Isp คืออะไร มีบทบาทเกี่ยวข้องอย่างไรกับอินเทอร์เน็ต

ISP (ไอ เอส พี) หรือ Internet Service Provider (อินเตอร์เน็ต เซอร์วิส โปรไวด์เดอร์) คือ องค์กรที่ให้บริการการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เข่น 3BB, True, DTAC, AIS, CAT, TOT, Beenets, Symphony

Isp คืออะไร มีบทบาทเกี่ยวข้องอย่างไรกับอินเทอร์เน็ต
Internet Service Provider

    การเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ตในแต่ละครั้งเราจำเป็นต้องเข้าผ่าน ISP ซึ่ง ISP จะเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆ ทั้งนอก และในประเทศ ซึ่งเราจะเปรียบเทียบ ISP เป็นเหมือนกับประตูทางเข้าออกของข้อมูลนั้นเอง แล้ว 

    บริษัทที่ให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โดยผู้ให้บริการจะเชื่อมโยงลูกค้าเข้ากับเทคโนโนยีรับส่งข้อมูลที่เหมาะสมในการส่งผ่านอุปกรณ์Protocol (โปรโตคอล) อย่างเช่น ไดอัล, ดีเอสแอล, เคเบิลโมเด็ม, ไร้สาย หรือการเชื่อมต่อระบบไฮสปีด ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ISP เป็นองค์กรที่ให้บริการสำหรับการเข้าถึงและการใช้ที่ อินเตอร์เน็ต ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตอาจจะจัดในรูปแบบต่างๆ เช่น เชิงพาณิชย์ ชุมชนที่เป็นเจ้าของ  ไม่แสวงหาผลกำไร หรือ ของเอกชน ซึ่งผู้ใช้หรือลูกค้าที่ต้องการเป็นเจ้าของหรือมีเว็บไซต์เป็นของตัวเองรวมไปถึงบริษัทก็ต้องมีการจดทะเบียน หรือที่เรียกกันว่า จดทะเบียนโดเมนนั้นเองครับ

    บริการอินเทอร์เน็ตที่ให้บริการโดยผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตมักจะรวมถึง อินเทอร์เน็ต  การขนส่งอินเทอร์เน็ต  ชื่อโดเมน ลงทะเบียน เว็บโฮสติ้ง เป็นต้น

 Reference : en.wikipedia.org/wiki/Internet_service_provider

ภาพประกอบ : https://goo.gl/XmSOeG

 ISP หรือ Internet Service Provider เป็นหน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ทำหน้าที่เสมือนเป็นประตูเปิดการเชื่อมต่อให้บุคคลหรือองค์กรสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ สำหรับในประเทศไทยมีหน่วยงานที่ให้บริการด้านนี้อยู่ 2 ประเภทด้วยกันคือ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ 

(Commercial ISP) และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสำหรับสถาบันการศึกษา การวิจัยและหน่วยงานของรัฐ 

(non-commercial ISP) ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตมากกว่า 20 ราย 

ดังตัวอย่างในตารางต่อไปนี้   

วันศุกร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2556

1. ISP คืออะไรมีบทบาทเกี่ยวข้องอย่างไรกับอินเทอร์เน็ต

ISP คือ หน่วยงานที่บริการให้เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของบริษัท เข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั่วโลก ย่อมาจากคำว่า  Internet Service Providerทำหน้าที่เสมือนเป็นประตูเปิดการเชื่อมต่อให้กับบุคคลหรือองค์กรสามารถใช้งานอินเตอร์เน็ตได้

เขียนโดย Unknown ที่ 09:06

Isp คืออะไร มีบทบาทเกี่ยวข้องอย่างไรกับอินเทอร์เน็ต

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet service provider: ISP) คือ บริษัทที่ให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต[1] โดยผู้ให้บริการจะเชื่อมโยงลูกค้าเข้ากับเทคโนโลยีรับส่งข้อมูลที่เหมาะสมในการส่งผ่านอุปกรณ์โพรโทคอลอินเทอร์เน็ต อย่างเช่น ไดอัล, ดีเอสแอล, เคเบิลโมเด็ม, ไร้สาย หรือการเชื่อมต่อระบบไฮสปีด

ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตอาจให้บริการ เปิดบัญชีชื่อผู้ใช้ในอีเมล ติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นโดยรับ-ส่ง ผ่านเซิร์ฟเวอร์ของผู้ให้บริการ ในบางครั้งผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ตอาจให้บริการเก็บไฟล์ข้อมูลระยะไกล รวมถึงเรื่องเฉพาะทางอื่น เป็นต้น

อ้างอิง[แก้]

  1. Definition on The Free Dictionary

หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Tags: isp อินเตอร์เน็ต

การเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ตในแต่ละครั้งเราจำเป็นต้องเข้าผ่าน ISP ซึ่ง ISP จะเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆนอกประเทศ ซึ่งการเชื่อมต่อนี้จะสามารถทำให้เราเข้าถึงข้อมูลที่มี Server อยู่ต่างประเทศได้ ซึ่งเราจะเปรียบเทียบ ISP เป็นเหมือนกับประตูทางเข้าออกของข้อมูลนั้นเอง แล้ว ISP คืออะไรล่ะ

————– advertisements ————–

ISP คืออะไร ทำหน้าที่อะไร
จากที่ได้เกริ่นมาแล้วเบื้องต้นถึงหน้าที่บ้างส่วนของ ISP แล้ว หลายคนคงอยากรู้ว่า ISP คืออะไร ISP ย่อมาจากคำว่าInternet Service Provider ซึ่งเป็นหน่วยงานและองค์กรที่ให้บริการการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อาทิเช่น เมื่อเราเรียกเปิดใช้งานเว็บไซต์หนึ่งเว็บไซต์ คำสั่งที่เราร้องขอจะผ่านเข้าไปยัง ISP เพื่อให้ ISP ช่วยเชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์ที่เราต้องการ ข้อดีของการมีผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตหลาย ๆค่ายนั้นก็คือ จะสามารถทำให้ผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตในประเทศนั้นสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้เร็วขึ้น เพราะมีการแข่งขันด้านความเร็วนอกจากนั้นผู้ใช้งานยังสามารถใช้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงที่ถูกลงด้วยเนื่องจากมีการแข่งขันด้านราคาและเทคโนโลยีอยู่เสมอ

Isp คืออะไร มีบทบาทเกี่ยวข้องอย่างไรกับอินเทอร์เน็ต

รูปแบบการให้บริการของ ISP

เมื่อเทียบกับสมัยที่ประเทศไทยเริ่มมีอินเตอร์เน็ตใช้งานครั้งแรกเรามีเพียง ISP เพียงค่ายเดียวเท่านั้นก็คือ CAT บริษัท กสท โทรคมนาคม ซึ่งในเวลานั้นทั้งความเร็วที่มีระดับต่ำและไม่ค่อยเสถียร รวมถึงราคาในการใช้อินเตอร์เน็ตก็สูงด้วย แต่หลังจากเปิดเสรีมีบริษัทเอกชนเข้ามาแข่งขันกันทำให้ประสิทธิภาพการใช้งานอินเตอร์เน็ตดีขึ้นเรื่อย และราคาในการใช้งานอินเตอร์เน็ตก็ถูกลงตามไปด้วยเช่นกัน จนทุกวันนี้เราสามารถใช้อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงได้ในราคาที่ไม่แพงแล้ว

ในประเทศไทยเราจะแบ่งผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) เป็น 2 ประเภทด้วยกันคือ
1. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ ( Commercial ISP) ซึ่งจะมีอยู่หลายค่ายด้วยกัน เราสามารถแบ่งเป็นค่าย ๆได้ดังนี้
1.1 ชมะนันท์เวิล์ดเน็ต (CMN)
1.2 เคเอสซี คอมเมอร์เชียล อินเทอร์เน็ต (KSC)
1.3 ริช คอมมูนิเคชั่นส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) Reach (TH)
1.4 จัสมินอินเทอร์เน็ต (JI-Net)
1.5 ซีเอส ล็อกซอินโฟ (CS Loxinfo)
1.6 ดาต้าลายไทย (Dataline)
1.7 ฟาร์อิสท์ อินเทอร์เน็ต( Far East )
1.8 รอยเน็ท อินเทอร์เน็ต (Roy-Net)
1.9 แปซิฟิค อินเทอร์เน็ต (world net -Pacific Internet )
1.10 อินเทอร์เน็ต เซอร์วิส โพรวายเดอร์( ISSP)
1.11 สามารถอินโฟเน็ต (Samart)
1.12 อินเทอร์เน็ตประเทศไทย (Internet Thailand-INET)
1.13 อี่ซี่ เน็ต (E-Z Net)
1.14 เอเชีย อินโฟเน็ท (True internet)( Asia InfoNet)
1.15 เอ-เน็ต (A-Net)
1.16 ไอเดียเน็ต (IdeaNet)
1.17 ไออีซี อินเทอร์เน็ต (Asia Access)
1.18 บริษัท กสท โทรคมนาคม (CAT)
1.19 บริษัท โปรอิมเมจ เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอมมูนิเคชั่น (PROEN)
1.20 บริษัท แพคเน็ท อินเทอร์เน็ต (ประเทศไทย) จำกัด (PACNET)
1.21 บริษัท บีบี บรอดแบนด์ จำกัด
1.22 บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
1.23 บริษัท เอ็น ที ที คอมมิวนิเคชั่นส์ (ประเทศไทย) จำกัด
1.24 บริษัท มิลคอม ซิสเต็มซ์ จำกัด
1.25 บริษัท อินเตอร์เนต โซลูชั่น แอนด์ เซอร์วิส โพรวายเดอร์ จำกัด
1.26 บริษัท ทีทีแอนด์ที ซับสไครเบอร์ เซอร์วิสเซส จำกัด

รายชื่อบริษัทนี้เป็นผู้ให้บริการ ISP ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและเป็นผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์ โดยจะต้องเสียค่าบริการในการใช้งานเป็นรายชั่วโมง รายวัน และรายเดือนซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกใช้งานตามลักษณะความต้องการในการใช้งานอินเตอร์เน็ต

2. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสำหรับสถาบันการศึกษา การวิจัยและหน่วยงานของรัฐ (non-commercial ISP ) มีรายชื่อดังต่อไปนี้
2.1 เครือข่ายไทยสาร (ThaiSarn)
2.2 เครือข่ายคนไทย (Khonthai )
2.3 เครือข่ายพับเน็ต (PubNet )
2.4 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
2.5 เครือข่ายยูนิเน็ต (UniNet )
2.6 สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (GITS)
ผู้ให้บริการประเภทที่สองนี้ส่วนมากแล้วจะไม่แสวงหากำไรจะให้ใช้งานอินเตอร์เน็ตโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายแต่ที่สำคัญการใช้งานอินเตอร์เน็ตประเภทนี้จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของผู้ให้บริการเท่านั้นถึงจะใช้งานได้ อาทิ ต้องใช้ในสถานศึกษาหรือเป็นนักศึกษาที่เรียนอยู่ในสถานศึกษานั้นถึงจะใช้อินเตอร์เน็ตได้เป็นต้น

ประเภทการให้บริการของ ISP มีอยู่ 2 ประเภทด้วยกันคือ
1. Narrow band เป็นการเชื่อมต่อผ่านสายโทรศัพท์ซึ่งจะมีความเร็วประมาณ 56 Kbps การเชื่อมต่อกับ ISP ประเภทนี้จะต้องดูว่า โมเด็มที่ใช้งานสามารถเชื่อมต่อหรือเป็นประเภทเดียวกับ ISP ด้วยหรือไม่เพราะ ISP แต่ละรายการจะมีหมายเลขโทรศัพท์หลายหมายเลขด้วยกัน ซึ่งแต่ละหมายเลขจะใช้สำหรับโมเด็มที่มีความเร็วและมาตรฐานที่แตกต่างกัน
2. Broadband ซึ่งเป็นการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในปัจจุบันซึ่งการเชื่อมต่อกับ ISP จะเป็นการเชื่อมต่อโดยตรง ทำให้มีความเร็วในการใช้งานที่สูงขึ้น โดยผู้ให้บริการได้กำหนดมาตรฐานความเร็วในการใช้งานไว้ที่ ความเร็ว 500Kbps ไปจนถึง 2.5 Mbps ซึ่งโมเด็มที่ใช้จะเป็น ADSL MODEM ซึ่งโมเด็มประเภทนี้สามารถทำความเร็วในการส่งข้อมูลสูงถึง 6 Mbps และดาว์โหลดจะมีความเร็วในการดาว์โหลดที่สูงกว่า 6 Mbps

Isp คืออะไร มีบทบาทเกี่ยวข้องอย่างไรกับอินเทอร์เน็ต

Broadband Internet รูปแบบการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในปัจจุบัน

การเชื่อมต่อกับ ISP มีอยู่ด้วยกันหลายแบบคือ
1. การเชื่อมต่อแบบ Dial Up เป็นการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในยุคแรก ซึ่งจะเชื่อมต่อผ่านสายโทนศัพท์ ระหว่างการเชื่อมต่อจะได้ยินเสียงสัญญาณในการต่อทุกครั้ง โดยการใช้งานการเชื่อมต่อแบบนี้จะไม่ค่อยมีความเสถียร และมีความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 56 kbps
2. การเชื่อมต่อแบบ ISDN (Internet Services Digital Network) เป็นการเชื่อมต่อที่ดีกว่าแบบ Dial Up แต่ก็ยังเป็นการเชื่อมต่อด้วยสายโทรศัพท์อยู่ แต่ความเร็วในการใช้งานจะมากกว่าพร้อมกันนั้นยังสามารถจะคุยโทรศัพท์ระหว่างการใช้งานอินเตอร์เน็ตได้อีกด้วย
3. การเชื่อมต่อแบบ DSL (Digital Subscriber Line) เป็นการเชื่อมต่อที่เรียกได้ว่ามีความเร็วสูงกว่าการเชื่อมต่อ Dial Up และ ISDN มาก แต่ความเร็วที่ได้มาจะไม่แน่นอนซึ่งเป็นข้อเสียของการเชื่อมต่อแบบนี้
4. การเชื่อมต่อแบบ Cable TV เป็นการเชื่อมต่อที่ผ่านสายเคเบิลทีวีด้วยการส่งสัญญาณอินเตอร์เน็ตและสัญญาณภาพและเสียงมาพร้อมกัน การใช้งานอินเตอร์เน็ตจะสามารถใช้พร้อมกับการดูเคเบิลทีวีได้เลยแต่ข้อเสียก็คือถ้ามีผู้ใช้งานในเวลาเดียวกันมาก ๆอาจจะทำให้ความเร็วในการใช้อินเตอร์เน็ตต่ำลงไปด้วย
5. การเชื่อมต่อแบบดาวเทียม (Satellites) การเชื่อมต่อแบบนี้จะไม่นิยมใช้งานกันเพราะมีค่าใช้จ่ายที่สูงมากและความเร็วในการใช้งานก็ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพอากาศด้วยเช่นกัน

สรุปแล้ว ISP หรือผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตนั้นมีความสำคัญต่อการเชื่อมต่อเครือข่ายอย่างมาก เพราะเป็นเหมือนกับประตูในการให้ข้อมูลที่เราร้องขอจากภายนอกเข้ามาแสดงยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยู่หรือข้อมูลที่เราส่งออกไปสามารถผ่านออกไปสู่โลกภายนอกได้ ในอนาคตเชื่อได้ว่าถ้ามีการแข่งขันระหว่าง ISP จำนวนมากก็จะทำให้ผู้ใช้บริการสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ถูกลงและมีเทคโนโลยีที่สูงขึ้นอย่างแน่นอน

-------------- advertisements --------------

-------------- advertisements --------------

Comments

ข้อใดเป็นตัวอย่างของ ISP

ได้แก่ Truemove, DTAC, AIS, 3BB เป็นต้น โดยที่ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเหล่านี้อาจเชื่อมสายโดยตรงไปยังบ้าน ธุรกิจหรือผ่านทางอุปกรณ์เชื่อมต่อไร้สายผ่านดาวเทียมหรือเทคโนโลยีอื่น ๆ

อินเทอร์คืออะไร

อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และ โซเชียลเน็ตเวริ์ค

ISP มีกี่ประเภท

ISP หรือ Internet Service provider เป็นหน่วยงานที่ให้บริการ เชื่อมต่อเครือข่ายเข้ากับอินเทอร์เน็ต สาหรับในประเทศไทยมีหน่วยงานที่ให้บริการด้านนี้อยู่ 2 ประเภท ด้วยกันคือ - ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ (commerce ISP) จ านวน 18 ราย

การให้บริการบนอินเทอร์เน็ตมีอะไรบ้าง

บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต.
ไปรษณีอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail : Electronics mail).
เครือข่ายใยแมงมุม (WWW : World Wide Web).
การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล (FTP : File Transfer Protocol).
การทำงานข้ามเครื่อง (TelNet).
การสนทนาบนเครือข่าย(IRC : Internet Relay Chat).
กลุ่มข่าวที่สนใจ (UseNet).