3a ของ active listening มีอะไรบ้าง

Chiangrai Guide 2022 | 20 พิกัดเด็ด จ.เชียงราย 2022 เชื่อว่าเชียงรายน่าจะเป็น 1 ในจุดหมายปลายทางของใครหลายๆคนในช่วงสิ้นปีนี้ วันนี้พวกเราเลยรวบรวมที่พัก ที่กิน ที่เที่ยว และคาเฟ่ ใน จ.เชียงราย มาให้ทุกคนที่กำลังวางแผนจะไปเที่ยว สามารถตามรอยพวกเราได้นะครับ บอกเลยว่าเด็ดดวงทุกที่ เพราะว่าเราคัดมาแล้ว!

นั่นแปลว่า ตลอดเวลา 10 นาทีที่เราคุยกับเจ้านาย เพื่อนร่วมงาน ลูกค้า หรือคนรัก เราจะสนใจฟังและจดจำสิ่งที่เขาพูดได้ไม่ถึงครึ่งด้วยซ้ำ 

=====

ในบรรดาทักษะสำคัญในการสื่อสารและเรียนรู้ทั้ง 4 อย่าง  คือ ฟัง พูด อ่าน เขียน ผู้คนมักจะให้คุณค่ากับการพูดและการเขียนมากที่สุด รองลงมาคือการอ่าน ส่วนการฟังคนมักจะไม่ค่อยสนใจ ทั้งที่ในความเป็นจริง การฟัง คือ ทักษะที่สำคัญมากถึงขนาดที่ทำให้การทำงานประสบความสำเร็จเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว และยังช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีกับคนอื่นอีกด้วย

=====

ลองนึกถึงการฟังแล้วได้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ ฟังจนเข้าใจสิ่งต่างๆ อย่างแตกฉาน ฟังแล้วเกิดความเพลิดเพลิน สบายใจหรือฟังแล้วได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ

ประโยชน์มากมายเหล่านี้ที่น่าจะทำให้ถึงเวลาที่คุณจำเป็นต้องฝึกทักษะ “Active Listening” หรือ การฟังอย่างตั้งใจ กันแล้ว

===== 

Active Listening คือ การมีสติตลอดเวลาที่ฟัง ไม่เพียงรู้ว่าข้อความที่ได้ยินคืออะไร แต่ยังรวมไปถึงการเข้าใจประเด็นของสิ่งที่ได้ยินอีกด้วย

 หลักการเบื้องต้น คือ การมีสมาธิ กับ สติ ไม่ถูกสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศรอบตัวทำให้ไขว้เขว ไม่คิดฟุ้งหรือตอบโต้สิ่งที่ได้ยิน 

เคล็ดลับง่าย ๆ ก็คือ เวลาฟังอะไรให้ทวนสิ่งที่ได้ยินเป็นระยะ ๆ ทำให้เรายังจดจ่อกับเรื่องราวได้ดี รวมไปถึงการทำให้อีกฝ่ายได้รับรู้ด้วยว่า เรากำลังตั้งใจฟังเขาอยู่  

การทวนนี้ทำได้ตั้งแต่การทวนคำพูดของเขา  การตอบรับสั้น ๆ เช่น อืม อ่อ  การใช้ภาษาท่าทาง เช่น การพยักหน้า หรือทำทั้งหมดนี้สลับกันไปเรื่อย ๆ 

=====

อย่างไรก็ตาม ให้ระวังการพยักหน้าตอนกำลังฟัง เพราะอาจทำให้อีกฝ่ายเข้าใจผิดว่าคุณกำลังเห็นพ้องต้องกันกับเขาไปเสียทุกเรื่อง ให้ทำแค่พอประมาณเพื่อให้รู้ว่าคุณกำลังตั้งใจฟังเขาอยู่ก็เพียงพอแล้ว 

สรุปแล้ว เคล็ดลับสำหรับการเป็น “นักฟังที่ดี” ได้แก่ การเดินตาม 5 วิธีการดังนี้

1.สนใจผู้พูด

เมื่อฟังใครพูดก็มุ่งเน้นความสนใจไปยังคนที่กำลังพูด คอยสังเกตภาษากายหรือน้ำเสียงของเขาด้วย เริ่มจากมองไปยังผู้พูด ถ้าคิดว่ามีอะไรที่จะมากวนจิตใจของเราก็ให้ทิ้งไปก่อน  อย่าคิดตอบโต้ระหว่างฟัง และคอยหลีกเลี่ยงสิ่งที่จะรบกวนสมาธิคุณ  เช่น คนอื่นที่คุยกันอยู่ข้างๆ และสุดท้ายคือการอ่านภาษาท่าทางของผู้พูดให้ได้ว่าเขาสื่อความว่าอย่างไร

=====

2.แสดงให้เห็นว่าเรากำลังฟัง

ทำได้ตั้งแต่การพยักหน้าเป็นระยะๆ (แต่อย่าทำบ่อยจนคล้ายการเห็นด้วยไปเสียหมด) มองตา ยิ้มให้หรือแสดงออกทางสีหน้าบ้าง ทำให้อีกฝ่ายเห็นว่าเราสนใจในสิ่งที่เขาพูด และช่วยให้ผู้พูดมีกำลังใจว่าไม่ได้พูดอยู่คนเดียว ด้วยการตอบรับบ้างเป็นครั้งคราว

=====

3.สะท้อนกลับไปบ้าง

เมื่อเราฟัง เราควรจะให้ฟีดแบ็คด้วยการประมวลผลคำพูดของเขาเป็นระยะ ๆ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นการทวนสิ่งที่พูดว่า “ที่ได้ยินมานี่ หมายความว่า…” “แบบนี้มันก็แปลว่า…”  หรือถ้าเป็นไปได้ ให้ตั้งคำถามกลับไปบ้าง เช่น “ตรงที่บอกว่า… อันนี้หมายความว่ายังไงนะครับ” หรือคุณจะช่วยสรุปสิ่งที่ได้ยินออกมาเป็นระยะๆ ก็ได้เช่นกัน

=====

4.อย่าด่วนตัดสิน

การฟังก็คือการฟัง ไม่ใช่การหาทางตอบโต้ ดังนั้น การฟังอย่างตั้งใจจำเป็นต้องหลีกเลี่ยงการกวนใจผู้พูด ปล่อยให้เขาได้พูดจนจบก่อนที่จะโต้แย้งหรือตั้งคำถามยากๆ และระหว่างที่ได้ยินความคิดเห็นอะไร อย่ารีบเร่งไปถกเถียงจนกว่าคุณจะฟังจนครบถ้วนแล้วจริง ๆ 

=====

5.ตอบกลับให้เหมาะ

การตอบกลับควรจะทำอย่างมีศิลปะและจริงใจ ไม่ใช่การแสดงว่าเห็นด้วยในสิ่งที่คุณไม่ได้เห็นด้วยจริง ๆ การแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างนั้นสามารถทำได้ ซึ่งก็ต้องเป็นความคิดเห็นที่มีเหตุผลประกอบและอยู่บนพื้นฐานของการเคารพซึ่งกันและกัน

===== 

ทั้งหมดนี้ล้วนต้องฝึกฝน เพราะคนส่วนใหญ่มักจะเคยชินกับการฟังแบบผ่าน ๆ ฟังแบบจับใจความแบบได้บ้างไม่ได้บ้าง

แต่เมื่อการฝึกฝนจนก้าวหน้าและผลักดันให้ตัวเองกลายเป็นนักฟังอย่างจริงจัง  คุณจะประสบความสำเร็จในการสื่อสารกับคนอื่นๆ และเกิดประสิทธิภาพต่อชีวิตและการงานอย่างแน่นอน
ซึ่งเราขอแนะนำให้คุณฝึกทักษะการฟังอย่างตั้งใจนี้ควบคู่กับทักษะการฟังอย่างเข้าอกเข้าใจ

สุดท้ายนี้ หากคุณต้องการฝึกฝนการฟังอย่างจริงจังและช่วยให้ทีมมีทักษะการฟังที่ดีขึ้น เราขอแนะนำหลักสูตร “Executive Communication ทักษะการสื่อสารของผู้บริหารยุคใหม่” ที่คุณจะได้ฝึกการฟังหลากหลายรูปแบบและการสื่อสารที่จะช่วยสร้างทีมเวิร์คที่ดีขึ้นได้ คลิกดูได้ที่นี่ครับ

สิ่งแรกที่สำคัญในการฟัง คือ การยอมเปิดใจรับฟังโดยปราศจากอคติ ถ้าเริ่มต้นมาด้วยการมีอคติในใจ อย่างเช่น ไม่ชอบสิ่งนี้อยู่แล้ว หรือคิดมาก่อนแล้วว่าสิ่งนั้นเป็นสิ่งที่ผิด ก็จะทำให้ไม่สามารถรับฟังเรื่องราวทั้งหมดจนจบได้อย่างเข้าใจจริงๆ

Attention (ความสนใจ)

ต่อมา ให้ความใส่ใจเสียงของอีกฝ่าย ตั้งใจฟังสิ่งที่อีกฝ่ายพูด โดยไม่เอาความคิดตัวเองเป็นใหญ่ รอฟังเหตุผลและเรื่องราวทั้งหมดของอีกฝ่ายให้จบก่อนนำมาคิดและประมวลผลตาม

Active Listening หรือ การฟังเชิงรุก (ในที่นี้มีความหมายเดียวกับการฟังด้วยใจ, การฟังอย่างตั้งใจ) คือการฟังที่มีความหมายครอบคลุมทั้งการได้ยินเสียงที่อีกฝ่ายพูด โดยไม่ใช้ประสบการณ์ อคติ หรือความคาดหวังของตนไปตัดสินว่าเรื่องที่ได้ยินนั้นผิดหรือถูก มีการคิดวิเคราะห์แยกแยะ จับประเด็น และทวนกลับเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง รวมถึงการสังเกตอากัปกิริยาอารมณ์ความรู้สึกของผู้พูด โดยผู้ฟังจะมีสติอยู่กับปัจจุบัน เปิดใจรับฟัง สามารถติดตามเรื่องราว ความคิดและความรู้สึกของผู้พูดได้จนเกิดความเข้าใจ

นอกจากการฟังเชิงรุกจะทำให้เราสามารถเข้าใจสิ่งที่ผู้พูดสื่อสารแล้ว ทักษะนี้ยังมีคุณค่าและประโยชน์ในแง่ของการช่วยเหลือด้วยการรับฟัง ที่ทำให้ผู้พูดรู้สึกสบายใจ ได้มีโอกาสพูดตามความรู้สึกที่แท้จริง ซึ่งจำเป้นต้องใช้ควบคู่กับทักษะการตั้งคำถามที่ทรงพลัง เพื่อให้เขาหรือเธอได้ทบทวนความคิดที่ยุ่งเหยิงและค้นพบคำตอบด้วยตนเอง

จากคลิปวีดิโอของมูลนิธิสมาริตันส์ที่นำเสนอเรื่องราวของการฟังข้างต้น จะเห็นได้ว่ามีประเด็นน่าสนใจที่เกี่ยวกับทักษะการฟังเชิงรุก ได้แก่

3a ของ active listening มีอะไรบ้าง
3a ของ active listening มีอะไรบ้าง

อยากฝึกทักษะการฟังเชิงรุก ทำอย่างไรดี?

  1. ทำความรู้จักการฟังทั้ง 5 ระดับ เพื่อทบทวนว่าเรามีลักษณะการฟังในระดับและลักษณะใด
    3a ของ active listening มีอะไรบ้าง
    3a ของ active listening มีอะไรบ้าง

     

  2. เข้าใจเป้าหมายการฟังเชิงรุก เพื่อให้รู้แนวทางและสามารถออกแบบการฟังของเราได้ ได้แก่ 1) ฟังเพื่อทำความเข้าใจ ว่าผู้พูดพูดถึงเรื่องอะไร เกี่ยวข้องกับใคร เพราะอะไร และมีประเด็นความสำคัญว่าอย่างไร

    2) ฟังเพื่อนำมาใช้เมื่อถึงเวลา สำหรับกรณีที่มีข้อมูลบางอย่างที่เรายังไม่แน่ใจว่าเข้าใจถูกต้องไหม จำเป็นต้องตรวจสอบความถูกต้องด้วยการทวนถาม เช่น “ที่คุณพูดแบบนี้ แปลว่า………. ฉันเข้าใจถูกไหม?” หรือ “จากที่ฉันได้ยิน คุณหมายถึง………. ใช่ไหม”

    3) ฟังเพื่อวิเคราะห์และประเมินว่าสิ่งใด มีประโยชน์ น่าสนใจ และ สำคัญ สำหรับผู้พูด โดยปราศจากอคติหรือการตัดสินส่วนตัว

    4) ฟังเพื่อรับความรู้สึก ว่าผู้พูดกำลังมีความรู้สึกอย่างไร เผชิญกับความท้าทายทางความคิดและอารมณ์อย่างไร การฟังแบบนี้จะนำไปสู่ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมากที่สุด ผู้ฟังจะสามารถเข้าใจว่าผู้พูดเป็นคนอย่างไร และกำลังสื่อสารอะไร ต่อเมื่อมีการตื่นรู้และมีสติอยู่กับปัจจุบัน ให้ความสนใจผู้พูดอย่างเต็มที่ตลอดการสนทนา ไม่หมกมุ่นอยู่กับตัวเองว่าจะถามอะไรต่อดี

     

  3. ฝึกฟังให้บ่อย เพื่อให้เกิดความเคยชิน และเสริมทักษะให้เชี่ยวชาญขึ้น โดยใช้ 10 เทคนิคในการฟังเชิงรุก ได้แก่
  4. 1) จงหยุดพูด เปิดพื้นที่ให้ผู้พูด โดยทั่วไปแล้วผู้พูดควรพูดเยอะกว่าผู้ฟังประมาณ 70 : 30 2) ตั้งสติให้ความสนใจเต็มร้อย สร้างความเชื่อมั่นให้ผู้พูดมั่นใจว่าเรากำลังตั้งใจฟังอยู่

    3) ทวนซ้ำคำได้ (Placement) พูดทวนตามความเข้าใจของเรา ไม่จำเป็นต้องพูดซ้ำคำเดิมที่ได้ยิน

    4) ทวนคำถูกที่ถูกเวลา รอฟังให้จบแล้วจึงขอทบทวนสิ่งที่ได้ยินเพื่อเช็กความถูกต้อง

    5) ตีความให้กระจ่าง (Clarify) แยกแยะสิ่งที่ได้ยินเพื่อวิเคราะห์แล้วทวนกลับเมื่อรู้สึกยังไม่แน่ใจ หรือไม่เข้าใจสิ่งที่ผู้พูดต้องการสื่อสาร

    6) อดทน อดทน และอดทนที่จะไม่พูดขัด เผลอให้คำแนะนำ หรือเปลี่ยนประเด็น เพราะผู้พูดบางคนอาจจำเป็นต้องใช้เวลาในการเรียบเรียงความคิดเป็นคำพูด

    7) กระตุ้นให้พูด ใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้ผู้พูดมีโอกาสอธิบายและขยายความเรื่องที่ต้องการสื่อสาร

    8) ดึงเข้าประเด็น จับใจความสำคัญจากเรื่องที่ผู้พูดอาจเล่าวกไปวนมา หรือออกนอกประเด็น ด้วยการย้ำเป้าหมายการพูดคุยเพื่อกลับเข้าประเด็นต่อ

    9) เข้าอกเข้าใจ ฟังด้วยใจเพื่อรับความรู้สึกตามการฟังระดับ 5

    10) สนับสนุนให้ลงมือทำ เปิดโอกาสให้ผู้พูดคิดหาทางเลือกและตัดสินใจเลือกวิธีการที่จะไปถึงเป้าหมายที่ตั้งใจไว้ด้วยตนเอง

    กระบวนการฟังเชิงรุก มีอะไรบ้าง

    1. หาข้อมูลของคนที่จะคุยด้วยให้ได้มากที่สุด ... .
    2. ฟังเพื่อทำความเข้าใจ ... .
    3. มีความรู้พื้นฐานรอบด้าน ... .
    4. ใช้เทคนิคทวนคำพูด (Placement) ... .
    5. ใช้เทคนิคแจกแจงให้กระจ่าง (Clarify) ... .
    6. ตั้งคำถามที่ถูกต้อง ... .
    7. ทำความเข้าอกเข้าใจคนพูดให้ได้มากที่สุด ... .
    8. มีเป้าหมายว่าอยากจะรู้อะไรจากคนพูด.

    ข้อใดคือ active listening

    การฟังแบบ Active Listening คือการฟังโดยทำความเข้าใจสิ่งที่อีกฝ่ายต้องการนำเสนอออกมาจริงๆ ประกอบไปด้วยหลัก 3A. Attitude (ทัศนคติ) การยอมเปิดใจรับฟังโดยปราศจากอคติ เพราะจะทำให้สามารถรับฟังเรื่องราวทั้งหมดจนจบได้อย่างเข้าใจจริงๆ

    การตอบสนองมีกี่แบบ active listening

    ทักษะการฟังเชิงรุกสำหรับผู้นำในบทบาทโค้ช (Active Listening Skill for leader) โดยศศิมา สุขสว่าง.
    ระดับ 1 ไม่สนใจฟัง (Non-Listening) ... .
    ระดับ 2 แกล้งฟัง (Pseudo listening) ... .
    ระดับ 3 เลือกฟัง (Defensive Listening) ... .
    การฟังที่ดีมีประโยชน์อย่างไร ... .
    www.HCDcoaching.com..

    การฟังอย่างตั้งใจ คือ อะไร

    การฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep Listening) คือการฟังสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยห้อยแขวนคำตัดสินหรือเสียงที่เกิดขึ้นภายในของตนเองเอาไว้ เป็นการฟังเพื่อคนที่อยู่ข้างหน้า เป็นการฟังเพื่อได้รับรู้ความเข้าใจและข้อมูล และเท่าทันกรอบความคิด ความเชื่อของตนเอง บางครั้งการฟังอย่างลึกซึ้งไม่ได้หมายถึงการฟังเนื้อหาใจความของคำพูด แต่อาจ ...