หลักการตั้งประเด็นปัญหามีอะไรบ้าง

การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย from DuangdenSandee

การกำหนดปัญหางานวิจัย คือ การพิจารณาถึงปัญหาหรือหัวข้อที่เราสนใจต้องการจะศึกษา ว่าหัวข้อนั้นเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร ต้องการทดสอบหรือหาคำตอบเรื่องอะไร เพื่อเป็นการระบุชื่อเรื่องงานวิจัยให้ชัดเจน และเข้าใจตรงกันว่าจะศึกษาเรื่องใด ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญที่สุดในกระบวนการวิจัย เพราะผู้วิจัยต้องกำหนดปัญหาของงานวิจัย ให้สามารถได้มาซึ่งคำตอบของสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาค้นคว้า ซึ่งการกำหนดปัญหาของงานวิจัยควรมีการศึกษาสิ่งต่าง ๆ ดังนี้

  • ศึกษาลักษณะและความเป็นมา ผู้วิจัยจะต้องศึกษาเนื้อหาลักษณะของความเป็นมาของเรื่องที่เป็นปัญหาในการวิจัย

  • ศึกษาโครงสร้างขององค์การที่กําหนดเป็นเรื่องการทําวิจัย บางครั้งจําเป็นต้อง ศึกษาโครงสร้างขององค์การที่ใช้กําหนดเป็นหัวเรื่องของการวิจัย ตัวอยาง เช่น การดําเนินงาน การบริหาร การเงิน เป็นต้น

  • ศึกษาเอกสารและกิจกรรมที่ เกี่ยวของกับหัวเรื่องที่วิจัย ทั้งนี้เพื่อให้ทราบว่า หัวข้อวิจัยนั้นเป็นปัญหาที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้กอ่นหน้านี้รวมทั้งปัญหาอื่นๆ ที่มีอยู่

  • ศึกษาและปรึกษากับผูที่มีความรูโดยเฉพาะผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้มีประสบการณในเรื่องที่จะศึกษาวิจัย

  • ศึกษากรอบและทฤษฎี ซึ่งจะทําใหผู้วิจัยสามารถเห็นความสัมพันธ์ระหว่างหัวเรื่อง ปัญหา ข้อมูล ลักษณะของปัญหา

โดยทั่วไปแล้วปัญหาของการวิจัยควรมีคุณสมบัติ ดังนี้

  1. จะต้องเป็นปัญหาที่ชัดเจนไม่คลุมเครือ ไม่กำกวม เข้าใจง่าย สามารถอ่านแล้วเข้าใจตรงกัน

  2. ปัญหาที่กำหนดต้องไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป

  3. ควรเป็นปัญหาที่มีความหมาย ง่ายต่อการศึกษาวิจัย

  4. จะต้องเหมาะสมกับเวลา ค่าใช้จ่าย และความรู้ความสามารถของผู้วิจัย

เกณฑ์การประเมินปัญหาการวิจัย

การเลือกปัญหาการวิจัยจะเหมาะสมหรือไม่ ควรที่นักวิจัยจะได้ประเมินหัวข้อปัญหาการวิจัยนั้นโดยอาศัยเกณฑ์ต่อไปนี้พิจารณา

1.ควรเป็นปัญหาที่ผู้วิจัยสนใจซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

1.1 มีความอยากรู้  อยากเห็นอยากทราบคำตอบโดยไม่มีอคติ

1.2 เป็นความสนใจที่เกิดจากแรงจูงใจภายนอกมากระตุ้น

1.3 เป็นปัญหาที่แสดงความคิดริเริ่มของผู้วิจัยเอง

2.ควรเป็นปัญหาที่มีคุณค่า ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้  

2.1 ก่อให้เกิดความรู้  ความจริงใหม่ๆ ไม่ซ้ำซ้อนกับผู้อื่น

2.2. ก่อใหเกิดสติปัญญาและพัฒนาความคิด

2.3 นำไปแก้ไขปรับปรุงงานที่ทำอยู่ได้

3.ควรคานึงถึงความสามารถของผู้วิจัยในประเด็นต่อไปนี้  

3.1 มีความรู้  ความสามารถพอที่จะทำงานวิจัยเรื่องนั้น

3.2 มีเวลา กำลังงาน และกำลังทรัพย์พอที่จะทำได้สำเร็จ

3.3 สามารถเก็บข้อมูลได้อย่างเที่ยงตรงและมีประสิทธิภาพ

4.ควรคำนึงถึงสิ่งที่จะเอื้ออำนวยให้การวิจัยสำเร็จได้แก่

4.1 มีแหล่งวิชาการที่จะค้นคว้าได้สะดวกและเพียงพอ

4.2 มีอุปกรณ์เครื่องมือ และเครื่องช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล

4.3 ได้รับความสนับสนุนและร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้องด้วยดี

อ้างอิง

https://www.scribd.com/doc/23466202/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5-3-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2

21 การตงั้ ประเดน็ ปญั หา ความหมายของการตั้งประเด็นปัญหา การตั้งประเด็นปัญหา หมายถึง การคิดวิเคราะห์ การกาหนดหัวข้อการทา รายงาน เช่น ประเด็นปัญหาระดับบุคคล ชุมชน ท้องถ่ิน ประเทศ การตั้งสมมติฐาน และให้เหตุผลสนับสนุน หรือโต้แย้งประเด็นความรู้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ และมีทฤษฎีรองรับ ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ จะช่วยให้การศึกษาค้นควา้ แสวงหาคาตอบประสบผลสาเรจ็ หลักเกณฑก์ ารเลือกหัวขอ้ ปญั หา เกณฑ์ในการคดั เลอื กปัญหาทดี่ แี ละเหมาะสม มหี ลักการตอ่ ไปน้ี 1. เลือกจากความสนใจของตนเอง เป็นแรงจูงใจที่จะผลักดันให้เกิดการติดตาม ค้นควา้ เพอ่ื ให้โครงการไดบ้ รรลเุ ป้าหมายไมเ่ บ่ือหน่ายตอ่ การแก้ไขปญั หาทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ 2. เลอื กปญั หาทต่ี รงกบั ความสามารถของตน เช่น การเก็บรวมรวบและรายการ วิเคราะห์ข้อมลู ความสามารถในการให้รหสั ขอ้ มูล เปน็ ตน้ 3. เลอื กปัญหาที่มคี ณุ ค่าควรเป็นการเพิม่ พูนให้เปน็ ความรู้ใหม่ 4. คานึงความเหมาะสมในเร่ืองของเวลา งบประมาณและกาลงั แรงงานของตน 5. คานงึ ถึงสภาพแวดล้อมท่เี อ้อื อานวย เชน่ ปัญหาน้นั จะไดร้ บั ความร่วมมือมาก น้อยเพยี งใด ปญั หาน้ันมแี หลง่ คน้ ควา้ หรอื ไม่ เปน็ ตน้ การตงั้ ประเดน็ ปญั หาทส่ี นใจ

22 ขอ้ ควรระวงั ในการเลอื กหัวขอ้ ปญั หา ผูเ้ ขียนมขี อ้ เสนอแนะนา และข้อควรระวงั ในการเลอื กหวั ขอ้ ปัญหา ดังน้ี 1. ไม่ควรเลือกปัญหาท่ีกว้างเกินไป ไม่มีขอบเขต แต่ควรเลือกหัวข้อ ปัญหาท่แี คบแต่มีความลกึ ซงึ้ 2. ไม่ควรเลือกปัญหาท่ีหาข้อยุตไิ ม่ได้ 3. ไม่ควรเลือกปัญหาที่ไม่สามารถหาข้อมูลมาทดสอบได้ 4. ไม่ควรเลอื กปญั หาทไ่ี มม่ ีสาระสาคญั การเขยี นความเปน็ มาและความสาคัญ การเขียนความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาอาจมีแนวทางในการ เขยี นเปน็ ลาดับขน้ั ตอน ดงั นี้ 1. ข้ันปัญหา กล่าวถึงสภาพปัญหาที่พบในการจัดการเรียนการสอน หรือสภาพการจดั การเรียนการสอนทพ่ี งึ ประสงค์ 2. ข้ันวิเคราะห์ปัญหา ระบุถึงสภาพปัญหาของการจัดการเรียนการสอน โดยการวิเคราะห์ปัญหาน้ันๆ อย่างรอบคอบ เพ่ือช้ีให้เห็นประเด็นของการวิจัย หากมตี วั เลขประกอบให้นามาระบุด้วย 3. ข้ันสรุปแนวทางที่จะแก้ปัญหาหรือพัฒนา ระบุวิธีการหรือนวัตกรรม ท่นี ามาแกไ้ ขปญั หาหรอื พัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรียนการสอน

23 การเขยี นวตั ถุประสงค์ การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย ต้องเป็นส่ิงท่ีปฏิบัติจริง วัดได้ประเมินได้ ข้อสาคัญ วัตถุประสงค์การวิจัย ไม่ใช่ประโยชน์ของการวิจัย หลักการเขียนวัตถุประสงค์ การวิจัย มีดังน้ี 1. ตอ้ งสอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและช่ือเร่ือง 2. ครอบคลุมส่งิ ที่ต้องการศึกษาและตัวแปร 3. ตอ้ งระบุสิ่งท่ตี ้องการศกึ ษา ตัวแปร กลมุ่ ที่ศกึ ษา (ทาอะไร กับใคร อย่างไร) 4. สามารถกาหนดรปู แบบการวจิ ัยได้ ต้ังสมมุติฐานได้ ตัวอย่าง 1. ประเดน็ ปัญหา : การใช้โทรศัพทใ์ นช้นั เรยี น 2. ความเป็นมาและความสาคญั ในปัจจุบันเป็นยุคโลกาภิวัตน์ หรือโลกไร้พรมแดน การติดต่อส่ือสารสะดวกมากยิ่งขึ้น มีแอพลิ เคช่นั ที่จะเปน็ ชอ่ งทางการสื่อสาร ท้งั ไลน์ เฟสบคุ๊ ทวติ เตอร์ เปน็ ต้น ทาให้การใช้โทรศัพท์มากยิ่งข้ึน นักเรียน สว่ นใหญ่ในโรงเรยี นสงั ขะ มีโทรศัพทม์ ือถอื กันเกอื บทุกคน และจะเป็นปญั หาคือ การที่นักเรียนนาโทรศัพท์ มาใชใ้ นโรงเรยี นและในช้นั เรียน ทั้งให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้า และมีนักเรียนบางส่วนท่ีใช้ในทางท่ี ผิด เล่นเกมส์มือถือ เล่นโทรศัพท์ในชั้นเรียนในระหว่าที่มีการเรียนการสอน ทาให้เกิดปัญหาการใช้ โทรศัพท์มอื ถือขนึ้ จากข้อความเบือ้ งต้นทาให้ผู้จัดทามีความสนใจในเรื่องการใช้โทรศัพท์มือถือในช้ันเรียน โดยจะได้ ศึกษาสาเหตุ และแนวทางการแกไ้ ขการใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถือในชนั้ เรียน 3. วตั ถุประสงค์ 3.1 เพอื่ ศึกษาสาเหตุการใชโ้ ทรศพั ท์มอื ถือในชน้ั เรียน 3.2 เพอ่ื หาแนวทางการแกไ้ ขการใช้โทรศัพท์มือถอื ในชนั้ เรียน การตัง้ ประเด็นปญั หาท่สี นใจ

24 การตัง้ สมมตฐิ าน ความหมายของสมมติฐาน การต้งั สมมติฐาน คอื การทานายผล การคาดเดาเหตกุ ารณ์ หรอื การคดิ คาตอบลว่ งหน้า อย่างมีเหตุมีผล โดยอาศัยหลักการ ความรู้ หรือประสบการณ์ เดมิ ท่มี อี ยู่ การตง้ั สมมติฐาน หมายถงึ การกาหนดข้อความท่ีคาดคะเนคาตอบของ ปัญหา/เร่ืองท่ีสนใจไว้ก่อนทาการศึกษา ซ่ึงการคาดคะเนคาตอบนั้นมุ่งหวังให้ คาตอบหรือผลทไี่ ด้จากการศึกษาถูกต้องมากท่ีสุด สมมติฐานจึงเป็นเคร่ืองมือท่ี จะนาไปส่กู ารพิสูจน์คน้ หาความจริงในการศึกษาค้นคว้า ดังนั้น การต้ังสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนคาตอบไว้ล่วงหน้าอย่างมี เหตุผล หรือสมมติฐานคือข้อความท่ีอยู่ในรูปของการคาดคะเนความสัมพันธ์ ระหว่างตวั แปร 2 ตัว หรือมากกว่า 2 ตวั เพ่ือใช้ตอบปัญหาทต่ี ้องการศึกษา หลกั เกณฑ์การตงั้ สมมตฐิ าน 1. ต้องเป็นข้อความที่บอกความสมั พันธร์ ะหวา่ งตวั แปรตน้ กับตวั แปร ตาม 2. ใน 1 ปัญหา อาจมหี ลายสมมตฐิ านได้ และสมมติฐานอาจจะผดิ หรือ ถูกก็ได้ มักใช้คาวา่ \"ถา้ ...........ดังนั้น\"

25 ตัวอยา่ งการต้ังสมมตฐิ าน 1. ช่ือเรอื่ ง : เปรียบเทยี บการเจริญเติบโตของถั่วงอกท่ีปลกู กลางแจ้งและ ปลูกในที่ร่ม ตวั แปรต้น : การปลกู ถ่ัวงอกกลางแจ้งและปลกู ในรม่ ตัวแปรตาม : การเจรญิ เตบิ โตของถั่วงอก สมมติฐาน : ถั่วงอกทีป่ ลูกกลางแจง้ จะเจริญเตบิ โตได้ดีกว่าถั่วงอกทป่ี ลูกใน ที่รม่ 2. ช่อื เร่ือง : เปรียบเทยี บการเจริญเติบโตของถั่วงอกท่ปี ลูกกลางแจง้ และ ปลกู ในทร่ี ่ม ตวั แปรตน้ : แสงแดด ตวั แปรตาม : การเจรญิ เตบิ โตของถวั่ งอก สมมติฐาน : ถา้ แสงแดดมีผลตอ่ การเจรญิ เติบโตของถ่ัวงอก ดังน้นั ถัว่ งอกท่ี ปลกู กลางแจง้ จะเจริญเตบิ โตได้ดี 3. ชอ่ื โครงงาน : เทยี นหอมตะไคร้ไลย่ งุ ตวั แปรต้น : ตะไครส้ ามารถไลย่ งุ ได้ ตัวแปรตาม : เทยี นหอมตะไคร้ไลย่ งุ ไมท่ าให้ผใู้ ช้เกิดอาการแพ้ สมมตฐิ าน : เทยี นหอมสมนุ ไพรทีผ่ ลิตขน้ึ ได้นา่ จะมีกลิน่ ของสมุนไพรซงึ่ ไดแ้ ก่ตะไครห้ อมใหก้ ลิ่นทหี่ อมสดช่ืน การตง้ั ประเดน็ ปญั หาทสี่ นใจ

27 การวางโครงเรือ่ งรายงาน ความหมายของโครงเรอื่ งรายงาน โครงเรอ่ื ง คือ กรอบของเรื่องทีผ่ ู้ทารายงานจะใช้เป็นแนวทางใน การเขียนรายงาน โดยการเขียนโครงเร่ืองนั้นผู้เขียนรายงานจะเริ่มต้น จากการพิจารณาหัวข้อรายงานอย่างถี่ถ้วน วิเคราะห์แนวคิดต่างๆที่ เก่ียวข้อง คัดเลือกแนวคิดสาคัญ รวมทั้งจัดลาดับว่าแนวคิดใดมา ก่อนหลังและมีความสัมพันธ์กันอย่างไรโดยอาจจัดลาดับตามเวลา หรือตามเหตกุ ารณ์ ความสาคญั ในการเขยี นโครงรา่ ง 1. ชว่ ยใหผ้ ู้เขียนจัดแนวคิดได้ตรงกับเรื่องทจ่ี ะเขียน 2. ทาให้งานมเี อกภาพไมป่ ะปนและออกนอกเรือ่ ง 3. ช่วยใหง้ านเขียนมีสัมพันธภาพมีการลาดบั ความอย่างมีเหตุผล ต่อเนื่อง การเขยี นรายงานวิชาการและบรรณานุกรม

28 รปู แบบของโครงเรือ่ ง จดั ลาดบั หวั ขอ้ ใหญแ่ ละหัวขอ้ ย่อยให้เป็นระเบียบ หัวข้อย่อยซึ่งทาหน้าที่ ขยายโครงเรื่องใหช้ ดั เจนนัน้ เขียนเยื้องไปทางขวาของหัวข้อใหญ่เล็กน้อย การใช้ ตวั อกั ษรหรือตัวเลขกากบั ควรใชแ้ บบเดียวกนั ดงั ตัวอยา่ ง 1. หวั ข้อใหญ่ขอ้ ที่ 1.1 หัวขอ้ ย่อยขอ้ ที่ 1 1.1.1 หวั ขอ้ ย่อยรองข้อที่ 1 1.1.2 หวั ข้อย่อยรองข้อท่ี 2 1.2 หวั ข้อย่อยข้อที่ 2 1.2.1 หวั ขอ้ ยอ่ ยรองข้อที่ 1 1.2.2 หวั ขอ้ ย่อยรองข้อท่ี 2 2. หัวขอ้ ใหญ่ขอ้ ท่ี 2 2.1 หัวขอ้ ยอ่ ยขอ้ ที่ 1 2.1.1 หัวข้อยอ่ ยรองขอ้ ท่ี 1 2.1.2 หัวขอ้ ย่อยรองขอ้ ที่ 2 ผทู้ ่เี ขยี นโครงเร่ืองไวด้ ีแล้วจะเขียนเนอื้ เร่ืองไดส้ ะดวก รวดเรว็ และเขา้ ใจง่ายตามเจตนารมณข์ องผูเ้ ขยี น

29 ตวั อยา่ งการเขียนโครงเรือ่ งรายงาน เรอื่ ง การศึกษาการปลกู ทเุ รียน บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญ 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 1.4 ประโยชน์ที่ไดร้ ับ บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกีย่ วข้อง 2.1 ประวัติความเป็นมาการปลูกทเุ รียนในประเทศไทย 2.1 พนั ธท์ุ เุ รียน 2.2 สภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมสาหรับทเุ รยี น 2.3 วธิ กี ารปลูกทุเรียน 2.4 การดูแลรกั ษา 2.5 การแปรรูป บทท่ี 3 วธิ ดี าเนินงาน 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการดาเนินงาน 3.2 การออกแบบรายงานและวิธกี ารดาเนนิ การ 3.3 การดาเนนิ การ 3.4 การสรุปผลการดาเนินการ (เขียนเฉพาะความสาเรจ็ และปัญหา สว่ นการแกไ้ ขจะเขียนทบ่ี ทท่ี 4) บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 4.1 ผลการดาเนนิ งาน 4.2 การนาไปใช้ บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรปุ ผล 5.2 ปญั หาและอุปสรรคในการศกึ ษาค้นควา้ 5.3 ขอ้ เสนอแนะและ การเขียนรายงานวิชาการและบรรณานกุ รม

30 รายงานทางวิชาการ ความหมายของรายงานทางวชิ าการ รายงานวิชาการ หมายถึง เอกสารที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า สารวจ รวบรวม ศึกษา สังเคราะห์ หรือวิเคราะห์ เร่ืองทางวิชาการเรื่อง หน่ึงเรื่องใดอย่างละเอียดและมีเหตุผล แล้วนามารวบรวมเรียบเรียงใหม่ ให้เปน็ ระเบยี บ จากนนั้ จึงเขียนหรือพมิ พ์ตามแบบแผน ข้ันตอนในการเขียนรายงานทางวิชาการ มขี นั้ ตอนดังน้ี 1. เลือกหัวข้อเร่ืองและกาหนดช่ือเรื่องรายงาน ควรเลือก หัวขอ้ เรื่องทม่ี ีสาระประโยชน์ต่อผูศ้ กึ ษาและผอู้ า่ นรายงาน 2. กาหนดวตั ถุประสงคข์ องรายงาน 3. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลอย่างเพียงพอ สามารถศึกษา แหล่งขอ้ มลู ได้อยู่ 2 แหล่ง ไดแ้ ก่ 3.1 แหลง่ ขอ้ มูลปฐมภูมิ เป็นข้อมูลที่ผู้ทารายงานรวบรวม ขึ้นเองจากการสารวจ การสังเกต การสัมภาษณ์ เป็นตน้ 3.2 แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ หนังสือ วารสาร นิตยสาร วทิ ยานพิ นธ์ อนิ เทอรเ์ น็ต ฯลฯ

31 ตงั้ ใจเรยี นนะคะ 4. ตรวจสอบข้อมูล เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีดีที่สุดและเหมาะสม ที่สดุ ซึ่งเกณฑ์การตรวจสอบมีดังนี้ 4.1 ความถูกต้องของข้อมูล เป็นผลงานท่ีได้รับความ นิยมแพร่หลายเปน็ ทย่ี อมรับจนพมิ พซ์ า้ ตอ่ เน่อื งมาแลว้ หลายคร้งั 4.2 ความทันสมัยของข้อมูล เป็นข้อมูลท่ีมีการตีพิมพ์ ในปีล่าสุด เป็นขอ้ มูลทมี่ ีความสดใหม่ ทันสมัยเหมาะสมกบั รายงาน 4.3 ตรวจสอบเรื่องลิขสิทธ์ิ ผลงานทางวิชาการเป็น ทรัพย์สินทางปัญญาท่ีมีกฎหมายลิขสิทธิ์คุ้มครอง การจะทาการข้อมูล ใดๆ ตอ้ งไดร้ บี อนญุ าตจากผถู้ ือลิขสิทธเิ์ สียก่อน การเขยี นรายงานวชิ าการและบรรณานุกรม

32 5. บันทึกข้อมูล เมื่อได้ข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าแล้วจึง นามาจดบันทึกข้อความท่นี ่าสนใจ โดยมีวิธีการบันทึกข้อมูลท่ีนิยมใช้อยู่ 3 แบบ ได้แก่ 5.1 บันทึกแบบสรุปความ เป็นการบันทึกสาระสาคัญ ของเรอื่ งท่ีต้องการให้ครบถ้วนด้วยภาษาของผบู้ ันทึกเอง 5.2 บันทึกแบบคัดลอกข้อความ เป็นการคัดลอก ข้อความบางตอนท่ีต้องการจากต้นฉบับทุกประการ 5.3 บันทึกข้อมูลแบบถอดความ เป็นการใช้กับ ข้อความที่เป็นบทร้อยกรองหรือภาษาต่างประเทศ แต่ต้องการใช้ใน แบบของร้อยแก้วหรอื ภาษาไทย

33 ประเภทของรายงาน 1. รายงานท่ัวไป เป็นรายงานท่ีเสนอ ข้อเท็จจริงในเรื่องต่างๆ ได้แก่ รายงาน ในโอกาสต่างๆ รายงานการประชุม รายงานข่าว เปน็ ตน้ 2. รายงานทางวิชาการ คือ รายงานผลของ การศึกษาค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับเร่ืองใดเร่ือง หนึง่ ม่งุ เสนอผลท่ไี ดต้ ามความเป็นจริงซ่ึงต้อง ทาตามข้ันตอน ระเบียบแบบแผนท่ีเป็น สากล และถือว่ารายงานเป็นส่วนหนึ่งของ การประเมินผลการเรียนการสอนของวิชา น้ันๆ ดว้ ย การเขียนรายงานวิชาการและบรรณานกุ รม

34 วัตถปุ ระสงคข์ องรายงานทางวชิ าการ 1. เพ่ิมพูนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาการให้กว้างขวางและลึกซึ้ง ยิง่ ขึน้ 2. พัฒนาทักษะการคน้ คว้าและการเขยี นรายงานทางวชิ าการ 3. พฒั นาทกั ษะการคิด วเิ คราะห์ สงั เคราะหอ์ ยา่ งมรี ะบบ 4. ส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง การใช้ภาษาในการเขยี นรายงาน 1. ควรใช้ภาษาหรือสานวนโวหารเป็นของตนเองที่เข้าใจง่ายและถกู ตอ้ ง 2. ใชป้ ระโยคสนั้ ๆ ให้ได้ใจความชดั เจน สมบูรณ์ ตรงไปตรงมาไม่วกวน 3. ใช้ภาษาที่เป็นทางการไม่ใช้ภาษาพดู คาผวน คาแสลง อักษรยอ่ คายอ่ 4. ใช้คาท่ีมีความหมายชดั เจน ละเวน้ การใชภ้ าษาฟุ่มเฟอื ย การเลน่ สานวน 5. ระมดั ระวงั ในเร่ืองการสะกดคา การแบ่งวรรคตอน 6. ระมัดระวงั การแยกคาด้วยเหตุท่ีเน้ือที่ในบรรทัดไม่พอหรือหมดเน้ือที่ใน หน้าทน่ี นั้ เสียกอ่ น 7. ใหเ้ ขยี นเป็นภาษาไทยไม่ต้องมีคาภาษาอังกฤษกากบั

35 ลักษณะของรายงานทดี่ ี 1. มกี ารนาหลกั การและ/หรอื ทฤษฎมี าใช้อย่างเหมาะสมเน่ืองจากใน การศึกษาค้นคว้า จะต้องมีการวิเคราะห์เน้ือหา โดยมีหลักการหรือทฤษฎี มารองรบั อยา่ งเหมาะสม 2. มีการแสดงความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม เช่น เสนอแนวทางการแก้ปัญหาที่ไม่เคยมีผู้ทามาก่อน หรือเคยมีผู้ทาแต่ไม่ ชัดเจนเพียงพอ 3. ความสมบรู ณแ์ ละความถูกต้องของเน้ือหาสาระ เนื้อหาสาระต้อง สมบรู ณต์ ามชอ่ื เรอ่ื งที่กาหนด และถูกต้องในขอ้ เทจ็ จริง การอ้างอิงที่มาหรือ แหล่งคน้ คว้าต้องถกู ตอ้ ง 4. ความชัดเจนของการเขียนรายงานจะต้องมีความชัดเจนในด้าน ลาดับการเสนอเร่อื งมคี วามสามารถในการใช้ภาษา การเขียนรายงานวิชาการและบรรณานกุ รม

36 ส่วนประกอบของรายงาน สว่ นประกอบ ตอนต้น สว่ นประกอบ ของรายงาน สว่ นประกอบ สว่ นประกอบ ตอนกลาง/ ตอนท้าย เน้ือเร่อื ง

37 สว่ นประกอบของรายงาน ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ มลี กั ษณะ ดังนี้ 1. ส่วนประกอบตอนต้น คือ ส่วนที่อยู่ต้นเล่มของรายงานก่อนถึงเนื้อ เรอื่ งประกอบด้วย 1.1 ปกนอก (หน้าปก) เป็นส่วนท่ีหุ้มรายงานทั้งหมด มีทั้งปกหน้า และปกหลังควรใชก้ ระดาษที่ หนากว่ากระดาษในตัวเลม่ สสี ุภาพ 1.2 ใบรองปก เป็นกระดาษเปล่า 1 แผ่นค่ันอยู่ระหว่างปกนอก และปกใน 1.3 ปกใน หน้าปกในจะมีรายละเอียดเหมือนปกนอกทุกประการ แตอ่ าจจะเพม่ิ รายละเอยี ดตอนกลาง 1.4 คานา เป็นการกลา่ วถงึ เน้ือหาโดยสรุปของรายงานเพื่อให้ผู้อ่าน เขา้ ใจภาพรวมของรายงานเบอ้ื งต้น การเขียนรายงานวชิ าการและบรรณานุกรม

38 1.5 สารบัญ เปน็ การเรยี งลาดับบทตา่ งๆของรายงาน เรยี งตามลาดับ เนอ้ื หาพร้อมระบเุ ลขหน้ากากับว่าแตล่ ะบทเร่มิ จากหนา้ ใด 1.6 สารบัญตาราง ในกรณีที่รายงานมีตารางประกอบจานวนมาก จะทาบญั ชตี ารางตอ่ จากสารบญั ประกอบดว้ ย รายการตารางพร้อมระบุเลข หนา้ กากบั เรียงตามลาดับเลขทีต่ ารางที่ปรากฏในรายงาน 1.7 สารบัญภาพ ในกรณีท่ีรายงานมีภาพประกอบจานวนมาก จะจดั ทาบญั ชีภาพประกอบเช่นเดยี วกบั บัญชตี าราง

39 2. ส่วนประกอบตอนกลาง (เนื้อเรอื่ ง) เปน็ ส่วนสาคัญที่สดุ ของรายงาน แบ่งแยกเน้ือหาทเ่ี ขียนเป็นบทอย่าง มีระบบระเบียบ ตามลาดับรายงานทางวิชาการมีโครงสร้างมาตรฐาน 5 บท คือ บทที่ 1 บทนา บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ตั้งใจเรยี นนะคะ การเขียนรายงานวชิ าการและบรรณานกุ รม

40 3. สว่ นประกอบทา้ ย ประกอบด้วย 3.1 บรรณานุกรม คือ รายการสารสนเทศท้ังหมดที่ผู้ทา รายงานได้ศึกษาค้นคว้านามาอ้างอิงประกอบการเรียบเรียงทารายงาน จัดเรียงตามลาดับตัวอักษรและเขียนรายงานต่างๆตามแบบแผนเขียน บรรณานกุ รม 3.2 ภาคผนวก คือ ส่วนที่นามาเพิ่มเติมในรายงานมีความ สมบูรณ์ยิ่งข้ึน ซึ่งไม่ใช้เนื้อหาโดยตรงไม่ก็ได้ข้ึนอยู่กับความจาเป็น และความเหมาะสมของรายงานแต่ละเรอ่ื ง รูปภาพท่ี 1 ประชมุ สมาชิกภายในกลมุ่ เพอื่ แบง่ หน้าที่ในการทารายงาน

41 การเขียนคานาและสารบัญ การเขียนคานา คานา เป็นกล่าวถึงเน้ือหาโดยสรุปของรายงานเพื่อให้ผู้อ่าน เขา้ ใจภาพรวมของรายงานเบือ้ งตน้ ยกตวั อยา่ งเชน่ ตัวอย่างการตัวอยา่ งการเขียนคานา คานา รายงานเล่มนี้จัดทาข้ึนเพื่อประกอบการศึกษารายวิชาห้องสมุดเพ่ือ การศึกษาค้นคว้า รหัสวิชา ห20202 เน้อื หาภายในเล่มประกอบดว้ ย ความหมายของ ห้องสมุด ความสาคัญของห้องสมุด วัตถุประสงค์ของห้องสมุด ประเภทของหอ้ งสมดุ ผู้จัดทาขอขอบคุณ นางสาวสุกันยา ช่ืนรส ครูประจาวิชา ท่ีได้ให้ ค า ป รึ ก ษ า แ ล ะ ชี้ แ น ะ แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า จั ด ท า ร า ย ง า น เ ล่ ม นี้ และขอขอบคุณเจ้าของหนังสือทุกท่านท่ีใช้ประกอบการอ้างอิงในการเรียบเรียง รายงานเล่มน้ี เพื่อทาให้การศึกษาค้นคว้าประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ หวังเป็นอย่างย่งิ วา่ รายงานเลม่ นี้จะมีประโยชน์แกผ่ ้สู นใจและผศู้ ึกษาได้ไมม่ ากก็นอ้ ย คณะผ้จู ดั ทา 1 กรกฎาคม 2562 การเขยี นรายงานวชิ าการและบรรณานกุ รม

42 การเขียนสารบัญ สารบัญ เป็นการเรียงลาดับบทต่างๆของรายงาน เรียงตามลาดับ เน้อื หาพร้อมระบุเลขหน้ากากบั ว่าแต่ละบทเริ่มจากหนา้ ใด สารบัญ คานา หน้า สารบญั ก สารบัญตาราง ข สารบัญภาพ ค บทที่ 1 บทนา ง 1 ความเปน็ มาและความสาคญั 1 วตั ถุประสงค์ 1 สมมตฐิ านของการศึกษาคน้ คว้า 1 ประโยชน์ท่ีไดร้ บั 2 บทที่ 2 เอกสารท่เี กย่ี วข้อง 3 ประวตั ิความเปน็ มาการปลูกทุเรยี นในประเทศไทย 3 พนั ธ์ทุ เุ รยี น 5 สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมสาหรับทเุ รียน 6 วิธีการปลกู ทเุ รียน 8

การตั้งประเด็นปัญหามีหลักการอย่างไร

ประเด็นปัญหา หมายถึง คำถามที่เราต้องการหาคำตอบการตั้งประเด็นปัญหานักเรียนควรมีความรู้เรื่องต่อไปนี้.
ไม่ควรเลือกปัญหาที่กว้างเกินไป ไม่มีขอบเขต แต่ควรเลือกหัวข้อปัญหาที่แคบแต่มีความลึกซึ้ง.
ไม่ควรเลือกปัญหาที่หาข้อยุติไม่ได้.
ไม่ควรเลือกปัญหาที่ไม่สามารถหาข้อมูลมาทดสอบได้.
ไม่ควรเลือกปัญหาที่ไม่มีสาระสาคัญ.

ความหมายของการตั้งประเด็นปัญหาคืออะไร

การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้งคำถาม การใช้คำถามเป็นเทคนิคสำคัญในการเสาะแสวงหาความรู้ที่มีประสิทธิภาพ เป็นกลวิธีการสอนที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิด การตีความ การไตร่ตรอง การถ่ายทอดความคิด สามารถนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี

ประเภทของประเด็นปัญหามีกี่ประเภท

ประเภทของปัญหาแบ่งตามความคงอยู่ โดยจูแรน (Juran) แบ่งเป็น 2 ประเภทได้แก่ ปัญหาครั้งคราว - เกิดขึ้นไม่บ่อย ไม่สามารถคาดการณ์ได้ แต่สามารถทำให้ปัญหาหมดไปได้ ปัญหาเรื้อรัง - เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา สามารถคาดการณ์ได้ อาจแก้ไขให้หมดไปไม่ได้แต่สามารถลดความรุนแรงให้น้อยลงได้

เกณฑ์การตั้งประเด็นปัญหาควรพิจารณาอะไรบ้าง

เลือกเรื่องเหมาะสมจะมีอุปสรรคน้อย ช่วยให้งานสำเร็จได้ด้วยดี การเลือกเรื่องตั้งประเด็นปัญหาจึงต้องทำอย่างละเอียด รอบคอบ โดยมีเกณฑ์การพิจารณาดังนี้ ... .
เพราะต้องใช้ความพากเพียร อดทน ตั้งใจศึกษาค้นคว้าจึงจะสำเร็จได้ ... .
ประสบการณ์ และต้องมั่นใจว่าตนมีศักยภาพในการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจเรื่องนั้น.