คบคนพาลพาลพาไปหาผิดหมายความว่าอะไร

    สมณพราหมณ์เหล่านั้นสนทนากันว่า “คนดีจะต้องมีศีล มีมารยาทดีงาม อ่อนโยน ไม่ควรด่าใคร ไม่ควรทำร้ายใคร จะต้องมีขันติ มีความเมตตา เอื้อเฟื้อเอ็นดูเพื่อนมนุษย์และสรรพสัตว์ทั้งหลาย” ช้างฟังดังนั้นก็เข้าใจว่า" สมณพราหมณ์เหล่านี้สอนเรา ต่อแต่นี้ไปเราควรเป็นช้างที่มีศีล” ตั้งแต่นั้นมาช้างมหิลามุขกลับเป็นช้างใจดี สุภาพอ่อนโยนเหมือนเดิม พระราชาทราบเข้าทรงโสมนัสและชื่นชมพระโพธิสัตว์ว่าเป็นบัณฑิต มีปัญญามาก เข้าใจแม้กระทั่งอัธยาศัยของสัตว์เดียรัจฉาน จึงได้พระราชทานยศใหญ่ให้แก่พระโพธิสัตว์

Show

คนไทยคุ้นเคยสำนวน “คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล” เป็นอย่างดี แม้บางคนอาจงงว่าถ้าเป็นคนดีแล้วคบคนพาล เราจะเป็นคนพาลแน่หรือ หรือคนพาลจะกลับมาเป็นคนดีตามเรากันแน่ อีกปัญหาหนึ่งคือวิทยาศาสตร์ไม่ได้ให้นิยามคำว่า “คนดี” และไม่แน่ว่าในอนาคตหากมีนิยามแล้วจะตรงกับนิยาม “คนดี” ของคนไทยมากน้อยเพียงใด

แต่อย่างไรก็ตามความรู้ทางวิทยาศาสตร์เท่าที่มีในวันนี้ยืนยันค่อนข้างชัดเจนแล้วว่า การคบเพื่อนนิสัยใจคอหรือความคิดอ่านแบบใด เราก็มีโอกาสจะมีความคิดอ่านเหมือนกับบรรดาเพื่อน ๆ ที่แวดล้อมตัวเราด้วย

หากพวกเขาเป็นคนมองโลกในแง่ร้าย เราก็จะมองโลกในแง่ร้ายเช่นกัน

มีนักจิตวิทยาชื่อ โซโลมอน แอสช์ (Solomon Asch) จากวิทยาลัยสวอร์ทมอร์ (Swarthmore College) เคยทำการทดลองแปลก ๆ ไว้เรื่องหนึ่งตั้งแต่ ค.ศ. ๑๙๕๖ (dx.doi.org/10.1037/h0093718) เขาขีดเส้นตรงในแนวตั้งด้วยหมึกดำบนกระดาษแข็งพื้นสีขาวปราศจากลวดลายเพื่อใช้เป็นเส้นเปรียบเทียบ จากนั้นก็ขีดอีกสามเส้นยาวแตกต่างกัน มีแค่เพียงเส้นเดียวที่เท่ากับเส้นเปรียบเทียบ แล้วก็ให้คนแต่ละคนประมาณความยาวของเส้นสีดำนั้น

ในบรรดานักศึกษาชายอายุตั้งแต่ ๑๗-๒๕ ปี อายุเฉลี่ยอยู่ที่ ๒๐ ปีนั้น เขาสุ่มอยู่หลายกลุ่ม รวมผู้เข้าร่วมทดลองทั้งสิ้น ๑๒๓ คน จุดที่เขาต้องการทดสอบก็คือ ความเห็นเรื่องความยาวเส้นสีดำของแต่ละคนขึ้นกับความเห็นของกลุ่มเทียมหรือหน้าม้าที่เตรียมไว้เพียงใด

ผลก็คือผู้เข้าร่วมทดลองแต่ละคนประมาณความยาวของเส้นแตกต่างกัน “ขึ้นกับ” ว่าคนรอบข้างคิดอย่างไร หากกลุ่มจำแลงที่สร้างขึ้นบอกตัวเลขความยาวมาก ก็จะประมาณเส้นนั้นยาวมากตามด้วย ในทางตรงกันข้ามหากบอกว่าสั้นก็ได้ผลเช่นเดียวกัน

สรุปว่าแต่ละคนแสดงความคิดเห็นคล้อยตามความคิดเห็นของกลุ่ม ไม่ใช่ความคิดเห็นของตัวเองจริง ๆ

ผลการทดลองยืนยันงานเขียนของ กุสตาฟ เลอ บง (Gustave Le Bon) เรื่อง ฝูงชน : การศึกษาความคิดแบบมหาชน (The Crowd : A Study of the Popular Mind) ซึ่งไม่ว่าจะเลนิน มุสโสลินี หรือฮิตเลอร์ ต่างก็ผ่านตามาแล้วทั้งสิ้น เลอบงเขียนว่าสำหรับฝูงชนแล้ว “อารมณ์ความรู้สึกและแนวคิดของคนทุกคนในกลุ่มรวมกันเป็นหนึ่งเดียว และไปในทิศทางเดียวกัน จนราวกับความสำนึกแบบปัจเจกชนสูญหายไป”

เกิดอะไรขึ้นกันแน่ และทำไมจึงเป็นเช่นนั้น

เมื่อเกิดความคิด ความเห็น หรือความต้องการใด ๆ หากไปด้วยกันได้กับผู้คนรอบตัว จะทำให้สมองเข้าสู่วงจรการให้รางวัลของสมอง พูดง่าย ๆ คือถ้าคิดอะไรไม่ขัดแย้งกับพรรคพวกเราก็จะรู้สึกดี แต่ถ้าไม่ สมองส่วนที่เรียกว่าแอนทีเรียร์อินซูลา (anterior insula) รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องความรู้สึกเจ็บปวดจะทำงาน

คราวนี้ก็มีสองทางเลือก

ทางเลือกหนึ่งคือแกล้งทำเป็นเห็นด้วยกับคนอื่น แต่ยังคงเก็บอาการไม่เห็นด้วยไว้ในหัวอย่างลับ ๆ อีกทางก็คือ สมองจะหาทางเปลี่ยนและปรับจนความคิดที่อยู่เบื้องลึกที่สุดเข้ากันได้กับคนรอบ ๆ ตัว

ที่น่าสนใจคือ มีงานวิจัยอีกชิ้นหนึ่ง (Neurosci Biobehav Rev. 2016 Dec ;71 : 101-111) ยืนยันว่า เราเลือกใช้วิธีการแบบหลังบ่อยเป็นอย่างยิ่ง

การทำงานของสมองสองส่วน คือ คอยติดตามตรวจสอบสิ่ง “ผิดแปลก” ไม่เข้ากันกับคนรอบข้าง ส่วนแรกคือแอนทีเรียร์อินซูลาที่กล่าวไปแล้ว อีกส่วนหนึ่งคือมีเดียลฟรอนทัลคอร์เท็กซ์ (medial frontal cortex) ที่ตั้งอยู่ตรงบริเวณตรงกลาง ๆ ของเปลือกสมองส่วนหน้า ทั้งสองจะร่วมกันหาทางลดความไม่ลงรอยดังกล่าว

งานวิจัยอีกชิ้นหนึ่งใน ค.ศ. ๒๐๑๐ (doi.org/10.1093/scan/nsq054) ระบุว่าเครือข่ายสมองทำงานอย่างแข็งขันมากเสียจนกระทั่งเราเปลี่ยนใจในเรื่องต่าง ๆ ให้เข้ากับปัจจัยแวดล้อมภายนอก คือความคิดเห็นของเพื่อนฝูง รวดเร็วจนเราเองก็ไม่รู้ตัวเลยทีเดียว

นั่นก็หมายความว่าเราเลือกตัดสินใจเรื่องราวต่าง ๆ ในชีวิตหลายเรื่องผ่านอิทธิพลจากแรงกดดันของความคิดเห็นของพรรคพวก เพื่อนฝูง คนใกล้ชิดเป็นอย่างมาก การเลือกคบเพื่อนจึงเป็นเรื่องสำคัญ

ภาษิตที่ว่า “คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล” จึงถือได้ว่าเป็นภูมิปัญญาที่ไม่เกินเลยความเป็นจริง โดยมีผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ยืนยัน 

ภาพผลสแกนสมองจากมุมต่าง ๆ (ซ้าย กลาง ขวา) ขณะที่มีความเห็นสอดคล้อง (a) และขัดแย้ง (b) กับคนในกลุ่ม จะเห็นได้ว่าสมองส่วนที่ทำงาน (จุดแดงส้ม) มีตำแหน่งแตกต่างกัน

สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการเลือกคบคนต้องดูดีๆ เพราะหากคบคนชั่วหรือคนไม่ดีเป็นมิตร ก็มักชักพาเราจูงเราไปในทางไม่ดี แต่ถ้ารู้จักเลือกคบเพื่อนที่ดี มีความรู้ ก็จะพากันชักจูงให้เรามีความรู้และสิ่งดีๆตามมา

ที่มาของสํานวน  –

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย

หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุก็ก้อกงเกวียนกำเกวียนกงกำกงเกวียนกง และ กำ เป็นส่วนประกอบของล้อเกวียนกงสุลกงศุล- "กรมการกงสุล" เรียกสั้น ๆ เป็น "กงสุล"
- ซึ่งคำว่า "กงสุล" นั้นมาจากคำในภาษาฝรั่งเศสว่า "consul"กฎกฏกฎ ทุกอย่าง ใช้ ฎ ชฎา ยกเว้น ปรากฏ ใช้ ฏ ปฏัก ส่วน กรกฎ/กรกฏ สะกดได้ทั้งสองแบบกบฏกบฎ, กบถ- "กบฏ" ใช้ ฏ ปฏัก
- ในสมัยโบราณ เคยสะกดด้วย ฎ ชฎา (ดู พจนานุกรมกฎหมาย ของ ขุนสมาหารหิตะคดี)
- ถ้าออกเสียง "ขะ-บด" เขียน "ขบถ"กบาล, กระบาลกะบาล, -บานใช้เรียกศีรษะ แต่เป็นคำไม่สุภาพกรรมกรกรรมกรณ์- "กรรมกร" = คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน
- "กรรมกรณ์" = อาญา, เครื่องสำหรับลงอาญา ฯลฯกรรมกรณ์กรรมกร- "กรรมกร" = คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน
- "กรรมกรณ์" = อาญา, เครื่องสำหรับลงอาญา ฯลฯกระเชอกระเฌอ, กะเชอ, กะเฌอระวังสับสนกับ เฌอกระเพาะกะเพาะ, กะเพราะ, กระเพราะระวังสับสนกับ กะเพรากริยากิริยา"กริยา" (กฺริ-) คือ คำชนิดหนึ่ง บอกอาการ การกระทำ เช่น เดิน วิ่ง เขียน เหล่านี้ คือ คำกริยากรีฑากรีธา, กรีทากีฬาประเภทหนึ่งกรีธากรีฑาเคลื่อน ยก เดินเป็นหมู่หรือเป็นกระบวน เช่น กรีธาทัพกลยุทธ์กลยุทธ, กลยุทธิ, กลยุทธิ์กลางคันกลางครันกลิ่นอายกลิ่นไออาย แปลว่า กลิ่น ดังนั้นจึงเป็นการใช้คำที่มีความหมายซ้ำกัน เช่น คำว่า ภูเขา (ภู แปลว่า เขา)กสิณกสินกเฬวรากกเลวรากกอปรกอป, กอปร์อ่านว่า "กอบ"กอล์ฟกลอฟ, กอลฟ์, ก็อลฟ์, ก็อล์ฟ, ก๊อลฟ์, ก๊อล์ฟกะทันหันกระทันหันกะเทยกระเทยกะเทาะกระเทาะกะบังลมกระบังลมกะปิกระปิกะพงกระพงกะพริบกระพริบกะพรุนกระพรุนกะเพรากะเพา, กระเพา, กระเพราระวังสับสนกับ กระเพาะกะล่อนกระล่อนกะละมังกาละมังกะลาสีกลาสีกะละแมกาละแม, กาลาแม, กาละแมร์กะหรี่กระหรี่กะเหรี่ยงกระเหรี่ยงกะหล่ำกระหล่ำกะโหลกกระโหลกจำไว้ว่า กะโหลก กะลากังวานกังวาลกาลเทศะกาละเทศะกาลเวลากาฬเวลากาล หมายถึง เวลา แต่ กาฬ หมายถึง รอยดำหรือแดงกำเหน็จกำเหน็ดกิตติมศักดิ์กิติมศักดิ์, เกียรติมศักดิ์กินรีกินนรีแต่ "กิน-นอน" เขียน 'กินนร'กิริยากริยา"กิริยา" คือ อาการ การกระทำ เช่น ปฏิกิริยากุฎี, กุฏิกุฎ, กุฎิ"กุฏิ" อ่านว่า "กุด" หรือ "กุ-ติ" หรือ "กุด-ติ" , ถ้าต้องการอ่าน "กุ-ดี" ต้องเขียน "กุฎี" (ใช้คำไหนก็ได้)เกมเกมส์ในภาษาไทยสำหรับกรณีทั่วไปจะไม่มีการเปลี่ยนรูปแบบคำใดๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าสื่อความหมายถึงเอกพจน์หรือพหูพจน์
เว้นแต่เป็นการทับศัพท์วิสามานยนาม เช่น "SEA Games" ว่า ซีเกมส์เกล็ดเลือดเกร็ดเลือดเกษียณเกษียน, เกษียรเกษียณ = สิ้นไป เช่นเกษียณอายุ; เกษียน = เขียน; เกษียร = น้ำนมเกสรเกษรส่วนในของดอกไม้เกาต์เก๊าท์เกียรติเกียรติ์อ่านว่า "เกียด", ถ้าเขียน "เกียรติ์" อ่านว่า "เกียน" เช่น รามเกียรติ์แก๊งแก๊งค์, แก๊งก์"แก๊ง" มาจากภาษาอังกฤษว่า "gang" ในภาษาไทยเป็นภาษาปาก หมายความว่า "กลุ่มคนที่ตั้งเป็นก๊กเป็นเหล่า (มักใช้ในความหมายไม่ดี) เช่น แก๊งโจร แก๊งอันธพาล"แกร็นแกน, แกรนไม่เจริญเติบโตตามปรกติ (ใช้แก่คน สัตว์ และพืช), เช่น แคระแกร็น

ปัจจุบันไม่มีคำที่ใช้ "ฃ" โดยหันไปใช้ "ข" แทน เช่น "ฃวด" ก็ใช้เป็น "ขวด" เป็นต้น

ปัจจุบันไม่มีคำที่ใช้ "ฅ" โดยหันไปใช้ "ค" แทน เช่น "ฅอ" ก็ใช้เป็น "คอ" เป็นต้น

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุฆราวาสฆรวาส, ฆารวาส, -วาทฆาตกรฆาตรกรฆาต แปลว่า ฆ่า, ทำลาย หรือ ตีฆาตกรรมฆาตรกรรมฆาต แปลว่า ฆ่า, ทำลาย หรือ ตีเฆี่ยนเคี่ยน- "เฆี่ยน" = ตีด้วยหวายหรือไม้เรียวเป็นต้นเป็นการลงโทษ เป็นต้น
- "เคี่ยน" ไม่มีความหมายคำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุงบดุลงบดุลย์ไม่ใช่ ดุลย์งูสวัดงูสวัส, งูสวัสดิ์คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุฉบับฉะบับฉบาบฉะนั้นฉนั้นฉะนี้ฉนี้ฉันฉันท์เสมือน เช่น ฉันญาติ ฉันมิตร; รับประทาน ใช้กับพระสงฆ์ฉันท์ฉันความพอใจ หรือร้อยกรองประเภทหนึ่งมีบังคับครุลหุเฉพาะฉะเพาะ, ฉเพาะไฉนฉไนคำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุชมพูชมภูหมายถึง สีจากธรรมชาติสี นึ่งซึ่งคิดว่าเป็นสีแห่งความรักเหมือนกับสีแดงชมพู่ชมภู่ผลไม้ที่เป็นสีแดง และสี ชมพูชลมารคชลมาค, ชลมาคร, ชลมาร์คหมายถึง ทางนํ้า เช่น กระบวนเสด็จพระราชดำเนินโดยทางชลมารคช็อกโกเลต, ช็อกโกแลตช๊อกโกแลต, ช็อกโกแล็ต, ชอคโกแลต, ช๊อคโกแลต, ช็อคโกแลต ฯลฯตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554ชอุ่มชะอุ่มชะนีชนีสัตว์ประเภทหนึ่งชะมดชมดเหมือนการที่ต่อแย่ ผู่อื่นชะลอชลอชัชวาลชัชวาลย์ชีพิตักษัยชีพตักษัยชีวประวัติชีวะประวัติสมาสแล้วลบวิสรรชนีย์คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุซวดเซทรวดเซซ่องเสพส้องเสพซอฟต์แวร์ซอฟท์แวร์ทับศัพท์มาจาก softwareซาบซ่านทราบซ่าน, -ส้านซาบซึ้งทราบซึ้งซาลาเปาซาละเปา, ซะละเปาซาวเสียงซาวด์เสียง, ซาวน์เสียง, ซาวนด์เสียงหยั่งเสียงเพื่อฟังความคิดเห็นซีเมนต์ซีเม็นต์, ซีเมนท์, ซีเม็นท์, ซีเม็นซุ่มสุ่ม, สุ้มซุ่ม = ซ่อน, แอบซ่อนคอยทีอยู่ / สุ่ม = เครื่องมือจับปลา, เครื่องสานครอบขังไก่, ไม่เฉพาะเจาะจงซุ้มสุ้มสิ่งที่เป็นพุ่มมีทางลอดได้, ส่วนบนของประตูหน้าต่างเซ็นชื่อเซ็นต์ชื่อจากคำอังกฤษ sign, ไม่มี ต การันต์เซนติเมตรเซ็นติเมตรแซ่บแซบตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554; ใส่รูปวรรณยุกต์เอกเพื่อบ่งว่าเป็นเสียงวรรณยุกต์โทและออกเสียงสั้น (อย่างคำว่า แน่บ)แซวแซ็วราชบัณฑิตฯ ออกมาแจงว่าพิมพ์พจนานุกรมผิด ให้ใช้ "แซว" ตามเดิมไซ้ขนไซร้ขนโซมโทรมโซม = เปียกทั่ว, เช่น เหงื่อโซมตัว
โทรม = เสื่อมสภาพ, ระดมฟันแทง, ร่วมกันข่มขืนกระทำชำเราหญิง ฯลฯคำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุฎีกาฏีกาใช้ ฎ ชฎา ตัวอักษรที่คล้ายกันทำให้เกิดความสับสน

ปัจจุบันไม่มีคำที่ขึ้นต้นด้วย "ฬ" คำโบราณที่ขึ้นต้นด้วย "ฬ" หันไปใช้ "ล" แทน เช่น "ฬา" ก็ใช้เป็น "ลา", "ฬ่อ" ก็ใช้เป็น "ล่อ" เป็นต้น

คบคนพาลพาลพาไปหาผิดคบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผลหมายถึงอะไร

คนพาลจะชักนำคนที่คบหาด้วยไปในทางที่ผิด เช่น เล่นการพนัน เสพยาเสพติด ปล้น และฆ่า สอนให้เห็นผิดเป็นชอบ ให้ทำในสิ่งที่ไม่ใช่ธุระคนพาลแม้พูดดีด้วยก็โกรธ ไม่รู้จักระเบียบวินัย สมดังสุภาษิตไทยว่า คบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล

นักเรียนมีความเห็นอย่างไรต่อสุภาษิตที่ว่า ”คบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล” ขอเหตุผล

คบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล เป็นสุภาษิตหมายถึง การเลือกคบคนค้องพิจารณาให้ดีถ้าคบคนชั่วมาเป็นมิตร คนชั่วก็จะชักนำ พาเราไปในทางไม่ดี ถ้าคบคนดีมีความรู้ คนดีก็จะชักนำ พาเราไปในทางที่ดี

คบคนชั่วเป็นโทษแก่ตัวคบคนดีเป็นประโยชน์แก่ตัวคืออะไร

หลายท่านคงเคยได้ยินสุภาษิตที่กล่าวว่า “ คบคนดีเป็นศรีแก่ตัว คบคนชั่วอัปราชัย ” ซึ่งมีความหมายว่า การมีเพื่อนที่ดีหรือการคบคนดี ย่อมเป็นประโยชน์แก่ตัวเราเอง แต่ถ้าเรามีเพื่อนไม่ดีเรียกว่า คบคนชั่ว เพื่อนก็จะนำแต่ความชั่ว ความอัปราชัย ความพ่ายแพ้มาให้เรา การมีเพื่อนที่ดี เพื่อนที่เป็นกัลยาณมิตรมีลักษณะอย่างไร เพื่อนที่ ...

การคบบัณฑิตมีประโยชน์อย่างไรบ้าง

ประโยชน์ของการคบบัณฑิต 1. ท าให้จิตใจผ่องใส 2. ท าให้ปัญญาเพิ่มขึ้น 3. ท าให้มีความเห็นถูก 4. ไม่ต้องเดือดร้อนเพราะท าผิด 5. เป็นที่ยกย่องสรรเสริญของคนทั่วไป 6. มีความเจริญก้าวหน้าสามารถตั้งตัวได้เร็ว 7. ท าให้มีความสุข ปลอดภัยจากอันตรายทั้งปวง