เครื่องมือในการสังเกตคืออะไร

����ѧࡵ��͡����Ҵ���觷���Դ������ҧ�������������º�Ը� �����������������Ҥ�������ѹ��ͧ��觷���Դ��鹹�鹡Ѻ������ (���ҧ�� �ѹ��ҹԪ, 2549: 45)

�������ͧ����ѧࡵ
����ѧࡵ�����㹡���Ԩ���ԧ�س�Ҿ�� 2 Ẻ ���
   1. ����ѧࡵẺ����ǹ���� (Participant Observation)
��͡���ѧࡵ������ѧࡵ��������Ե�����Ѻ����������١�֡�� �ա�÷ӡԨ���������ѹ �����١�֡������Ѻ��Ҽ���ѧࡵ��ʶҹ�Ҿ���ҷ�����ǡѺ�� ����ѧࡵ�е�ͧ��Ѻ��������ҡѺ�����������֡�� ���Ҩ���份ѧ���������˵ء�ó� �������������㹪���������ҹҹ ����㹪��������֡���������ͧ�����ҷ���չѡ�Ԩ�������������
��ʹբͧ�Ըա���ѧࡵẺ����ǹ����
     ��������Ԩ�����Ѻ�������Ѻ���ʹԷʹ��Ѻ����������֡�� �·����١�ѧࡵ����������Ҷ١�ѧࡵ������Ҵ� �֧�վĵԡ��������仵�������ҵ� �����������ŷ���繨�ԧ
     ���������Ҿ����ͧ�˵ء�ó��ҧ� ���ҧ�繸����ҵ��ҡ����ش �������Ҷ֧�����������
     ����ö��Ǩ�ͺ�����������
��ͨӡѴ�ͧ�Ըա���ѧࡵẺ����ǹ����
     �ѡ����Ѻ����֡�ҡ��������
     �ѡ�Ԩ�µ�ͧ���ѧ����鵹�ͧ�����դ�������֡������м١�ѹ�ҧ�����쨹�Ҵ�������§�ç �Ҩ���˵������ͤ�� ������Ң�ҧ����������ѧ�֡���� �����š�ТҴ�������§�ç
     ��è��ѹ�֡�˵ء�ó��ҧ� �����Ӻҡ������������Ԩ�����Ѻ�����

2. ����ѧࡵẺ�������ǹ���� (Non-Participant Observation)
��͡���ѧࡵ������Ԩ������ѧࡵ����ǧ�͡ �����������㹡Ԩ������������
��ʹբͧ�Ըա���ѧࡵẺ�������ǹ����
     �ѡ��㹡����������红����� �������
     ����ͧ��������������Ѻ�������Ѻ�ҡ������֡�� �����պ��ҷ�繤��͡ ��������͡���Դ��������������
     �红��������������������������ͧ�������¹��¡����Ըա���ѧࡵẺ����ǹ����
��ͨӡѴ�ͧ�Ըա���ѧࡵẺ�������ǹ����
     ��Ҽ���ѧࡵ�����Ҷ١�ѧࡵ �Ҩ���������ʴ��ĵԡ�������繸����ҵ��͡��
     �����ŷ������������´��������ó�����Ըա���ѧࡵẺ����ǹ����

      ���������ػ ��駡���ѧࡵẺ����ǹ���� ��С���ѧࡵẺ�������ǹ������� ��ҧ���ѵ�ػ��ʧ�� �����ѧࡵ�ĵԡ�������˵ء�ó� ���͹����Ҥ�������ѹ����Ф������¢ͧ��ҡ���ó����Դ��� ��Ҿ�������ѧࡵ�բ�ʹ���Т�ͨӡѴ�ѧ��������´���仹��

เครื่องมือในการสังเกตคืออะไร

การสังเกต (Observation)
        การสังเกต เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของสิ่งที่เราต้องการศึกษาอาจเป็น บุคคล สิ่งแวดล้อม หรือวัตถุต่างๆ โดยการใช้ประสาทสัมผัส เช่น ตา หู ในการติดตามเฝ้าดูอย่างใกล้ชิด
ประเภทของการสังเกต การสังเกตแบ่งออกได้หลายแบบดังนี้
ก. แบ่งตามการเข้าร่วม สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้
          1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) หมายถึง การสังเกตที่ ผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง หรือคลุกคลีอยู่ในหมู่ของผู้ที่เราต้องการสังเกต ซึ่งลักษณะเช่นนี้จะทำให้ได้รายละเอียด หรือข้อมูลที่แน่นอน ถูกต้อง ชัดเจน เช่น การศึกษาเกี่ยวกับความเป็นอยู่ของชาวสลัม หรือ พวกชาวเขา เป็นต้น ผู้สังเกตจะเข้าไปอยู่ในสลัม หรือเข้าไปอยู่กับชาวเขานานๆ จนไม่รู้สึกว่าเป็นคนแปลกหน้า
การสังเกตแบบนี้ผู้สังเกตจะไม่สามารถจดบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการสังเกตได้ทันที และต้องใช้เวลาในการสังเกตนาน อีกทั้งอาจเกิดความลำเอียงได้
          2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant Observation) หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ แต่คอยเฝ้าดูอยู่ห่างๆ การสังเกตแบบนี้อาจให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัวหรือไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัวก็ได้การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมนี้จะกำจัดความลำเอียงของผู้สังเกตได้ และสามารถจดบันทึก รายละเอียดของสิ่งที่ต้องการสังเกตได้

ข. แบ่งตามการมีโครงสร้าง สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้
          1. การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Observation) เป็นการสังเกตที่ไม่มีการกำหนด เรื่องราว หรือพฤติกรรมอะไรที่ต้องการสังเกตไว้ล่วงหน้า เป็นการสังเกตอิสระ ไม่มีการควบคุม เครื่องมือที่ใช้อาจเป็นเพียงกระดาษเปล่า ๆ ที่มีไว้สำหรับจดบันทึก หรือใช้อุปกรณ์ช่วย เช่น กล้อง ถ่ายรูป เครื่องบันทึกเสียง แต่วิธีนี้จะมีความยุ่งยากที่การวิเคราะห์ข้อมูล และการจัดแยกประเภทข้อมูล วิธีนี้เหมาะกับการสังเกตทั่ว ๆ ไปไม่มีขอบเขตที่แน่นอนของเรื่องที่สังเกตและเหมาะกับผู้สังเกตที่ยังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้น ๆ เพียงพอที่จะวางหลักเกณฑ์ หรือโครงสร้างในการสังเกต
          2. การสังเกตแบบมีโครงสร้าง (Structured Observation) เป็นการสังเกตที่กำหนดเรื่องราวหรือ ขอบเขตของเนื้อหาไว้ล่วงหน้าแน่นอนว่าจะสังเกตพฤติกรรม หรือปรากฎการณ์อะไร มีการเตรียมเครื่องมือที่จะใช้ในการสังเกต และจะสังเกตเฉพาะเรื่องราวหรือข้อมูลที่ได้กำหนดไว้เท่านั้น การสังเกตแบบนี้จะสะดวก รวดเร็ว ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตสามารถจัดเแยกเป็นหมวดหมู่ได้ง่าย และการสังเกตแบบนี้สามารถควบคุมสถานการณ์ของการสังเกตได้ แต่การสังเกตแบบนี้ถ้ามีผู้สังเกตหลายคนการตีความหมายของพฤติกรรมที่สังเกตได้อาจแตกต่างกัน จึงควรมีการอบรมผู้สังเกตก่อนการสังเกตจริงเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและเชื่อถือได้

หลักและวิธีการสังเกตที่ดี การสังเกตที่จะทำให้ได้ข้อมูลถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่อประโยชน์ในการวัดผลประเมินผล มีดังนี้
         1. กำหนดจุดมุ่งหมายให้แน่นอนและชัดเจน ว่าจะสังเกตพฤติกรรม หรือปรากฏการณ์ใด และพฤติกรรมนั้นมีการแสดงออกอย่างไร ผู้สังเกตต้องทราบอย่างชัดเจน
         2. วางแผนการสังเกตอย่างมีขั้นตอนและเป็นระบบ จะใช้การสังเกตแบบใดและมีเครื่องมือช่วยในการสังเกตหรือไม่ ช่วงเวลาในการสังเกตเหมาะสมหรือไม่
          3. มีการบันทึกรายละเอียดที่สังเกตได้ทันที การบันทึกนั้นต้องตรงกับข้อเท็จจริงที่สังเกตได้ และไม่ควรบันทึกให้ผู้ถูกสังเกตเห็น
         4.มีทักษะในการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ช่วยในการสังเกต การสังเกตบางครั้งจำต้องมีอุปกรณ์ เช่น กล้องถ่ายรูป หรืออื่นๆ ควรต้องฝึกฝนให้เกิดความชำนาญในการใช้เครื่องมือนั้นๆ ด้วย
         5.ผู้สังเกต ควรมีการรับรู้ที่ถูกต้อง และรวดเร็วจากพฤติกรรมที่ผู้ถูกสังเกตแสดงออกมา เพราะการแสดงออกของพฤติกรรมบางอย่างจะไม่เกิดขึ้นบ่อย ๆ และอาจเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วผู้สังเกตจึงต้องฝึกประสาทสัมผัสของตนเองให้คล่องแคล่วและใช้การได้ดีอยู่เสมอ
         6. ผู้สังเกต ต้องขจัดอคติหรือความลำเอียงออกไปให้หมด นั่นคือ ต้องบันทึกสิ่งที่ได้พบเห็นไม่ต้องใส่ความเห็นส่วนตัวเข้าไป
         7. ควรสังเกตหลายๆ ครั้ง หรือใช้ผู้สังเกตหลายคนเพื่อให้ผลจากการสังเกตเชื่อถือได้

ข้อควรระวังในการสังเกต
เนื่องจากว่าข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จะมีความถูกต้อง เชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับตัวผู้สังเกตเป็นสำคัญ ดังนั้นสิ่งที่ผู้สังเกตควรระวังได้แก่
          1. อารมณ์ของผู้สังเกตควรอยู่ในอารมณ์ปกติ ไม่หงุดหงิดโกรธง่าย หรืออารมณ์ค้างมาจากเรื่องอื่นๆ
          2. ผู้สังเกตต้องไม่มีความลำเอียงเข้าข้างตนเองหรือผู้ถูกสังเกต
          3. ความตั้งใจจริง ผู้สังเกตต้องมีใจจดจ่อในสิ่งที่จะสังเกต ทำด้วยความตั้งใจ พึงพอใจ มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนและชัดเจน
          4. สภาพทางกาย ผู้สังเกตต้องเป็นผู้ที่มีร่างกายปกติ เช่น ประสาทสัมผัสของผู้สังเกตต้องไวอยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดี
         5.สภาพของสมองผู้สังเกตต้องเป็นผู้ที่มีความสามารถในการรับรู้พฤติกรรมที่ผู้ถูกสังเกตแสดง ออกมา และแปลความหมายของพฤติกรรมที่ผู้ถูกสังเกตแสดงออกมาได้ ตัวอย่างเช่น พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความเห็นไม่ตรงกันได้แก่ การส่ายหน้า เป็นต้น

เครื่องมือที่ใช้ประกอบการสังเกต
การสังเกตที่ดีควรมีการเตรียมการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมือช่วย เช่น แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า การบันทึกพฤติกรรม เป็นต้น
ข้อดีของการสังเกต
          1. สามารถใช้เก็บรวบรวมข้อมูลกับบุคคลที่อ่านหนังสือไม่ออกเขียนไม่ได้ พวกคนพิการทางจิต หรือพวกเด็กเล็กๆ ที่ไม่สามารถใช้เครื่องมือชนิดอื่นเก็บรวบรวมได้
  2.ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ เป็นข้อมูลที่เกิดจากการสังเกตพฤติกรรมโดยตรงของผู้สังเกตเอง ไม่ได้ขึ้นอยู่กับผู้สังเกตเป็นผู้ตอบ ข้อมูลจึงมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้ผู้สังเกตต้องมีหลักและวิธีการสังเกตที่ดี และควรให้ผู้ถูกสังเกตอยู่ในสภาพการณ์ตามปกติ
          3. ช่วยให้ได้ข้อมูลบางอย่างเพิ่มเติมในเรื่องเดียวกันได้ ทั้งในทางสนับสนุนขัดแย้ง เพื่อช่วยเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ ให้ชัดเจนถูกต้องยิ่งขึ้น
          4. การสังเกต สามารถเก็บข้อมูลจากพฤติกรรมหลายชนิดได้

ข้อจำกัดของการสังเกต
          1. ใช้เวลามากในการสังเกต ถ้ากลุ่มตัวอย่างมากจะทำให้เสียเวลา หรือบางทีพฤติกรรมที่ต้องการสังเกตยังไม่เกิดขึ้นต้องเฝ้ารอทำให้เสียเวลา
          2. ข้อมูลบางอย่างไม่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า เช่น พฤติกรรมภายในต่างๆ หรือข้อมูลที่เป็นเรื่องส่วนตัวจะไม่สามารถเข้าไปสังเกตได้
          3. ในการสังเกตนักเรียนจะทำไม่ได้เลยถ้านักเรียนออกนอกห้องเรียนไปแล้ว
          4. ผู้สังเกตต้องได้รับการฝึกฝนอย่างดี มิฉะนั้นข้อมูลที่ได้จะขาดความเที่ยงตรงและ เชื่อมั่น
          5. การสังเกตอาจเกิดความลำเอียงได้ ผู้สังเกตต้องลดอคติความลำเอียงลง

เครื่องมือในการสังเกตคืออะไร

ที่มาของภาพ : http://www.thaigoodview.com/node/91926?page=0%2C1

เครื่องมือในการสังเกตคืออะไร

เครื่องมือในการสังเกตคืออะไร

เครื่องมือที่ใช้ในการสังเกตมีอะไรบ้าง

เครื่องมือช่วยประสาทสัมผัสทางตา - แว่นขยาย ช่วยขยายขอบเขตการมองเห็นของประสาทสัมผัสทางตา ทำให้เห็นรายละเอียดของวัตถุมากขึ้น - กล้องจุลทรรศน์ ใช้ส่องดูวัตถุขนาดเล็กมาก ๆ ที่ตาเปล่ามองไม่เห็นและอยู่ในระยะใกล้ ๆ เช่น จุลินทรีย์ - กล้องส่องทางไกล ใช้ส่องดูวัตถุที่อยู่ไม่ไกลเกินไปนัก ใช้ส่องดูสัตว์ในธรรมชาติ ดูกีฬา เป็นต้น

การสังเกตมีความสําคัญอย่างไร

สรุปข้อดีของวิธีการสังเกต เป็นการช่วยเก็บข้อมูลที่ผู้ถูกสังเกตไม่เต็มใจบอก เพราะไม่มีเวลาหรือกลัวมีภัยแก่ตัว หรืออาจทำให้เสื่อมเสียต่อตนเอง ช่วยในการเก็บข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อสนับสนุนหรือขัดแย้งกับข้อมูลที่ได้มาจากการบอกเล่า หรือเป็นข้อมูลที่เสริมความเข้าใจให้ชัดเจนถูกต้องยิ่งขึ้น

Observation มีกี่ประเภท

1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) ... .
2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant Observation).

ข้อใดคือความหมายของการสังเกต

การสังเกต การสังเกต (Observation) การสังเกต เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของสิ่งที่เราต้องการศึกษาอาจเป็น บุคคล สิ่งแวดล้อม หรือวัตถุต่างๆ โดยการใช้ประสาทสัมผัส เช่น ตา หู ในการติดตามเฝ้าดูอย่างใกล้ชิด ประเภทของการสังเกต การสังเกตแบ่งออกได้หลายแบบดังนี้