หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค มีอะไรบ้าง

ราชการส่วนภูมิภาค


2019-05-09 16:02

จำนวนครั้งที่อ่าน : 366

หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค มีอะไรบ้าง

ราชการส่วนภูมิภาค หมายถึงหน้าที่เดียวราชการของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ซึ่งได้แบ่งแยกออกไปดำเนินการจัดทำตามเขตการปกครอง โดยมีเจ้าหน้าที่ของทางราชการส่วนกลาง ซึ่งได้รับแต่งตั้งออกไปประจำตามเขตการปกครองต่าง ๆ ในส่วนภูมิภาคเพื่อบริหารราชการภายใต้การบังคับบัญชาของราชการส่วนกลาง

ราชการส่วนภูมิภาค หมายถึงหน้าที่เดียวราชการของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ซึ่งได้แบ่งแยกออกไปดำเนินการจัดทำตามเขตการปกครอง โดยมีเจ้าหน้าที่ของทางราชการส่วนกลาง ซึ่งได้รับแต่งตั้งออกไปประจำตามเขตการปกครองต่าง ๆ ในส่วนภูมิภาคเพื่อบริหารราชการภายใต้การบังคับบัญชาของราชการส่วนกลาง

ราชการส่วนภูมิภาค หมายถึงหน้าที่เดียวราชการของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ซึ่งได้แบ่งแยกออกไปดำเนินการจัดทำตามเขตการปกครอง โดยมีเจ้าหน้าที่ของทางราชการส่วนกลาง ซึ่งได้รับแต่งตั้งออกไปประจำตามเขตการปกครองต่าง ๆ ในส่วนภูมิภาคเพื่อบริหารราชการภายใต้การบังคับบัญชาของราชการส่วนกลาง


หอการค้า จังหวัดอุบลราชธานี ก่อตั้งเมื่อ 2529 ทำหน้าที่ เป็นองค์กรภาคเอกชน ที่ให้คำปรึกษาด้านเศรษฐกิจ แก่ภาครัฐ ในรูปแบบ กรอ.จังหวัด และมีหน้าที่ สื่อสาร ส่งข่าว ให้สมาชิก ทราบความเคลื่อนไหว ภาวะข้อมูล เศรษฐกิจ ของ จังหวัดอุบลราชธานี บริหารงาน ด้วย นโยบายการพัฒนา สมัยใหม่ หากต้องการ ข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ สำนักงาน หอการค้า โทร. 045-243603

ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
ส่วนที่ 2 การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
หมวด 1 จังหวัด
มาตรา 57 ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจและหน้าที่ดังนี้
(1) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ
(2) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่งการในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
(3) บริหารราชการตามคำแนะนำและคำชี้แจงของผู้ตรวจราชการกระทรวงในเมื่อไม่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวงทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรีหรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี
(4) กำกับดูแลการปฏิบัติราชการอันมิใช่ราชการส่วนภูมิภาคของข้าราชการซึ่งประจำอยู่ในจังหวัดนั้น ยกเว้นข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการในสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน และข้าราชการครู ให้ปฏิบัติราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับหรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีหรือยับยั้งการกระทำใด ๆ ของข้าราชการในจังหวัดที่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีไว้ชั่วคราวแล้วรายงานกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวข้อง
(5) ประสานงานและร่วมมือกับข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการในสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน และข้าราชการครู ผู้ตรวจราชการและหัวหน้าส่วนราชการในระดับเขตหรือภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ
(6) เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้องตามโครงการหรือแผนพัฒนาจังหวัด และรายงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบ
(7) ควบคุมดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในจังหวัดตามกฎหมาย
(8) กำกับการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานองค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ในการนี้ให้มีอำนาจทำรายงานหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินงานขององค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัดองค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ
(9) บรรจุ แต่งตั้ง ให้บำเหน็จ และลงโทษข้าราชการในส่วนภูมิภาคในจังหวัดตามกฎหมาย และตามที่ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรืออธิบดีมอบหมาย

มาตรา 58 การยกเว้น จำกัด หรือตัดทอน อำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการในจังหวัด หรือให้ข้าราชการของส่วนราชการใดมีอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการส่วนภูมิภาคเช่นเดียวกับผู้ว่าราชการจังหวัดจะกระทำได้โดยตราเป็นพระราชบัญญัติ

มาตรา 59 ให้นำความในมาตรา 48 และมาตรา 49 มาใช้บังคับแก่ผู้รักษาราชการแทนและผู้ปฏิบัติราชการแทนตามหมวดนี้

มาตรา 60 ให้แบ่งส่วนราชการของจังหวัดดังนี้
(1) สำนักงานจังหวัด มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปและการวางแผนพัฒนาจังหวัดของจังหวัดนั้น มีหัวหน้าสำนักงานจังหวัดเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสำนักงานจังหวัด
(2) ส่วนต่าง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้น มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรมนั้น ๆ มีหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดนั้น ๆ เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชารับผิดชอบ

http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2534/A/156/1.PDF

การบริหาร
      จังหวัดยโสธร มีหน่วยราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ มีจำนวนดังนี้
๑.  จำนวนหน่วยราชการ ประกอบด้วย
      ๑.๑  หน่วยงานราชการส่วนกลาง ๒๓ หน่วยงาน
      ๑.๒  หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค ๒๖ หน่วยงาน
      ๑.๓  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภท ๘๘ หน่วยงาน (อบจ. ๑ , เทศบาลเมือง ๑ , เทศบาลตำบล ๘ , อบต. ๗๘)
      ๑.๔  หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ๘ หน่วยงาน
๒.  จำนวนข้าราชในจังหวัด มีทั้งหมด ๑๗,๐๐๐ คน
การปกครอง
      จังหวัดยโสธร แบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาค / ท้องที่ ประกอบด้วย ๙ อำเภอ ๗๘ ตำบล ๘๗๐ หมู่บ้าน และการปกครองส่วนท้องถิ่นประกอบด้วย เทศบาลเมือง ๑ แห่ง เทศบาลตำบล ๘ แห่ง องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ๑ แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ๗๘ แห่ง พื้นที่ในเขตเทศบาล ๔๗.๓๑๐ ตารางกิโลเมตร และพื้นที่นอกเขตเทศบาล (ชนบท) ๔,๐๑๔.๑๓๔ ตารางกิโลเมตร
ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดยโสธร
โครงสร้างการบริหารราชการของจังหวัด
                                        จังหวัด
                                ผู้ว่าราชการจังหวัด
                              รองผู้ว่าราชการจังหวัด
                                                |
          สำนักงานจังหวัด -------------------- ส่วนราชการประจำจังหวัด
                                                |
                                       อำเภอ / กิ่งอำเภอ
                                   นายอำเภอ / ป.หน.กิ่งอำเภอ
                                                   |
สำนักงานอำเภอ / กิ่งอำเภอ -------------------- ส่วนราชการประจำอำเภอ / กิ่งอำเภอ
                                                   |
                                                ตำบล
                                                กำนัน
                                                  |
                                                หมู่บ้าน
                                              ผู้ใหญ่บ้าน

การบริหารราชการของจังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน
      ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๐๘ ฉบับพิเศษ ตอน ๑๕๖ ลงวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๓๔) ได้กำหนดให้มีการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคเป็น จังหวัด และ อำเภอ
      จังหวัด มีฐานะเป็นนิติบุคคล การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาข้าราชการของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงมหาดไทย
      อำเภอ เป็นหน่วยราชการบริหารรองจากจังหวัด การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอำเภอให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีนายอำเภอเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาข้าราชการในอำเภอ และงานบริหารราชการของอำเภอ
      กิ่งอำเภอ เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอ ตั้งตาม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ มีปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาข้าราชการในกิ่งอำเภอ และงานบริหารราชการของกิ่งอำเภอ
      ตำบลและหมู่บ้าน เป็นหน่วยการปกครองส่วนย่อยของอำเภอหรือกิ่งอำเภอตั้งตาม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ ตำบลจัดตั้งขึ้นโดยประกาศของกระทรวงมหาดไทย มีกำนันเป็นผู้รับผิดชอบตำบล ส่วนหมู่บ้านจัดตั้งโดยประกาศจังหวัด มีผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้รับผิดชอบหมู่บ้าน

หน่วยงาน ส่วนภูมิภาค มี อะไร บาง

สำนักงานจังหวัด.
ที่ทำการปกครองจังหวัด.
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด.
สำนักงานที่ดินจังหวัด.
สำนักงานโยธาธิการและ ผังเมืองจังหวัด.
สำนักงานป้องกันและบรรเทา.

หน่วยงานส่วนภูมิภาคคืออะไร

ราชการส่วนภูมิภาค หมายถึงหน้าที่เดียวราชการของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ซึ่งได้แบ่งแยกออกไปดำเนินการจัดทำตามเขตการปกครอง โดยมีเจ้าหน้าที่ของทางราชการส่วนกลาง ซึ่งได้รับแต่งตั้งออกไปประจำตามเขตการปกครองต่าง ๆ ในส่วนภูมิภาคเพื่อบริหารราชการภายใต้การบังคับบัญชาของราชการส่วนกลางโดยมีการติดต่อกันอย่างใกล้ชิดเพราะถือเป็นเพียง ...

ส่วนราชการใดเป็นราชการส่วนภูมิภาค

การบริหารราชการส่วนภูมิภาคประกอบด้วย จังหวัดและอาเภอ จังหวัด จังหวัดเกิดจากการรวมท้องที่หลาย ๆ อ าเภอตั้งขึ้นเป็นจังหวัดมีฐานะเป็นนิติบุคคลโดยการตั้ง ยุบ และ เปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ(มาตรา 52) ในปัจจุบันมีจังหวัดทั้งสิ้น 77 จังหวัด ไม่รวม กรุงเทพมหานครที่มีฐานะเป็นการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น

หน่วยงานราชการส่วนกลาง มีอะไรบ้าง

(๑) ราชการบริหารส่วนกลาง เป็นการใช้หลักการรวมอ านาจไว้ที่ส่วนกลาง โดยแบ่ง ส่วนราชการออกเป็นส านักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่นและมีฐานะเป็นกรม หรือสังกัดหรือไม่สังกัดส านักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ส านักนายกรัฐมนตรี ส่วนราชการ ดังกล่าวมีฐานะเป็นนิติบุคคล