเม็ดตะกอน เน่ืองจากไม่เสถียร
และผพุ งั อย่างรวดเร็วทีพ่ ้นื ผิวโลก

2. ____ การผุพัง (weathering) ส่งผลต่อเฉพาะหินอัคนีที่โผล่บน
พื้นผวิ โลก

3. ____ ปัจจัยสาคัญท่ีสุดที่ควบคุมอัตรา การผุพังทางเคมี (chemical
weathering) คอื น้า

4. ____ แร่คควอตซ์ (quartz) เป็นผลผลิตที่ได้จากการผุพังทางเคมีบน
พน้ื ผวิ โลก

5. ____ นา้ รวมกับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กลายเปน็ กรดคาร์บอนิก
6. ____ อุ ณ ห ภู มิ มี ผ ล ต่ อ อั ต ร า ก า ร ผุ พั ง ท า ง เค มี (chemical

weathering)
7. ____ ไม่มี การผุพังทางกายภาพ (physical weathering) ในช่วงต้น

37

สันติ ภัยหลบล้ี การผพุ ังและการยา้ ยมวล

ของประวตั ิศาสตรโ์ ลก
8. ____ ถ้าโดยส่วนใหญ่เป็นผลจาก การผุพังทางเคมี (chemical

weathering) ของหนิ ปนู
9. ____ การย้ายมวล (mass wasting) ไม่เกิดตามอุทยานแห่งชาติท่ีมี

ตน้ ไมป้ กคลุมหนาแนน่
10. ____ การยา้ ยมวล (mass wasting) เกดิ ขึ้นไดก้ ับดาวเคราะห์ดวงอน่ื ๆ

ในระบบสุรยิ ะ
11. ____ ปรมิ าณน้าไมใ่ ช่ปัจจยั ของการย้ายมวลชนิด เศษหนิ (debris)
12. ____ กระบวนการไฮโดรไลซสิ (hydrolysis) คือการแทนทไ่ี อออนของ

แร่โดยไอออน H+ หรือ OH- จากนา้
13. ____ ก ารย้ าย ม วล (mass wasting) ส าม ารถถู ก ก ระ ตุ้ น ด้ วย

แผน่ ดินไหวหรอื การปะทขุ องภเู ขาไฟ
14. ____ ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นชัน้ บรรยากาศสว่ นหน่ึงมาจากการปะทุ

ของภูเขาไฟ
15. ____ การยา้ ยมวล (mass wasting) ไม่สามารถพยากรณ์ได้
16. ____ สีของ ชั้นดนิ E เกิดจากชั้นฮิวมัสทไ่ี หลซึมลงมาจาก ช้นั ดิน A
17. ____ ชนั้ ดนิ B โดยสว่ นใหญ่จะอยเู่ หนือ ช้ันดนิ E
18. ____ รูปแบบการย้ายมวลที่มีความเร็วสูงท่ีสุด คือ หินทลาย (rock

avalanche)
19. ____ การผุพังทางเคมี (chemical weathering) สามารถแปรสภาพ

โครงสร้างของแร่ในหนิ ได้
20. ____ ในเขตภมู ิอากาศหนาวหรือขั้วโลกโดยสว่ นใหญ่ไมม่ กี ารย้ายมวล

38

สันติ ภัยหลบล้ี การผพุ งั และการยา้ ยมวล

3) แบบฝกึ หดั ปรนยั
คาอธิบาย : ทาเครื่องหมาย X หน้าคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว จาก
ตัวเลือกทก่ี าหนดให้

1. หินแกรนิต (granite) ผุพังง่ายกว่า หินควอซ์ตไซต์ (quartzite) เน่ืองจากมี

แร่องคป์ ระกอบชนิดใด

ก. แร่เฟลด์สปาร์ ข. แรค่ วอตซ์

ค. กลุ่มแร่คารบ์ อเนต ง. ไม่มขี ้อใดถูก

2. ข้อใดคอื การยา้ ยมวล (mass wasting)

ก. ดนิ ถล่ม (landslide) ข. โคลนไหลหลาก (mud flow)

ค. หนิ ทลาย (rock avalanche) ง. ถกู ทุกขอ้

3. ขอ้ ใดคือกระบวนการเคล่ือนยา้ ยมวลท่มี ีความเร็วมากที่สุด

ก. การเล่ือนไถล (slump) ข. หนิ ทลาย (rock avalanche)

ค. การคคบื คลาน (creep) ง. เศษหินไหลหลาก (debris flow)

4. อัตราการเคลื่อนแบบ การคืบคลาน (creep) มีความเร็วโดยปกติประมาณ

เท่าใด

ก. เซนติเมตร/เดอื น ข. เมตร/วนั

ค. เซนติเมตร/สัปดาห์ ง. เซนตเิ มตรหรอื นอ้ ยกว่า/ปี

5. การยอ่ ยสลายหนิ ให้มขี นาดเล็กลงด้วยปัจจัยทางกายภาพเรยี กวา่ อะไร

ก. abrasion ข. chemical weathering

ค. pedogenesis ง. physical weathering

39

สันติ ภัยหลบลี้ การผพุ งั และการยา้ ยมวล

6. การยอ่ ยสลายหินให้มขี นาดเลก็ ลงดว้ ยปจั จัยของนา้ และก๊าซเรยี กว่าอะไร

ก. pedogenesis ข. salt wedging

ค. chemical weathering ง. physical weathering

7. ข้อใดคือการผุพังทางกายภาพท่ีเกิดจากการเสียสมดุลเน่ืองจากการหายไปของ

แรงกดทับดา้ นบน (unloading)

ก. abrasion ข. hydrolysis

ค. exfoliation ง. salt wedging

8. การย้ายมวลแบบใดท่เี กดิ ขึน้ อยา่ งรวดเร็วกว่าทีค่ นสามารถหลบหนีได้

ก. โคลนไหลหลาก (mud flow) ข. หนิ พงั ทลาย (rock avalanche)

ค. เศษหินไหลหลาก ง. ถกู ทุกข้อ

(debris flow)

9. พชื กอ่ ให้เกิดการผุพงั ทางเคมีไดอ้ ยา่ งไร

ก. ผลิตกรดอินทรยี ์ ในชว่ งทม่ี ชี วี ิต ข. ป้องกนั พน้ื ผวิ จากแสงอาทิตย์

ค. บรโิ ภคกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดใ์ น ง. ป้องกันพื้นผิวจากปริมาณ

กระบวนการสังเคราะหแ์ สง นา้ ฝนจานวนมาก

10. สภาพแวดล้อมแบบใดที่โดยส่วนใหญ่พบกระบวนการผุพังแบบ frost

wedging

ก. ขอบแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนท่ี ข. ขอบแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนท่ี

ออกจากกนั ผา่ นกนั

ค. ภเู ขาสูง ง. ชายฝั่งแถบเสน้ ศูนย์สตู ร

40

สนั ติ ภยั หลบลี้ การผุพงั และการยา้ ยมวล

11. ทรายแป้ง (silt) เปน็ ผลผลิตของกระบวนการใด

ก. กระบวนการออกซเิ ดชัน ข. การผุพงั ทางกายภาพ

ค. การเย็นตวั รวดเร็วของแมกมา ง. การผพุ ังทางเคมี

12. กระบวนการไฮโดรไลซสิ (hydrolysis) เกดิ ขึ้นเมอื่ ใด

ก. แรเ่ ฟลดส์ ปารแ์ ปรสภาพเปน็ แร่ดิน ข. หนิ โผล่และสัมผสั กบั อากาศ

ค. น้าทม่ี สี ภาพกรดออ่ นละลายหิน ง. หนิ ถกู ฝงั ในระดบั ลกึ มาก

13. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ การผุพังทางเคมี (chemical weathering)

ก. frost wedging ข. root wedging

ค. unloading ง. ถกู ทุกข้อ

14. การย้ายมวลแบบ fall เกิดขน้ึ เม่ือใด

ก. หินหลุดจากหน้าผาและหล่นลง ข. ดินเคลื่อนท่ีลงสู่ด้านล่างคล้าย

อยา่ งอสิ ระ กับของหนืด

ค. ชน้ั หินเคลื่อนที่อย่างช้าๆ ง. ถกู ทกุ ขอ้

15. ขอ้ ใดคือผลผลติ จากการผพุ งั ทางเคมีของแรเ่ ฟลด์สปาร์

ก. แรค่ วอตซ์ (quartz) ข. แรไ่ พรอคซีน (pyroxene)

ค. แร่แคลไซต์ (calcite) ง. แรด่ ิน (clay)

16. ข้อใดกล่าวถูกตอ้ งเก่ยี วกบั ชนั้ ดนิ

ก. ขอบเขตระหว่างช้ันดินโดยปกติ ข. ชั้นดินสามารถแยกออกจากกัน

จะไม่เปลย่ี นแปลงแบบชดั เจน ไดจ้ ากองค์ประกอบทางเคมี

ค. นักวิทยาศาสตร์แยกช้ันดินโดย ง. ถูกทกุ ขอ้

ใชส้ ญั ลักษณเ์ ปน็ ตวั อักษร

41

สนั ติ ภยั หลบล้ี การผพุ งั และการย้ายมวล

17. ดนิ เขตร้อน (tropical soil) คือดินทีม่ ลี ักษณะเฉพาะอย่างไร

ก. ดสี าหรบั การเกษตรกรรม ข. อดุ มสมบรู ณ์มาก

ค. ถกู ชะลา้ งสงู ง. มีอนิ ทรียวตั ถุจานวนมาก

18. แรช่ นิดใดเกดิ จากกระบวนการผพุ งั ที่พ้นื ผิวโลก

ก. ไบโอไทต์ (biotite) ข. ควอตซ์ (quartz)

ค. คาโอลไี นต์ (kaolinite) ง. โอลวิ ีน (olivine)

19. คา่ pH โดยปกติของน้าฝนมคี า่ ประมาณเท่าใด

ก. 8.2. ข. 5.5.

ค. 7.0. ง. 3.0.

20. ขอ้ ใดคือวัสดุต้นกาเนดิ ดนิ

ก. แรด่ นิ (clay) ข. ดนิ บนพนื้ ผิวโลก (regolith)

ค. หนิ (rock) ง. แร่ (mineral)

21. ขอ้ ใดคอื การย้ายมวลท่คี ลา้ ยกบั ของหนืด

ก. การเลื่อนไถล (slump) ข. การเล่ือนถลม่ (slide)

ค. การไหลหลาก (flow) ง. การหล่น (fall)

22. ขอ้ ใดคือปัจจยั สาคัญท่ีทาใหเ้ กดิ การย้ายมวล (mass wasting)

ก. ความหนาแนน่ ของพืช ข. แรงโน้มถว่ ง

ค. ปรมิ าณน้า ง. ความชัน

23. exfoliation เปน็ กระบวนการผุพังที่เป็นผลมาจากสาเหตใุ ด

ก. น้าหนักกดทับด้านบนของหิน ข. หินถูกกัดกร่อนโดยกรดคาร์บอ

หายไป นกิ

ค. หนิ ขยายตัวจากความร้อน ง. กจิ กรรมของมนษุ ย์

42

สันติ ภยั หลบลี้ การผุพังและการยา้ ยมวล

24. ชน้ั ดนิ ใดประกอบดว้ ย แร่ดิน (clay) จานวนมาก

ก. ชน้ั ดนิ O ข. ชน้ั ดิน B

ค. ช้ันดิน C ง. ชั้นดนิ A

25. ขอ้ ใดคือปัจจยั สาคัญท่ีทาใหเ้ กดิ การผพุ งั ทางเคมีบนพื้นผิวโลก

ก. ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ ข. น้า

ค. กรดไฮโครคลอรกิ ง. กรดคารบ์ อนิก

26. ข้อใดคอื กระบวนการผุพงั ของแรเ่ ฟลด์สปาร์

ก. mudification ข. metamorphosis

ค. hydrolysis ง. pedogenesis

27. หินชนิดใดผพุ ังงา่ ยทส่ี ุด

ก. หนิ แกรนติ (granite) ข. หนิ ควอซต์ ไซต์ (quartzite)

ค. หินไนส์ (gneiss) ง. หนิ บะซอลต์ (basalt)

28. หินชนิดใดผุพังยากท่ีสุด

ก. หนิ แกรนติ (granite) ข. หนิ ควอซ์ตไซต์ (quartzite)

ค. หนิ ไนส์ (gneiss) ง. หินบะซอลต์ (basalt)

29. สถานการณใ์ ดทหี่ นิ ผุพังได้งา่ ยที่สุด

ก. หินขนาด 10 เซนติเมตร ข. หนิ ขนาด 1 เซนติเมตร

ค. หินขนาด 1 มลิ ลิเมตร ง. ถกู ทกุ ข้อ

30. เหตใุ ด แรด่ นิ (clay) จงึ ไม่ผพุ งั บนพืน้ ผิวโลก

ก. มีขนาดผลึกแรใ่ หญเ่ กินไป ข. มคี วามเสถยี รทางเคมี

ค. มไี ออนมากเกินไป ง. ถูกทกุ ข้อ

43

สนั ติ ภัยหลบล้ี การผพุ ังและการยา้ ยมวล

31. พืน้ ท่ีใดเกดิ การผพุ งั ทางกายภาพมากท่ีสุด

ก. เทือกเขาเกดิ ใหม่ที่สูงชนั ข. ดินดอนสามเหลยี่ มปากแม่นา้

ค. เทอื กเขาเกา่ แก่ทร่ี าบเรยี บ ง. ที่ราบชายฝั่ง

32. หนิ ผพุ งั ไดเ้ รว็ ท่ีสดุ เม่อื อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มแบบใด

ก. เยน็ และแห้ง ข. ร้อนและแหง้

ค. เปยี กอยูต่ ลอดเวลา ง. ชนื้

33. ขอ้ ใดเรยี งลาดบั ธาตุที่ถกู ชะล้างออกจากดนิ จากงา่ ยไปยากไดถ้ ูกต้อง

ก. โปแตสเซยี ม แคลเซียมและเหล็ก ข. ซลิ ิกอน เหล็กและแคลเซียม

ค. อะลูมินั ม ซิลิกอน และโป แต ง. เห ล็ ก โ ป แ ต ส เซี ย ม แ ล ะ

สเซียม แคลเซยี ม

34. แรด่ ิน (clay) เกิดจากกระบวนการไฮโดรไลซสิ ของแรช่ นดิ ใด

ก. แร่เฟลด์สปาร์ (feldspar) ข. แร่ไมกา (mica)

ค. แร่ควอตซ์ (quartz) ง. ถูกทุกข้อ

35. การเคล่อื นที่แบบใดทีส่ มั พันธก์ บั permafrost

ก. การทลาย (avalanche) ข. ทรายพุ (liquefaction)

ค. การไหลของดิน (solifluction) ง. การขยายตวั (expansion)

36. การย้ายมวลนยิ มใช้เกณฑอ์ ะไรในการจาแนก

ก. ปริมาตรของวสั ดโุ ดยรวม ข. ความชนั

ค. พนื้ ทีซ่ ึง่ เกิดการเคล่อื นที่ ง. ความเรว็

37. การย้ายมวลสามารถถูกกระตุ้นให้เกดิ เรว็ ขน้ึ ได้จากสาเหตุใด

ก. กจิ กรรมของมนุษย์ ข. ฝนตกอยา่ งรนุ แรง

ค. แผน่ ดินไหว ง. ถกู ทกุ ขอ้

44

สนั ติ ภยั หลบลี้ การผุพงั และการย้ายมวล

38. หนิ ทลาย (rock avalanche) โดยส่วนใหญ่เกดิ ในพื้นที่ใด

ก. ธารน้าแข็งท่ีมีการสะสมกรวด ข. พื้นท่ีสูงชันสูงใกล้แหล่งกาเนิด

ขนาดต่างๆ แผน่ ดนิ ไหว

ค. ทะเลลึก ง. ถกู ทกุ ข้อ

39. ข้อใดคือดินที่ประกอบด้วยทราย ทรายแป้ง แร่ดินและอินทรียวัตถุในสัดส่วน

เทา่ ๆ กัน

ก. เพโดคอล (pedocal) ข. คาลิเช (caliche) .

ค. ฮวิ มัส (humus) ง. ดนิ รว่ น (loam)

40. หนิ ชนดิ ใดเมือ่ ผุพงั และพฒั นาเปน็ ดินมธี าตุอาหารของพชื น้อยท่สี ุด

ก. หินปูน (limestone) ข. หนิ แกรนติ (granite)

ค. หนิ ทราย (sanstone) ง. หนิ บะซอลต์ (basalt)

41. ข้อใดคือวสั ดุขนาดตา่ งๆใดๆ ทไ่ี มไ่ ด้จับตวั กนั แนน่ อยู่บนพืน้ ผวิ โลก

ก. soil ข. talus

ค. scree ง. debris

42. ความแตกต่างในข้อใดที่เป็นสาเหตุให้เกิดชั้นดินท่ีแตกต่างกันในแต่ละระดับ

ความลึก

ก. ความชื้น ข. อินทรยี วตั ถุ

ค. อณุ หภูมิ ง. การชะล้างและสะสมตวั

43. เหตุใดหินจึงสามารถแตกหักได้เมื่อมีอากาศเย็นลง

ก. ผลึกน้าแข็งมคี วามแหลมคม ข. นา้ แขง็ ตามรอ่ งหนิ ขยายตวั

ค. น้าเย็นสามารถกัดกร่อนได้ ง. หนิ ได้รับการถา่ ยเทความเย็นจึง

ดีกว่านา้ ปกติ แตก

45

สันติ ภยั หลบล้ี การผพุ งั และการยา้ ยมวล

44. ข้อใดคือสาเหตุที่ทาให้ การผุพังทางกายภาพ (physical weathering) มี

อัตราการผพุ ังสูงขนึ้

ก. มีความชนื้ มาก ข. มีน้ามาก

ค. มีต้นไม้มาก ง. อุณหภูมแิ ตกตา่ งกันมาก

45. พนื้ ทใี่ ดท่กี ระบวนการสรา้ งดนิ มีประสิทธภิ าพท่สี ุด

ก. ภูมิประเทศราบเรียบ ข. ภมู ิประเทศราบเรยี บ

ภมู ิอากาศรอ้ นชนื้ ภมู อิ ากาศแหง้ เยน็

ค. ภมู ิประเทศสูงชัน ง. ภูมปิ ระเทศสงู ชัน

ภูมอิ ากาศแหง้ เย็น ภูมิอากาศรอ้ นชน้ื

46. ในพื้นท่ีอณุ หภมู ิสูง ชั้นดิน O มีลกั ษณะเฉพาะอย่างไร

ก. มตี ะกอนขนาดเลก็ ข. พบศลิ าแลง

ค. มอี นิ ทรียวัตถุและส่งิ มีชวี ิต ง. ถูกทุกข้อ

47. โดยส่วนใหญ่ ชนั้ ดิน E มลี กั ษณะเฉพาะอย่างไร

ก. มีสีเข้มจากการสะสมตัวของช้ัน ข. ทั้งอินทรียวัตถุและแร่ธาตุมี

ฮิวมสั ปริมาณน้อย

ค. มตี ะกอนหลากหลายขนาด ง. มกี ลมุ่ แรอ่ อกไซดป์ ริมาณสงู

48. เหตุใดวตั ถขุ นาดเลก็ จึงผพุ งั ไดร้ วดเร็วกวา่ วตั ถุขนาดใหญ่

ก. มพี ื้นท่ผี ิวโดยรวมมากกว่า ข. แตกหักไดง้ า่ ยกว่า

ค. ปะปนกันกับดินได้งา่ ยกว่า ง. ละลายนา้ ไดง้ ่ายกว่า

49. ปัจจัยใดที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการจาแนกดิน

ก. อายดุ ิน ข. ภมู อิ ากาศ

ค. โครงสร้างดนิ ง. ถูกทกุ ข้อ

46

สันติ ภัยหลบล้ี การผพุ งั และการยา้ ยมวล

50. การย้ายมวลเกิดจากความไมส่ มดุลกันของแรงชนิดใด

ก. แรงปกติ แรงเฉือนและแรง ข. แรงโน้มถ่วง แรงเฉือนและแรง

เสียดทาน เสียดทาน

ค. แรงเฉอื นและแรงเสยี ดทาน ง. แรงโนม้ ถ่วงและแรงเสียดทาน

51. ดิน (soil) มโี อกาสเกดิ จากวสั ดตุ ้นกาเนิดชนิดใดมากทีส่ ดุ

ก. ลาวาไหลหลาก ข. หนิ แกรนติ ที่แตกเป็นกาบ

ค. หนิ ตะกอน ง. ตะกอนที่สะสมตวั ในชว่ งน้าทว่ ม

52. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งเกีย่ วกบั ดินแอริดิซอลส์ (aridisol)

ก. มีแนวโนม้ สะสมเปน็ ชัน้ บาง ข. เกิดในภูมิอากาศแบบแหง้ แล้ง

ค. มีชนั้ ฮิวมัสเล็กนอ้ ย ง. ถกู ทกุ ข้อ

53. ขอ้ ใดคือกระบวนการท่ที าใหห้ ินแตกหัก

ก. วฏั จักรเย็น-ร้อน ข. ผลึกเกลือเตบิ โตตามร่องหนิ

ค. การเจรญิ เติบโตของรากพชื ง. ถกู ทุกขอ้

54. กระบวนการใดเกิดจากไฮโดรเจนไอออน (H+) หรือไฮดรอกซิลไอออน (OH-)

ของน้าทาปฏิกริ ิยากับไอออนของแร่

ก. กระบวนการรีดกั ชัน ข. กระบวนการออกซเิ ดชัน

ค. กระบวนการไฮโดรไลซิส ง. กระบวนการไฮเดรชนั

55. กระบวนการใดเกดิ จากการรวมตวั กันของแร่ นา้ และออกซิเจน ทาใหม้ ีการเพ่ิม

ประจุบวกหรือลดประจลุ บของไอออน

ก. กระบวนการรดี ักชัน ข. กระบวนการออกซิเดชนั

ค. กระบวนการไฮโดรไลซสิ ง. กระบวนการไฮเดรชัน

47

สนั ติ ภัยหลบลี้ การผพุ ังและการยา้ ยมวล

56. กระบวนการใดคือปฏิกิริยาตรงกนั ข้ามกับกระบวนการออกซเิ ดชนั ซ่ึงโดยสว่ น

ใหญ่เกิดในบรเิ วณท่มี นี ้าขงั

ก. กระบวนการรดี กั ชนั ข. กระบวนการออกซิเดชนั

ค. กระบวนการไฮโดรไลซสิ ง. กระบวนการไฮเดรชัน

57. ในสภาพแวดล้อมปกติของพ้ืนผิวโลก แร่ชนิดใดใน ชุดปฏิกิริยาของโบเวน

(Bowen’s reaction series) มคี วามเสถยี รมากท่ีสดุ

ก. แร่ไพรอคซีน (pyroxene) ข. แรค่ วอตซ์ (quartz)

ค. แร่ไบโอไทต์ (biotite) ง. แร่โอลิวนี (olivine)

58. ป่าฝนสามารถอดุ มสมบรู ณ์ไดอ้ ยา่ งไรหากดนิ คุณภาพต่ามาก

ก. รบั สารอาหารจากน้าฝน ข. เมื่ อ เกิ ด ก า รเผ า ไห ม้ ป่ า จ ะ

กลายเป็นสารอาหารใหด้ ิน

ค. ส่ิงมีชีวิตพั ฒ น าความ อุด ม ง. ระบบนิเวศมีประสิทธิภาพใน

สมบูรณ์ อย่างช้าๆ โดยไม่มี การสรา้ งสารอาหารของดนิ

สารอาหารดนิ

59. ข้อใดคือความต้านทานในการเคล่ือนท่ีหรือ การเปล่ียนรูป (deformation)

ของหิน

ก. ความหนาแน่น (density) . ข. มวล (mass)

ค. แรงเฉือน (shear) ง. ไม่มีข้อใดถูก

60. ข้อใดคอื ลักษณะการไหลของดนิ อิ่มนา้

ก. การไหลของดิน (solifluction) ข. การเล่ือนตวั (slip)

ค. การเล่อื นไถล (slump) ง. การไหลหลาก (flow)

48

สนั ติ ภัยหลบล้ี การผพุ ังและการยา้ ยมวล

61. เศษหนิ ที่หลน่ ลงมาจากทส่ี ูงและกองรวมกันบริเวณเชิงหนา้ ผาเรียกวา่ อะไร

ก. เศษหนิ (debris) ข. ตะกอน (sediment)

ค. ทลาย (avalanche) ง. ลานหินตีนผา (talus)

62. ขอ้ ใดคอื ปัจจยั ส่งเสริมใหเ้ กิดการยา้ ยมวลเรว็ ขนึ้

ก. การตัดไม้ทาลายปา่ ทค่ี ลมุ ดนิ ข. การปลอ่ ยนา้ ตามความชนั

ค. ความชนั ลดลงจากการทาไร่ ง. น้าหนกั พชื ในพ้ืนทสี่ ูงชัน

63. ดินชนดิ ใดที่เหมาะสมกับการเกษตรกรรมมากทส่ี ุด

ก. alfisol ข. spodosol

ค. oxisol ง. mollisol

64. ขอ้ ใดคอื การปอ้ งกนั ภยั พบิ ตั ิการย้ายมวลท่ีมปี ระสทิ ธิภาพทีส่ ุด

ก. สร้างสิ่งป้องกันทางวิศวกรรมท่ี ข. เพิ่มน้าหนักกดทับให้พ้ืนท่ีซึ่งมี

เหมาะสม ความชนั

ค. ตดั ฐานของความชนั ให้เล็กลง ง. ทาให้ความชนั เพ่มิ มากขึ้น

65. ข้อใดคอื การเคลื่อนท่ีของวสั ดุลงดา้ นล่างดว้ ยแรงโนม้ ถว่ งเปน็ หลัก

ก. downslope movement ข. mass wasting

ค. land sliding ง. ไมม่ ขี อ้ ใดถูก

66. สตั ว์ทสี่ ่งผลตอ่ อัตราการผพุ งั ทางเคมีได้อย่างไร

ก. สัตว์บางชนิดปล่อยกรดท่ีสามารถ ข. สัตว์บางชนิดบดกัดหิน

ละลายแร่และหินได้ และแรจ่ นมีขนาดเลก็ ลง

ค. สัตว์ช่วยเพิ่มพ้ืนผิวหินและแร่ให้ ง. สัตว์บางชนิดกินแร่เพื่อ

สมั ผัสกับปัจจัยการผุพังมากขึน้ เป็นสารอาหาร

49

ข้อใดคือ การย้ายมวล (Mass Wasting) *

การย้ายมวล อาจจะเป็นคำที่ดูแปลกๆ สำหรับคนทั่วไป แต่จริงๆ แล้วคำว่า การย้ายมวล (mass wasting) เป็นคำเฉพาะในทางธรณีวิทยาที่หมายถึง การเคลื่อนตัวของหิน ดิน โคลนรวมทั้งหิมะ ลงมาตามความลาดชัน หรือที่คนทั่วไปมักจะเรียกกันติดปากว่า ดินถล่ม ซึ่งเป็นกระบวนการที่โลกพยายามจะปรับสภาพพื้นผิวโลกที่สูงๆ ต่ำๆ เกลี่ยให้พื้นโลกมีระดับพอ ...

การเคลื่อนที่ของมวลที่สำคัญมีอะไรบ้าง

การเคลื่อนที่ของมวล (mass movement) หมายถึง การที่วัสดุธรรมชาติที่อยู่บนเปลือกโลก เช่น ดิน หิน และแร่ มีการเคลื่อนที่ตามความลาดเอียงของพื้นที่ ภายใต้แรงดึงดูดของโลก ซึ่งการเคลื่อนที่ของวัสดุเหล่านี้ เกิดจากปัจจัยที่สำคัญหลายประการได้แก่

เหตุใดหินจึงสามารถแตกหักได้เมื่อมีอากาศเย็นลง

ความร้อนและความเย็น โดยความร้อนจากดวงอาทิตย์หรือไฟป่าทำให้ด้านนอกของหินร้อนกว่าด้านในของหิน ทำให้ด่าน นอกของหินหลุดออกมาเป็นแผ่นๆ ส่วนความเย็นได้มาจากฝน ซึ่งทำให้หินที่ร้อนตัวเย็นลงอย่างรวดเร็ว จึงทำให้หินแตกออกเป็นรอยแยกได้

การผุพังอยู่กับที่มีลักษณะอย่างไร

การผุพังอยู่กับที่ เป็นกระบวนการที่ทำให้หินผุพังสลายตัวเป็นเศษหินขนาดต่างๆ การผุพังอยู่กับที่แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ การผุพังทางกายภาพ ที่ทำให้หินมีการเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่าง ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงเฉพาะภายนอก และการผุพังทางเคมี เป็นกระบวนการที่ทำให้หินแตกสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางเคมี