นาฏศิลป์สากล ตะวันตก มีอะไรบ้าง

แอพแชร์โน้ตสรุป Clearnote มีโน้ตสรุปมากกว่า 300,000 เล่ม ทั้งระดับ ม.ต้น ม.ปลาย และมหาวิทยาลัย

ให้โน้ตสรุปจาก Clearnote เป็นตัวช่วยในการเรียน ไม่ว่าจะเตรียมสอบที่โรงเรียน หรือสอบเข้ามหาลัย

และยังสามารถถามคำถามเกี่ยวกับการเรียนได้ที่ Q&A อีกด้วย

คำนำ เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะ (สาระนาฏศิลป์) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ละครสากล เนื้อหาจะกล่าวถึงการแสดงท่ี ดำเนินเป็นเรื่องราว เกิดจากการนำภาพประสบการณ์และจินตนาการของมนุษย์มาผูกเป็นเรื่องราว โดยมี ผู้แสดงเปน็ ผสู้ ่ือความหมาย มจี ดุ มุง่ หมายเพ่ือให้ความบันเทิง สนกุ สนานเพลิดเพลิน หรือเร้าความรู้สึกของผู้ดู และใหแ้ นวคิด คตธิ รรมและปรัชญาแกผ่ ดู้ ู นางสาวธาราทพิ ย์ มณอี ร่าม

สารบญั 1 นาฏศลิ ป์สากล 1 ประวัตินาฏศลิ ป์สากล 1 2 การกำเนดิ ของนาฏศลิ ป์จากธรรมชาติ 4 การกำเนดิ ของนาฏศลิ ปจ์ ากความเช่ือถอื ศรัทธาในส่งิ ศักดิ์สทิ ธ์ทิ ั้งหลาย 4 ลลี านาฏศลิ ป์สากล 4 ทา่ รำนาฏศลิ ป์สากล 5 บลั เลย์หรือระบำปลายเท้า (Ballet) 5 เคร่ืองดนตรีทใ่ี ช้ในการแสดงบลั เลต์ 6 เพลงประกอบการแสดงบัลเลต์ 7 โอเปรา (Opera) 7 เครื่องดนตรที ใี่ ชบ้ รรเลงในการแสดงโอเปรา 8 เพลงประกอบการแสดงโอเปรา 9 ละครเพลงบรอดเวย์ (Broadway Musicals) 9 เครื่องดนตรีท่ีใชบ้ รรเลงในการแสดงละครเพลงบรอดเวย์ 10 เพลงประกอบการแสดงละครเพลงบอรดเวย์ 11 การแต่งกายประกอบการแสดงนาฏศิลปส์ ากล 12 เครื่องแต่งกายบลั เลต์ 13 เครื่องแต่งกายโอเปรา 14 เครื่องแตง่ กายละครเพลงบรอดเวย์ 14 การละครสากล 14 สขุ นาฏกรรม [Comedy] 14 โศกนาฏกรรม [Tragedy] 14 หสั นาฏกรรม [Farce] 14 นาฏกรรมเรือ่ งรกั [Romantic Drama] 15 นาฏบทจินตนาการ [Fantasy] 15 นาฏกรรมสะเทือนอารมณ์ [Melodrama] 15 สุขนาฏกรรมชวี ติ [Comedy of Manners นาฏกรรมทางสงั คม [Social Drama]

องค์ประกอบละคร 16 เรือ่ ง หรอื บทละคร 16 การแสดง 17 การวางตำแหนง่ ตัวละคร 19 20 แหล่งเรียนรู้

1 นาฏศิลป์สากล ประวัตินาฏศลิ ปส์ ากล นาฏศิลป์ เป็นธรรมชาติแห่งการแสดงออกไปโดยสากลออกโดยสากลของมนุษยชาติ แสดงออก ทางการเคลื่อนไหวร่างกายที่มีระบบและงดงาม ซึ่งกำเนิดขึ้นมาพร้อมกับธรรมชาติของมนุษย์หรือพฤติกรรม ปกติของมนุษย์ที่เรียกกันว่า ภาษากาย หรือภาษาท่าทาง ในการแสดงออกทางความรู้สึก และอารมณ์ของ มนุษย์ออกมาทางร่างกาย เช่น การเดิน การนั่ง การยืน การกิน การแสดงอาการเจ็บปวด การแสดงอาการ เสยี ใจหรอื ดใี จ เปน็ ต้น ส่ิงเหล่านเี้ ปน็ ภาษากายทเ่ี ปน็ ภาษาสากล ทางนาฏศิลป์ ต่อมาเมอ่ื มนุษยม์ ีการพัฒนาดา้ นดนตรีโดยนำวัสดุจากธรรมชาติมาประดิษฐเ์ ปน็ เคร่ืองดนตรี เช่น การ นำก่ิงไม้มาเคาะตกี นั ให้เกิดเสยี งดัง การนำหนังสัตวม์ าขึงหน้าไม้ทำเปน็ กลอง และการร้องเพลง เปน็ ตน้ ซงึ่ เม่ือ มนุษยเ์ กดิ ความสนุกสนานครน้ื เครงไปกบั ดนตรจี งึ ทำให้มกี ารขยับเขย้อื นร่างกาย หรอื เต้นรำตามจังหวะดนตรี ไปดว้ ย และมีการพัฒนาท่าทางการเต้นรำใหเ้ ข้ากับจงั หวะดนตรที ่ชี ้าเรว็ หรอื ซับซอ้ นมากขึ้น ทำใหลลี าท่าเต้น หรือท่ารำต่าง ๆ มีความหลากหลายแตกต่างกันออกไป โยเห็นได้จากการเต้นรำปร ะกอบพิธีเซ่นไหว้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และในงานรื่นเริงสังสรรค์ของชนเผ่าต่าง ๆ ซึ่ง มีพื้นฐานมาจากการเลียนแบบธรรมชาติของ สง่ิ มีชวี ิตในโลกนัน่ เอง ดังนั้น การกำเนิดของนาฏศิลป์โลก หรือนาฏศิลป์สากล จึงเกิดขึ้นจากธรรมาชาติ และความเชื่อถือ ศรทั ธาในสิ่งศักด์ิสทิ ธท์ิ ้ังหลาย ดังนี้ 1. การกำเนดิ ของนาฏศิลปจ์ ากธรรมชาติ เริ่มจากมนุษย์รู้จักการเต้นรำ จากการเลียนแบบการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตในโลกทั้งจากสัตว์ พืช และมนุษย์ด้วยกันเอง เช่น การร้องและเต้นของคนป่าบางเผ่า เป็นต้น จากกนั้นก็ได้มีการพัฒนาท่าทางและ การขยับเยื้อนร่างกายตามความรู้สึกของมนุษย์ที่แสดงถึงอารมณ์ เช่น ดีใจ เสียใจ โกรธ หิวโหย และอิริยาบถ ต่าง ๆ ของมนุษย์ตามความเป็นจริง ซึ่งเป็นที่มาของการแสดงละครที่เริ่มต้นจากละครพูด โดยการพูด ทำท่า ทางการ แสดงอารมณ์ต่าง ๆ และการสวม เครื่องแต่งกายตามบทละคร ซึ่งเป็นเรื่องราวที่มาจากชีวิตจริงของ มนษุ ย์ แตกตา่ งกนั ไปตามความเช่ือ ค่านยิ ม และอารยธรรมของแตล่ ะชนชาติ

2 2. การกำเนดิ ของนาฏศลิ ปจ์ ากความเช่ือถอื ศรัทธาในสง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิท้ังหลาย มนุษย์ต้องอยู่ร่วมกันในสังคม และมีสัญชาตญาณแห่งความกลัว จึงทำให้มนุษย์พยายามหาสิ่งยึด เหนี่ยวจิตใจ ด้วยการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทวดา เทพเจ้า และอำนาจลี้ลับต่าง ๆ ซึ่งพัฒนาเป็นความศรัทธาใน ลทั ธิศาสนาตอ่ ไป โดยมีการเซ่นไหวบ้ ูชาใหส้ ิง่ ศกั ดส์ิ ิทธคิ์ ุ้มครองใหป้ ลอดภัยหรือออ้ นวอนขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วย ดลบันดาลให้สมปรารถนา เช่น พิธีบูชายัญของชนเผ่าต่าง ๆ ในดินแดนตะวันตกเมื่อดอีตกาล ซึ่งจะมีการ บรรเลงดนตรพี ้นื เมอื งและเตน้ รำประกอบ เปน็ ต้น สำหรับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์สากลที่เห็นเด่นชัด คือ ศิลปะการละครของชาวตะวั นตก หรือท่เี รยี กวา่ ละครตะวันตกนน้ั เร่ิมตน้ ข้นึ ต้ังแตส่ มัยกรีกโบราณ และสมยั โรมันตามลำดับ ละครตะวันตกในสมัยกรกี โบราณ เรม่ิ ตน้ จากการแสดงเร่ืองราวเกี่ยวกบั เทพเจา้ ไดโอนซี ุส (Dionysus) ซึง่ เปน็ เทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ขน้ึ ในเทศกาลบชู าเทพเจ้าองคน์ ี้ จดั ขึน้ ปีละครั้งโดยมีการแสดงละครเร่ือง ดังกล่าวที่โรงละครกลางแจ้ง ซึ่งจะมีอัฒจันทร์โอบรอบเวทีให้คนดูละครกัน จากนั้นก็มีการพัฒนาเป็นละคร เกย่ี วกบั เร่ืองของมนุษย์ ซ่ึงยังมีแก่นเรื่องเกี่ยวกับความเช่ือทางศาสนา และศิลปวัฒนธรรม ประเภทของละคร ในสมัยกรีกจะมีทั้งละครโศกนาฏกรรม และสุขนาฏกรรม ซึ่งจะใช้นักแสดงผู้ชายทั้งหมดแสดงเป็นตัวละคร หลาย ๆ ตวั ดว้ ยการเปล่ยี นหน้ากากไปเรือ่ ย ๆ และมผี ู้แสดงเพยี ง 3 คนเท่านั้น ละครตะวันตกในสมัยโรมัน เริ่มจากนำรูปแบบของละครกรีกโบราณ ในเรื่องพิธีกรรมทางศาสนาที่ เกี่ยวกับการบูชาเทพเจ้า ต่อมาก็ได้มีการปรับปรุง โดยเพิ่มการเต้นรำและใช้ท่าทางแสดงอารมณ์มากขึ้น ตัว ละครมีลักษณะของสามัญชน ที่เน้นการแสดงแบบตลกโปกฮาตามแนวละครประเภทสุขนาฏกรรมมากข้ึน รวมทั้งมีการยกเลิกการใส่หน้ากากแบบละครกรีกในตัวละครตลกจึงทำให้นักแสดงสามารถแสดงอารมณ์ ภายในและความสามารถในการแสดงได้มากขึ้น ซึ่งนับเป็นความก้าวหน้าทางละครตะวันตกที่พัฒนาจนถึง ปจั จุบนั อยา่ งไรกต็ ามละครตะวันตกในสมัยโรมันไดล้ ดบทบาทลงเร่ือย ๆ เนอ่ื งจากละครส่วนใหญเ่ ปน็ ประเภท สุขนาฏกรรมที่ไม่ค่อยได้แก่นสาร และไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อรับใช้เทพเจา้ จึงทำให้ศาสนจักรแหง่ กรุงโรมได้ ออกคำสั่งห้ามให้คนไปดูละคร จนในที่สุดโรงละครทุกโรงในกรุงโรมต้องปิดลง ซึ่งนับเป็นการปิดฉากความ เจรญิ รุ่งเรืองทางละครตะวันตกลงในยคุ แรกน้ี

3 ต่อมาละครตะวันตกก็ได้มีการพื้นตัวขึ้นในยุคกลางของประเทศในทวีปยุโรป เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี เป็นต้น โดยในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 ได้มีการพัฒนารูปแบบของการแสดงละครเป็นการแสดงรีวิว (Music Hall) ซึ่งเป็นการแสดงท่ีไม่เป็นเรื่อง โดยมีทั้งการพูดคนเดยี ว การร้องเพลง การเต้นรำ และการแสดง มายากล รวมทั้งยังมีการแสดงละคนแพนโทไมน์ (Pantomine) ในอังกฤษที่เป็นการแสดงละครที่มีดนตรีและ การเต้นรำประกอบ จนมาถึงในศตวรรษที่ 20 ตอนต้น รูปแบบการแสดงละครเริ่มหันเข้าสู่การสะท้อนสภาพ ความเปน็ จริงในสงั คมโยแสดงละครตามแบบชีวิตจริงมากยิ่งขนึ้ จากนั้นจึงพัฒนามาเปน็ ละครในยุคปจั จุบนั ดังนั้นนาฏศิลป์สากลจึงมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนานเคียงคู่มากับวิถีการดำเนินชีวิ ตของมนุษย์ใน สังคมโลก โดยมีการพัฒนาและเผยแพร่ อารยธรรมทางนาฏศิลป์สากลไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกจนถึง ปจั จุบนั ทม่ี า http://tattep.blogspot.com/2016/06/blog-post.html

4 ลลี านาฏศลิ ป์สากล ท่ารำนาฏศิลปส์ ากล นาฏศลิ ป์ เป็นศิลปะด้านการฟอ้ นรำ และละครท่ที ุกชาติทุกภาษาต่างปฏบิ ัติกนั จนเปน็ ศลิ ปวัฒนธรรม ประจำชาติ ซ่งึ แสดงถึงความเป็นอารยประเทศทมี่ ีความเจริญรงุ่ เรืองทางด้านนาฏศลิ ป์ สำหรบั นาฏศิลปส์ ากลหรอื นาฏศลิ ปต์ ะวันตกทีม่ ีการนำไปเผยแพรแ่ ละเป็นทร่ี จู้ กั ไปท่วั โลกนน้ั มีท้ังการ ฟ้อนรำและละคร ซง่ึ จะมีลลี าทางนาฏศลิ ป์ที่เป็นลักษณะเฉพาะท่ีทุกชาติทุกภาษาเข้าใจ และยอมรับได้ โดยมี การนำนาฏศลิ ปด์ ้านน้นั ๆ มาเผยแพรใ่ นประเทศของตน จนกลายเปน็ นาฏศลิ ป์สากลประจำชาตติ า่ ง ๆ ทัว่ โลก ดังจะเห็นไดจ้ ากลลี าทา่ รำและการแสดงนาฏศิลป์สากลที่เปน็ ทรี่ จู้ ักกันทวั่ ไปในโลก ได้แก่ บลั เลต์ โอเปรา และ ละครเพลงบรอดเวย์ ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้ 1. บลั เลย์หรือระบำปลายเท้า (Ballet) ท่ีมา https://www.thaipost.net/main/detail/12739 บัลเลย์หรือระบำปลายเท้า (Ballet) เป็นศิลปะที่ผสมผสานท่าเต้น และดนตรีที่แสดงอารมณ์และ เรอื่ งราวตามเหตุการณ์ในบทละคร โดยไม่มีบทพูดหรือเจรจา หากแตใ่ ชท้ ่าเตน้ สีหน้าและดนตรีส่ือให้ผู้ชมเกิด จนิ ตนาการ และสะทอ้ นภาพออกมาเปน็ เร่ืองราวได้ ดังนัน้ ลลี า ท่าเตน้ บลั เลย์ จึงนับว่ามีความสำคัญอย่างย่ิง ในการแสดงบัลเลต์ โดยได้มีการบัญญัติชื่อท่าเต้นบัลเลตท์ ี่เป็นสากลและใช้เป็นมาตรฐานทั่วโลกไว้เป็นภาษา ฝรงั่ เศส ซึ่งเปน็ ประเทศทีเ่ ปน็ ต้นกำเนิดของบัลเลต์

5 ลีลาท่าเต้นบัลเลต์ จะเน้นที่การเคลื่อนไหวร่างกายในท่าต่าง ๆ ตามจังหวะดนตรีให้สอดคล้อง กลมกลืนกัน โดยแทรกอารมณ์ความรู้สึกออกทางท่าเต้นและสีหน้าของนักเต้นที่สามารถส่ือไปยังผู้ชมให้เข้าใจ เรื่องราวได้ โดยการฟังดนตรีบรรเลง และดูท่าทางการเต้นประกอบกันไป ฉะนั้น การออกลีลาท่าเต้นบัลเลต์ จึงต้องอาศัยการทรงตัวที่ดีของส่วนตา่ ง ๆ ในร่างกาย เริ่มตั้งแต่ ศีรษะ หัวไหล่ มือ ซี่โครง สะโพก ขา เท้า โย การวางทา่ ทางให้อยู่ในเส้นแนวทดี่ ีและยนื ในลักษณะทโ่ี น้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อยจากข้อเท้าท่ีอยู่เหนือปุ่มโคน หวั แม่เท้า โดยผ้เู ตน้ ต้องมีการฝึกฝนการแสดงท่าทางต่าง ๆ อกมาตามทา่ เต้นที่สื่อความรูส้ ึกและอารมณ์ต่าง ๆ ให้เป็นไปตามเรื่องราวที่กำหนด เช่น ดีใจ เสียใจ โศกเศร้า โกรธ เป็นต้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเริ่มต้น การเรียนและฝึกซ้อมตั้งแต่ยังเด็ก เพราะกระดูกและกล้ามเนื้อของเด็กอ่อนทำให้สามารถทรงตัว และ เคล่ือนไหวท่าตา่ ง ๆ ของบลั เลตไ์ ด้อย่างคล่องตัว ออ่ นช้อยและงดงาม เครอื่ งดนตรที ใ่ี ช้ในการแสดงบลั เลต์ ดนตรที บี่ รรเลงโดยวงออรเ์ คสตรา จงึ ประกอบด้วยเครื่องดนตรใี นวงออร์เคสตรา ไดแ้ ก่ ไวโอลินวิโอลา เชลโล เบส ฮาร์ป ปิกโกโล ฟลุต โอโบ เฟรนช์ฮอร์น คลาริเน็ต บาสซูน ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา ทิมปานี กลองใหญ่ ฉาบ ไทรแองเกิล และไซโลโฟน ซึ่งเครื่องดนตรีเหล่านี้จะบรรเลงดนตรีเป็นเพลงบรรเลงที่ไพเราะ ลุ่มลึก และมีลักษณะเป็นดนตรีบรรยายเรื่องราวเป็นตอน ๆ ตามเนื้อเรื่อง โดยใช้ลีลาท่าเต้นบลั เลต์เป็นสือ่ ใน การเสนอเร่ืองราว เพลงประกอบการแสดงบลั เลต์ เป็นเพลงบรรเลงของวงออร์เคสตรา ที่มีความไพเราะ และลุ่มลึกในเชิงจินตนาการที่ผสานกับท่าเต้น บัลเลต์เป็นเรื่องราวที่สื่ออารมณ์ และความรู้สึกได้อย่างเกิดสุนทรียรสและคุณค่า โดยเฉพาะบทเพลงบรรเลง โดยนกั ประพันธเ์ พลงช่ือดังของโลก คอื โชคอฟสกี ในบัลเลตท์ ี่มีช่อื เสียงก้องโลก เร่อื ง สวอนเลค (Swanlake) และเรื่อง The sleeping Beauty นอกจากน้ียังมบี ทเพลงบรรเลงในบลั เลต์ เร่ือง Romeo and Juliette และ เรื่อง Cinderella Ballet suite ที่ประพันธ์โดย โปรโตเฟียฟ เรื่อง Filling Station โดย วี. ทอมสัน เรื่อง Sylvia โดยเดลิเบส เรื่อง Card Game โดยสตราวินสกี เรื่อง Borelo โดยราเวล และเรื่อง Appalachian spring โดยคอปแลนด์ เปน็ ตน้

6 2. โอเปรา (Opera) ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=MRjiKFypVdE โอเปรา (Opera) เปน็ การแสดงละครท่ีใช้เพลงและดนตรีเป็นหลักในการดำเนินเร่ืองราว ซ่ึงเป็นการ รวมศาสตร์ทางด้านศิลปะการเขียนบทละครและบทร้อง การแสดง การบรรเลงดนตรี การขับร้อง การเต้นรำ การตกแต่งและออกแบบเครื่องแต่งกาย อุปกรณ์การแสดง การสร้างฉาก และเวทีเข้าไว้ด้วยกันอย่างลงตัว และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่สามารถสื่อให้ ผู้ชมเข้าใจเรื่องราว และเกิดสุนทรียะในการชมการแสดงได้อย่าง ซาบซึ้ง โดยเฉพาะตัวละคร หรือนักแสดงต้องเป็นผู้ที่มีความสามารถทั้งในด้านการขับร้อง การเต้นรำ และ การแสดง เนื่องจากโอเปราทุกเรื่องจะต้องใช้ความสามารถ และความชำนาญทั้ง 3 ด้าน ในการถ่ายทอด อารมณ์ไปสู่ผ้ชู ม ในด้านลีลาท่ารำนาฏศิลป์ของโอเปรานั้น ได้แก่ การแสองบทบาทสมมุติและการเต้นรำประกอบ การแสดง โดยการแสดงท่าทางการเคลื่อนไหว อากัปกิริยาที่แสดงพฤติกรรมและอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ออกมาตามเรื่องราว ตลอดจนมีการเต้นรำประกอบการแสดงในบางฉากของละครซึ่งในบางเรื่องอาจจะใช้ การเตน้ บลั เลต์ ระบำพน้ื เมือง หรือการเต้นรำแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม และสอดคล้องกับเร่ืองราว เช่น วอลต์ เป็นตน้

7 เครือ่ งดนตรีทีใ่ ช้บรรเลงในการแสดงโอเปรา คือ ดนตรีคลาสสิกของวงออร์เคสตราประกอบด้วย ไวโอลิน วิโอลา เชลโล เบส ฮาร์ป ปิกโกโล ฟลุต โอโบ เฟรนช์ฮอร์น คลาลิเน็ต บาสซูน ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา ทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ ไทรแองเกิล และ ไซโลโฟน เช่นเดียวกับเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในการแสดงบัลเลต์ แต่ต่างกันที่โอเปราจะมีทั้งผู้ขับร้องและ ผู้บรรเลงดนตรีในวงออร์เคสตรา ที่ร่วมกันนำพาบทเพลง และเสียงดนตรี ถ่ายทอดอารมณ์ และเล่าเรื่องราว ตั้งแต่ต้นจนจบ ซึ่งช่วยสร้างสุนทรียภาพทางดนตรีและนาฏศิลป์ที่ไพรเราะสมบูรณ์แบบจนทำให้โอเปรา ได้ชอ่ื ว่า เป็นสดุ ยอดแหง่ ศิลปะการแสดงในโลกของดนตรีคลาสสกิ เพลงประกอบการแสดงโอเปรา เป็นเพลงขับร้องและเพลงบรรเลงในวงออร์เคสตราโดยมีโอเวอรเจอร์ (Overture) เป็นเพลงบรรเลง ด้วยเครื่องดนตรีล้วน ๆ ใช้เป็นเพลงนำ หรือ เพลงโหมโรงก่อนการแสดงโอเปรา ซึ่งจะเป็นเพลงที่แสดงถึง บรรยากาศของโอเปราที่ใช้ระยะเวลาในการบรรเลงประมาณ 5 – 10 นาที โดยมีโอเวอรเจอร์ของโอเปรา บางเรื่องที่มีความไพเราะเป็นที่นิยมชื่นชอบ และมักนำมาใช้บรรเลงเป็นเพลงแรกของการแสดงคอนเสิร์ต ทั่วไป เช่น เพลง Overture of the marriage of figaro ของโมซาร์ท เพลง Overture of Fidelio ของ เบโธเฟน เพลง Overture of Carmen ของบิเซต์ และเพลง Overture of the Barber of Saville ของ รอสซนี ี เป็นตน้ นอกจากนีใ้ นการดำเนินเรอื่ งก็ยงั มีวงออร์เคสตราบรรเลงเพลง และมไี ลมโ์ มทีฟบรรเลงทำนอง ดนตรตี ่าง ๆ แทนตัวละครแต่ละตวั หรือแทนเหตกุ ารณแ์ ละสภาพการณต์ ่าง ๆ ในเรอ่ื ง เพลงขับร้องในการแสดงโอเปรา ได้แก่ รีซิเททีฟ (Recitative) เป็นบทสนทนาที่ใช้การร้องแทนโดยมี ดนตรีประกอบ ส่วนอาเรีย (Aria) จะเป็นบทเพลงร้องเดี่ยวในโอเปราที่มีลีลาดนตรีที่งดงาม และมีบทร้อง ประเภทร้อง 2 คน 3 คน 4 คน หรือมากกว่านี้ โดยในโอเปราทีม่ ีลีลาดนตรีท่ีงดงามและมบี ทรอ้ งประเภทรอ้ ง 2 คน 3 คน 4 คน หรอื กมากกวา่ นี้ โดยเรียกบทร้องทมี่ ีคนรอ้ ง 2 คนว่า Duo 3 คน เรยี กว่า Trio 4 คนเรียกว่า Quartet 5 คน เรียกกว่า Quintet และ 6 คน เรียกว่า Sextet เช่น ในเพลง Lucia จากเรื่อง Rigolett เป็น ต้น นอกจากนี้ยังมีบทร้องประสานเสียง (Chorus) ที่มีชื่อเสียง เช่น เพลง The Triumphal Chorus จาก Aida และเพลง The Pilgrim’s Chorus จาก Tannhauser เปน็ ต้น

8 3. ละครเพลงบรอดเวย์ (Broadway Musicals) ท่มี า https://sites.google.com/site/plaiparmida/lakhr-broadway ละครเพลงบรอดเวย์ (Broadway Musicals) เป็นการแสดงละครเพลงเวทีที่กำเนิดขึ้นในโรงละคร และโรงภาพยนตร์ บนถนนบรอดเวย์ในนครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยได้รับแบบอย่างมาจาก โอเปราชวนหัวหรือ Operetta แบบยุโรป แล้วพัฒนาองค์ประกอบต่าง ๆ ของละครให้เป็นลักษณะของ อเมรกิ า ซ่ึงจะกลา่ วถึงเรอื่ งพน้ื ๆ แบบชาวบา้ นหรือชาวเมือง การแสดงละครเพลงบอร์ดเวย์ ประกอบดว้ ยดาราแสดงบทบาทของตวั ละครตามเร่ืองราว การขับร้อง และการเตน้ รำ บนเวทกี ารแสดงที่มีฉากและเครื่องแต่งกาย ตลอดจนองคป์ ระกอบทางนาฏศลิ ป์ท่ีสมบูรณ์และ มคี วามสวยงามตระการตา โดยเฉพาะในด้านการเต้นรำที่มีการพฒั นาให้เหมาะสมกับเนื้อหาของเร่ือง และช่วย สร้างความเพลิดเพลินสนุกสนานเคล้าคลอไปกับบทเพลงดนตรี และเรื่องราวตั้งแต่ต้นจนจบ ทำให้ผู้ชม เกดิ ความซาบซงึ้ ในอรรถรสแหง่ การแสดงดนตรที ี่มสี ุนทรยี ภาพและคณุ คา่ แห่งนาฏศิลปส์ ากล ดังนั้น ลีลานาฏศิลป์สากล จึงเป็นศิลปะแห่งการแสดงท่าทาง อารมณ์ ความรู้สึก นึกคิดและ การเต้นรำออกมาเป็นเรอ่ื งราวประกอบดนตรี และบทเพลงท่ีสามารถส่ืออารมณ์ ความคิด และเรื่องราวให้ผชู้ ม เขา้ ใจไดท้ ั่วโลก ดว้ ยภาษาและลีลานาฏศลิ ปท์ ่ีเปน็ สากลและเปน็ ทร่ี ู้จักโดยทัว่ ไป

9 เครื่องดนตรที ี่ใชบ้ รรเลงในการแสดงละครเพลงบรอดเวย์ คือ ดนตรีป๊อป ในระยะแรกและต่อมาจึงนำดนตรีร็อกมาใช้ด้วย โดยทั่วไปใช้เครื่องดนตรีสากลตาม แบบวงดนตรีสากลท่ัวไป ไดแ้ ก่ กตี าร์ เบส คีย์บอร์ด และกลองชุด แตกต่างกันทีจ่ ังหวะทำนองเพลงป๊อปท่ีฟัง สบาย ๆ และเพลงร็อกที่มีความหนักหน่วงเร่ารอ้ น ละครเพลงบอร์ดเวย์นี้จะมีลักษณะเป็นละครเพลงเวทีที่มี เค้าโครงเรื่องบทการแสดงและบทร้อง ตลอดจนท่าเต้นรำในลักษณะต่าง ๆที่กำหนดไว้อย่างแน่นอนและ มีความสอดคล้องกันทั้งเรื่อง และมีเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมทางดนตรีของประเทศสหรัฐอเมริกาในฐานะ ทเี่ ป็นประเทศตน้ กำเนดิ ของละครเพลงบอรดเวย์ นอกจากเครื่องดนตรีประกอบการแสดงนาฏศิลป์สากลที่กล่าวมาทั้งหมดนีแ้ ล้ว ยังมีเครื่องดนตรีทีใ่ ช้ ในการบรรเลงเพลงชุดเต้นรำ ได้แก่ ฮาร์ปซคิ อรด์ ไวโอลิน และเคร่อื งดนตรใี นวงออร์เคสตรา ด้วยจะเห็นได้ว่า ดนตรีหรือการบรรเลงเครือ่ งดนตรีประกอบการแสดง จะชว่ ยเพมิ่ อรรถรสในการชมการแสดงนาฏศลิ ปท์ ี่ได้จาก การฟังเสียงดนตรีบรรเลงประกอบการแสดงที่สามารถสื่ออารมณ์ และความรู้สึกให้ซาบซึ้งไปกับเรื่องราว จนเกดิ เป็นสนุ ทรียะแหง่ การแสดงนาฏศิลป์สากลทม่ี คี ณุ ค่า และนา่ จดจำ เพลงประกอบการแสดงละครเพลงบอรดเวย์ เน้นที่เพลงขับร้องในแนวป๊อปและแนวร็อก และการบรรเลงดนตรีประกอบการเต้นรำ โดยเฉพาะ เพลงปอ๊ ปในละครเพลงของจอรช์ เอมโคเฮน ที่มชี อื่ เสยี ง ไดแ้ ก่ เรอ่ื ง Give my regards to Broadway เร่ือง George M ! และละครเพลงของเจอโรม เคิร์น ได้แก่ เรื่องเรือเร่ (Showboat) และเรื่อง Roberta ซึ่งมีเพลง ชื่อว่า Smoke gets in your eyes นอกจากนี้ยังมีเพลงของโรเจอร์สและแฮมเมอร์สไตน์ที่กลายเป็นผลงาน อมตะและนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงมาจนถึงปัจจุบันจากละครเพลงบอรดเวย์ เรื่อง The Sound of music เรื่อง South Pacific และเรื่อง TheKing and I เป็นตน้ สำหรับเพลงร็อกที่มีชื่อเสียงของละครบอรดเวย์ ได้แก่ Hair ของแรกนี่ Bye, Bye Birdie ของอดัมส์ และสเตราส์ Godspell ของเทเบลักและฉวาทซ์ และ Jesus Christ Superstar ของ โอ ฮอรแ์ กน ฯลฯ นอกจากเพลงประกอบการแสดงนาฏศิลป์สากลดังกล่าวแล้ว ยังมีบทเพลงชุดที่ใช้บรรเลงประกอบ การเตน้ รำจงั หวะต่าง ๆ ท่เี ป็นสากลและใชก้ นั โดยท่วั ไป ไดแ้ ก่ Boroque Suite หรอื Dance Suite , English Suites , Frence Suites และ Partita เป็นตน้

10 การแต่งกายประกอบการแสดงนาฏศลิ ป์สากล การแสดงนาฏศิลป์สากลหรือนาฏศิลป์ตะวันตกให้เกิดความสวยงามน่าชื่นชอบได้นั้นต้องใช้ทั้ง องค์ประกอบภายใน และองค์ประกอบภายนอกของศิลปะการแสดงที่ประกอบกันเป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่มี คุณคา่ ของโลก องค์ประกอบภายใน ของการแสดงนาฏศิลป์นั้นคือ ความสามารถในการแสดงท่าทางการเคลื่อนไหว อากัปกิริยา อารมณ์ ความรู้สึกของนักแสดงออกมาตามบทบาทของตัวละครในเรื่องที่ต้องการนำเสนอ และ สอื่ เรอ่ื งราวไปยงั ผู้ชมการแสดง องค์ประกอบภายนอก ของการแสดงนาฏศิลป์ ได้แก่ ฉาก เวที เทคนิคด้านแสง สี เสียง ดนตรี และ อุปกรณ์การแสดงและเครื่องแต่งกายของนักแสดงท่ีใช้ประกอบการแสดง และช่วยเสริมสรา้ งให้การแสดงเกิด ความสวยงามตระการตา มีความน่าสนใจและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเครื่องแต่งกายนักแสดงนับว่ามี ความสำคัญอยา่ งยิ่ง เครื่องแต่งกายนาฏศิลปแ์ บ่งได้เปน็ 4 ประเภท ได้แก่ เครื่องแต่งกายปกติ หมายถึง เครื่องแต่งกายที่ คนท่ัวไปใช้เพื่อการดำเนินชีวิต แล้วนำมาใช้เป็นเครื่องแต่งกายภายในการแสดงนาฏศิลป์ เครื่องแต่งกาย ประยุกต์ หมายถึง เครื่องแต่งกายนาฏศิลป์ที่คล้ายกับเครื่องแต่งกายปกติ แต่มีการดัดแปลงให้เหมาะสมกับ การแสดงนาฏศลิ ปป์ ระเภทนัน้ ๆ หรอื ตามเรื่องราวในบทละคร ส่วนเครื่องแต่งกายประเพณี หมายถึง เครื่อง แต่งกายนาฏศิลป์ที่มีการพัฒนาตามที่กำหนดรูปแบบไว้ตายตัวท้ังรูปทรง สีสัน และเครื่องประดับต่าง ๆ ตาม ขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งมักนำมาใช้เป็นเครื่องแต่งกายของตัวละคร และนักเต้นระบำในการแสดงที่เป็น เอกลักษณ์ประจำชาติต่าง ๆ และสำหรับ เครื่องแต่งกายสร้างสรรค์ หมายถึง เครื่องแต่งกายที่ประดิษฐ์ขึ้น เฉพาะกรณี โดยมีผู้คิดสร้างสรรค์ประกอบกับนาฏศิลป์ชุดใหม่ ๆ ที่จัดขึ้น เพื่อให้เกิดความแปลกตาน่าสนใจ และสนองความคดิ และจนิ ตนาการของผสู้ รา้ งสรรค์เครอื่ งแต่งกาย หลักการของเครื่องแต่งกายนาฏศิลป์ดังกล่าวใช้กันอยู่ทั่วโลกและเป็นสากล โดยเฉพาะในการแสดง นาฏศิลป์สากลหรือนาฏศิลป์ตะวันตกที่รู้จักกันดี คือ บัลเลต์ โอเปรา และละครเพลงบรอดเวย์ ก็ล้วนแต่ใช้ หลักการเช่นเดยี วกนั โดยพิจารณาไดจ้ ากเคร่ืองแต่งกายท่ใี ช้ในการแสดงเหลา่ นด้ี ังรายละเอียดต่อไปนี้

11 1. เคร่ืองแตง่ กายบัลเลต์ ประกอบด้วยเครอ่ื งแตง่ กายสำหรบั ผู้หญงิ และผชู้ ายดังนี้ คอื เครอ่ื งแตง่ กายบัลเลต์สำหรับผู้หญิงจะมี ถุงน่องยาวสีชมพู เพื่อใช้ปิดร่างกายจากเท่าถึงเอว ชุดเสื้อกางเกงชิ้นเดียวสีดำรัดรูป (leotard) ที่สวมทับบน ถุงน่องยาวจากสะโพกถึงไหล่ ชุดเสื้อผ้าชุดกระโปรงสั้นหรือยาวของตัวละครตามเรื่องราวในบทละคร และ รองเท้าบัลเลต์ หรือรองเท้าปลายเท้า (toe – dancing) ที่จะช่วยให้นักเต้นบลั เลต์มีฐานทีด่ ีในการขยับปลาย เทา้ และเคลอ่ื นไหวร่างกาย ขนาดของรองเทา้ ควรจะมีทว่ี ่างเพื่อให้ปลายเท้าวางแบนราบได้ และควรจะพอดี กบั เทา้ เพือ่ ความสบายเทา้ ท่มี า http://tattep.blogspot.com/2016/06/blog-post.html ท่ีมา http://tattep.blogspot.com/2016/06/blog-post.html

12 2. เครอื่ งแตง่ กายโอเปรา จะใช้เครื่องแต่งกายที่พิถีพิถันและสวยงามตระการตาตามประเภทและเรื่องราวของโอเปรา เช่น โอเปราเรื่องขลุ่ยวิเศษ (The Magic Flute) ของโมซาร์ท เป็นเครื่องเกี่ยวกับอำนาจของขลุ่ยวิเศษ และการ พิสูจน์ความรักระหว่างเจ้าชายแห่งอียิปต์ และธิดาราชินีแห่งราตรีกาล ซึ่งเป็นโอเปราประเภทโคมิก โอเปรา (Comic Opera) ทีม่ เี นื้อเรือ่ งสนกุ สนานตลกขบขนั สะทอ้ นสังคมหรือเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสมยั น้นั และมักมบี ท สนทนาที่ใช้การพูดแทรกระหว่างบทร้องเพลง ซึ่งในเรื่องนี้จะมีบทร้องเป็นจำนวนมาก และเป็นละครที่ใช้ เครอื่ งแต่งกายของเจ้าชายและเจ้าหญิงแห่งอยี ิปต์ ชุดแตง่ กายของข้าราชบริพาร และทหารรับใช้ ตลอดจนชุด ของนักบวช ประมุขสงฆ์ และชาวบา้ น หรือชาวเมอื งในสมัยฟาโรห์รามเสสที่ 1 (Ramses I) แหง่ อียิปต์โบราณ เป็นตน้ ซึง่ โอเปราเร่อื งนีป้ ระสบความสำเรจ็ มาก และเปน็ โอเปราเร่อื งสดุ ท้ายที่โมซาร์ทรงประพนั ธ์ขน้ึ สำหรับเครื่องแต่งกายบัลเลต์ของผู้ชาย จะสวมถุงน่องยาวแบบหนาสีดำ และเสื้อยืดที่ใส่ชายไว้ใน ถุงน่องยาว สวมเข็มขัดเต้นรำ (dance belt) ที่มีลักษณะคล้ายสายรัดถุงเท้ายาว (Supporter) ที่มีสีเหมือน ถุงน่องยาวทำด้วยผ้าที่หน้าแข็งแรงเป็นยางยืด มีชุดเสื้อผ้าของตัวละครชายตามเรื่องราวในบทละคร และ ใสร่ องเทา้ บลั เลต์ เชน่ เดยี วกับนักเต้นบัลเลตผ์ หู้ ญิง ทม่ี า https://thepeople.co/turandot-opera-2019/

13 3. เครอ่ื งแต่งกายละครเพลงบรอดเวย์ จะเป็นเครื่องแต่งกายตามเรื่องราว และบุคลิกของตัวละครในเรื่องที่มีความงดงามตระการตา และ สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง ดนตรี เพลง และการเต้นรำ โดยเป็นลักษณะของละครเพลงชวนหัส ที่ใช้นักแสดงที่มี รูปร่างหน้าตาสวยงาม เนื้อเรื่องเข้าใจง่ายเป็นเรื่องใกล้ตัว และสามารถ ทำให้ผู้ชามีความสนุกสนาน เพลิดเพลินบันเทิงใจได้ เช่น ละครเพลงบรอดเวย์เรือ่ ง The King and I ที่นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ฮอลลิวดู ด้วย โดยละครเพลงเรื่องนี้เป็นเรื่องเกีย่ วกับความรกั ของนางแอนนา และคิง มงกุฎของประเทศไทย จึงทำให้ เครื่องแต่งกายมีความหรูหรา สวยงามตระการตา เช่น ชุดของกษัตริย์ไทยสมัยรัชกาลที่ 4 และข้าราชบริพาร ในสมยั นน้ั ตลอดจนชดุ เสอ้ื ผา้ สตรีของผ้ดู อี ังกฤษคอื นางแอนนา เปน็ ตน้ การแสดงนาฏศิลป์จะประสบผลสำเร็จได้จะต้องมที ั้งองค์ประกอบภายใน และองค์ประกอบภายนอก ทส่ี มบรู ณ์สอดคลอ้ งกลมกลืนกนั เปน็ เอกภาพของการแสดง ดังนัน้ เคร่อื งแต่งกายนาฏศลิ ป์จึงเปน็ องคป์ ระกอบ ภายนอกของการแสดงทีม่ ีความสำคัญต่อความสำเรจ็ ในการแสดงนาฏศลิ ปส์ ากลด้วยเช่นกนั ที่มา https://americanidiotonbroadway.com/

14 การละครสากล การละคร คอื การนำจินตนาการของมนุษย์มาผูกเป็นเร่ืองและนำเสนอต่อผู้ชมในรูปของการแสดง ณ สถานท่ีแห่งใดแหง่ หน่ึง การแบง่ ประเภทของละครตามโครงเร่ือง (รวมทั้งภาพยนตร)์ สามารถแบ่งได้ 8 ประเภท ดงั น้ี 1. สขุ นาฏกรรม [Comedy] คอื ละครท่ีมีโครงเร่ืองที่สมเหตุสมผล เปน็ เรอ่ื งทต่ี ัวเอกจะพบปัญหาแล้วจบลงด้วยความสำเรจ็ และ ชัยชนะของตัวเอก ขณะเดียวกนั การดำเนินเรื่องจะมตี วั ละครตัวอ่ืนๆ เชน่ เพ่อื นพระเอก / นางเอก นำเสนอ ความตลกขบขันสอดแทรก ควบค่กู ันไปดว้ ย ละครประเภทน้ีทเ่ี ป็นท่ีร้จู ัก ไดแ้ ก่ เวนสิ วานิช ของวลิ เลียม เชกสเปียร์ บางรักซอย 9 เป็นตน้ 2. โศกนาฏกรรม [Tragedy] คอื ละครทพี่ ระเอก นางเอกต้องพบกบั ความพ่ายแพ้ ไม่สามารถแก้ปัญหา ลงทา้ ยด้วยความเศรา้ หรอื ตายอนั เน่ืองมาจากความรักท่ีมีมากเกนิ ไป ความมักใหญ่ใฝ่สงู ความอิจฉาริษยา การอาฆาตแคน้ ละคร - โศกนาฏกรรมที่เป็นอมตะ คือ เรอ่ื ง โรมิโอและจเู ลยี ต ของวิลเลยี ม เชคสเปียร์ แผลเกา่ ค่กู รรม เป็นต้น 3. หัสนาฏกรรม [Farce] คือ สุขนาฏกรรมที่เกินความจรงิ เปน็ ไปไมไ่ ด้ แต่ตลกขบขนั และจบลงด้วยความเข้าใจกนั เช่น ภาพยนตรใ์ บ้ของชาร์ลี แชปลนิ มิสเตอร์บนี เป็นตน้ 4. นาฏกรรมเรื่องรัก [Romantic Drama] คือ ละครท่มี ีโครงเรื่องชนิดท่ีผู้คนใฝฝ่ ันท่จี ะได้พบแต่ไม่สามารถพบเจอได้ในชีวิตจริง ตัวเอกมักเลอ เลศิ เป็นวีรบุรุษ วีรสตรี เรอื่ งราวมักเปน็ การผจญภัยของตัวเอก ความรักและการเสยี สละทีย่ ง่ิ ใหญ่ ตอนจบมัก ชใี้ หเ้ ห็นว่า คุณธรรม ความดตี อ้ งชนะความชวั่ เสมอ เชน่ สรุ ิโยทยั จูมง เปน็ ต้น 5. นาฏบทจินตนาการ [Fantasy] คอื ละครทมี่ เี นื้อเร่ือง และฉากทเ่ี หมอื นความฝันไม่สามารถเปน็ จรงิ ได้ ตัวละครบางทีก็มีนางฟา้ นางสวรรค์ ตวั ละครสำคญั จะพบปัญหาและอุปสรรคท่ีแก้ไม่ได้ร้อนถึงเทพเจา้ ต้องมาช่วยในทสี่ ดุ เชน่ สังขท์ อง แฮรพี่ อตเตอร์ เป็นตน้

15 6. นาฏกรรมสะเทือนอารมณ์ [Melodrama] คือ ละครแนวฆาตกรรม การฆ่าตวั ตาย ความรกั ทีซ่ บั ซ้อน ลกึ ลับ เชน่ ซีอยุ เปงิ มาง เปน็ ตน้ 7. สขุ นาฏกรรมชีวิต [Comedy of Manners] คือ ละครทีม่ โี ครงเรื่องเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณขี องสงั คม สมยั นิยม อปุ าทาน มนุษย์ เช่น 15 ค่ำ เดอื น 11 นาคี เปน็ ต้น 8. นาฏกรรมทางสังคม [Social Drama] คือ ละครทแ่ี สดงถึงปญั หาของสงั คม ชีวติ ของกรรมกร ความยากจนอย่างแสนสาหสั อาชญากรรม ปญั หาวยั รุ่น เชน่ น้ำพุ สามชกุ เป็นตน้ ที่มา https://americanidiotonbroadway.com/

16 องคป์ ระกอบละคร 1. เรื่อง หรือ บทละคร หมายถึง การลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างมีจุดหมายปลายทาง ทำให้ผู้ชมเข้าใจได้ว่า ใครทำ อะไร ด้วยจุดประสงคอ์ ยา่ งไร มีอปุ สรรคหรือไม่ และได้รบั ผลอยา่ งไร บทละครที่ดีตอ้ งประกอบด้วย 1. โครงเรอ่ื ง ลำดับเหตุการณ์อย่างเป็นเหตุเป็นผล และมีจุดหมายปลายทางมีความยาว พอเหมาะ 2. ตัวละคร คอื ผู้กระทำ หรอื ผ้ทู ีไ่ ดร้ ับผลจากการกระทำในบทละคร 2.1 ตัวละครแบบตายตวั / มองเห็นเพียงด้านเดียว มีนิสัยตามแบบฉบบั นยิ ม เช่นพระเอก – นางเอก ผรู้ ้าย ตัวอิจฉา 2.2 ตัวละครแบบเห็นได้รอบด้าน/เข้าใจได้ยากกว่าตัวละครแบบแร นิสัยคล้ายคนจริง มีท้ัง สว่ นดีและ ส่วนเสยี 3. ความคดิ แงค่ ิดทผ่ี ้เู ขยี นต้องการสอ่ื ถึงผูช้ ม 4. การใชภ้ าษา บทเจรจาของตวั ละคร ต้องเหมาะสมกับนิสยั ของตัวละคร ส่ือความได้ชดั เจน 5. เพลง เป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดเรื่องราว เช่น เป็นบทร้องของผู้แสดงหรือเพลง ประกอบ หรอื แมแ้ ตค่ วามเงียบเม่อื ตวั ละครไดร้ บั ข่าวร้าย 6. ภาพ คือ ภาพทป่ี รากฏตอ่ ผชู้ ม อันเกิดมาจากผลรวมของทุกอย่างทเ่ี กย่ี วข้องกบั การ แสดง สามารถวัด ความชัดเจนไดจ้ ากความพึงพอใจ

17 2. การแสดง ในการจัดการแสดงทุกชนิด ต้องใช้บุคคลที่มีความรู้หลายแขนงมาทำงานร่วมกัน ซึ่งความสำเร็จ ของงานก็ขึ้นอยู่กับการเลือกผู้รับผิดชอบให้เหมาะกับงาน ประกอบกับการที่ทุกฝ่ายมีการประสานงานกัน เปน็ อยา่ งดี สามารถแบ่งตำแหน่งและหนา้ ท่ใี นการจดั การแสดงตามแขนงต่างๆ ได้ดังน้ี ผอู้ ำนวยการแสดง ผู้จัด หรือ หัวหน้าที่มีอำนาจสงู สุดในการจัดการแสดง เป็นผู้วางจุดประสงค์ในการแสดง ดูแลเงินทนุ และคอยแนะนำ / แกป้ ัญหาต่างๆทีเ่ กิดขน้ึ ผูก้ ำกบั การแสดง เป็นตัวจกั รทส่ี ำคญั ท่สี ดุ ของการแสดง มหี น้าทฝี่ ึกซ้อมนกั แสดง และควบคุมการแสดง ผ้ชู ว่ ยผูก้ ำกบั การแสดง รับผิดชอบการแสดงทั้งหมด โดยประสานงานกับผู้กำกับเวทีเป็นผู้ช่วยทีค่ อยรับคำสัง่ จากผู้กำกับการ แสดงมาดำเนินการต่อ ผู้กำกับเวที มีหน้าท่รี ับผิดชอบดแู ล กำกับทกุ อย่างบนเวที เชน่ ฉาก อปุ กรณ์การแสดง แสง สี เสยี ง ผู้เขยี นบท เปน็ หัวใจของการแสดง เพราะเปน็ ผสู้ รา้ งโครงเรือ่ ง และเหตกุ ารณ์ทั้งหมดในการแสดง ผ้จู ัดการฝ่ายธุรการ จัดการเกีย่ วกบั ธุรกิจการแสดง เชน่ หาสถานท่ีแสดง จำหนา่ ยบตั ร จดั ท่ีนั่ง ทำสูจบิ ัตร ฝ่ายเครอื่ งแต่งกาย และแตง่ หนา้ จัดเตรยี มเครอื่ งแตง่ กายผู้แสดงตามที่ผกู้ ำกับเวทมี อบหมาย และแต่งหน้า ทำผมให้กบั นักแสดง

18 เจา้ หนา้ ทเ่ี วที ประสานงานกับผูก้ ำกบั เวที โดยทำหน้าทจ่ี ดั เวที ฉาก อุปกรณ์ประกอบฉาก เปน็ ต้น นกั แสดง คือ ผู้สวมบทบาทเปน็ ตัวละคร เพื่อถ่ายทอดเรอื่ งราว ความรู้สึกนกึ คดิ ที่มีอยใู่ นบทละครมาสู่ผ้ชู ม

19 3. การวางตำแหน่งตัวละคร การวางตำแหน่งตัวละครอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงพื้นที่ของเวที แบ่งได้เป็น 6 ส่วน และแต่ละส่วนลว้ นมีความหมายทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป ดังนี้ ขวาหลัง (5) กลางหลัง (4) ซ้ายหลัง (6) ขวาหนา้ (2) กลางหน้า (1) ซา้ ยหนา้ (3) สว่ นที่ 1 กลางหนา้ การประจนั หนา้ การโต้ตอบ หรือการต่อสู้ (เด่นที่สดุ ) สว่ นที่ 2 ขวาหน้า ใชแ้ สดงความรัก ความเมตตา ปราณี ส่วนท่ี 3 ซา้ ยหน้า ใช้แสดงความลลี้ ับ คิดกลอบุ าย เย้ยหยัน สว่ นท่ี 4 กลางหลัง จุดเรม่ิ ตน้ ตอนสำคญั กอ่ นทผ่ี ้แู สดงจะขยบั มาหน้าเวที ส่วนที่ 5 ขวาหลงั เปน็ ท่ลี ับตา เหมาะในการแอบซ่อน แอบมอง หรือแสดงบทเล็กๆนอ้ ยๆ สว่ นที่ 6 ซ้ายหลัง เป็นจุดที่หา่ งไกล เลือนลาง เหมาะสำหรับการแสดงของภูตผปี ีศาจ การเคลอ่ื นไหวบนเวที มหี ลกั ในการเคล่อื นไหวบนเวที เพอื่ สอ่ื อารมณ์ตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. เคลื่อนไหวเปน็ เส้นตรง เมือ่ มอี ารมณแ์ รงๆ เช่น โกรธ (ซึ่งผ้แู สดงมกั หนั ขา้ งใหค้ นดู) 2. เคล่ือนไหวเป็นเสน้ โคง้ แสดงความเห็นใจ สงสาร 3. เคลือ่ นไหวไปด้านขา้ ง เมอ่ื ต้องการหลกี เลี่ยง เล็ดลอด หรอื แอบดู 4. การใชม้ อื ทำทา่ ประกอบ เมื่อต้องการยำ้ คำพูดใหช้ ดั เจน 5. การใชเ้ ทา้ และขา ผู้หญิงเข่าชดิ กนั / ตัวเอกตวั ตรง ไมพ่ กั ขา / คนแกก่ างขาออก หลังค่อม

20 แหลง่ เรยี นรู้ ละครโศกนาฏกรรม https://www.youtube.com/watch?v=9BWPREP_8Xg ละครตลกชนิดโปกฮา https://www.youtube.com/watch?v=6OFmCkIgxng https://www.youtube.com/watch?v=ePFfw37nrsk ละคร Comedy https://www.youtube.com/watch?v=fLj9eneWWeU ละคร Tragedy กบั Comedy https://www.youtube.com/watch?v=-Msk2hrWOrk https://www.youtube.com/watch?v=QfQI0iNXVBU ละคร Romantic Comedy https://www.youtube.com/watch?v=Wf_2dWIRK1E ละคร Anti-realism https://www.youtube.com/watch?v=T9VtPrZ9LQs ละคร Expressionism https://www.youtube.com/watch?v=08KXaHZK33M ละคร Epic https://www.youtube.com/watch?v=tSw9Gp8kmCc ละคร Absurd https://www.youtube.com/watch?v=qbFG7K9Ql0s https://www.youtube.com/watch?v=8DbC90JWLQE

21

นาฏศิลป์สากล มีอะไรบ้าง

สากล หรือนาฏศิลป์ตะวันตกที่เห็นได้ชัดเจน และเป็นที่รู้จักกันไปทั่วโลก คือ การแสดงบัลเลต์ โอเปรา และละครเพลงบอรดเวย์ ที่นอกจากจะเน้นในด้านลีลา การแสดง และท่าทางการเต้นรำประกอบดนตรีแล้ว ยังให้ความสำคัญกับบท เพลงที่ใช้ในการแสดง ดังนี้

นาฏศิลป์สากลจะต้องมีคุณลักษณะอย่างไร

19.นาฏศิลป์ที่จัดว่าเป็นนาฏศิลป์สากลนั้นจะต้องมีคุณลักษณะอย่างไร? เป็นการแสดงเอกลักษณ์ประจำชาติต่างๆ มีลักษณะเฉพาะที่ทุกชาติเข้าใจ ยอมรับ ฝึกหัดและเผยแพร่ไปทั่วโลก

นาฏศิลป์สากลในสมัยกรีกโบราณมีเกี่ยวแสดงเกี่ยวกับเรื่องใด

ในสมัยกรีกโบราณ เริ่มต้นจากการแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับเทพเจ้าได้ไดโอนีซุส (Dionysus) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ขึ้นในเทศกาลบูชาเทพเจ้าองค์นี้ จัดขึ้นปีละครั้ง จากนั้นก็มีการพัฒนาเป็นละครเกี่ยวกับเรื่องของมนุษย์ ซึ่งยังมีแก่นเรื่องเกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนาและศิลปะวัฒนธรรม ประเภทของละครในสมัยกรีกมีทั้งละคร ...

ละครสากลเกิดขึ้นจากข้อใด

2.2 ประวัติความเป็นมาของละครสากล ต้นกำเนิดของละครสากลทั้งตะวันตกและตะวันออกเกิดขึ้นในระยะเวลาไล่เลี่ยกันประมาณ 2,000 ปี ก่อนคริสตกาล โดยอียิปต์เป็นชาติแรกที่มีการแสดงที่ เก่าแก่ที่สุดในโลก อียิปต์เป็นต้นกำเนิดของศิลปะหลายแขนง มีศิลาจารึกมากกว่า 4,000 ปี