กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไรและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

ความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าสัมพันธ์กันอย่างไร

โดย :

สาขาวิทยาศาสตร์ภาคบังคับ

เมื่อ :

วันพุธ, 27 กุมภาพันธ์ 2562

ความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าสัมพันธ์กันอย่างไร

ตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนหาคำตอบว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าสัมพันธ์กันอย่างไร โดยให้นักเรียนใช้แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์วัดค่ากระแสไฟฟ้าและค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าตามลำดับ แล้วเขียนกราฟระหว่างค่ากระแสไฟฟ้าและค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า เหมาะสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

หัวเรื่อง และคำสำคัญ

ปฏิบัติการวิทย์, ความต่างศักย์ไฟฟ้า, กระแสไฟฟ้า, โวลต์มิเตอร์, แอมมิเตอร์, วงจรไฟฟ้า, Voltmeter, Ammeter

ลิขสิทธิ์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา

วิทยาศาสตร์ทั่วไป

ดูเพิ่มเติม

คุณอาจจะสนใจ

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไรและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

Hits

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไรและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
(4043)

วีดิทัศน์สาธิตกิจกรรมการจำลองการทำงานของกล้ามเนื้อกะบังลม โดยใช้หลอดฉีดยาและลูกโป่งเพื่อจำลองและอธิ ...

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไรและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

Hits

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไรและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
(8622)

แอนิเมชันแสดงการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอและฟีตัสมนุษย์

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไรและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

Hits

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไรและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
(31240)

เมื่อนำดอกไม้ไปแช่ไว้ในน้ำสีแล้วตั้งทิ้งไว้ ดอกไม้จะค่อยๆ เปลี่ยนสี ที่เป็นเช่นนี้เพราะเกิดการออสโม ...

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไรและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

ภาพแสดงความต่างศักย์ (V) ตกคร่อมตัวนำใด ๆ ที่มีค่าความต้านทาน (R)ทำให้เกิดกระแส (I)ไหลผ่านต้วนำนั้น

กฎของโอห์ม ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้ากับความต้านทาน กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนำใด ๆ แปรผันโดยตรงกับความต่างศักย์ (แรงดันไฟฟ้าหรือแรงดันตกคร่อม คือกระแสมีค่ามากหรือน้อยตามความต่างศักย์นั้น) เขียนเป็นสมการได้ว่า

กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไรและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

และกระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับความต้านทานระหว่างสองจุดนั้น(คือถ้าความต้านทานมากจะทำให้กระแสไหลผ่านน้อย, ถ้าความต้านทานน้อยจะทำให้มีกระแสมาก) เขียนเป็นสมการได้ว่า

/

นำสูตรสมการทางคณิตศาสตร์ทั้งสองมารวมกัน, เขียนได้ดังนี้:

โดยที่ คือความต่างศักย์ มีหน่วยเป็น โวลต์, คือกระแสในวงจร หน่วยเป็น แอมแปร์ และ คือความต้านทานในวงจร หน่วยเป็น โอห์ม

กฎดังกล่าวตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่เกออร์ค ซีม็อน โอห์ม นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้ที่ตีพิมพ์ผลงานใน ค.ศ. 1827 บรรยายการทดลองวัดค่าแรงดันและกระแสผ่านลวดความยาวต่าง ๆ กัน และอธิบายผลด้วยสมการ (ซึ่งซับซ้อนกว่าสมการบนเล็กน้อย)

อ้างอิง[แก้]

William F. Smith,1993, Foundation of Materials Science and Engineering