แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

วันนี้ครับเพื่อนๆพี่ๆน้องๆนักอ่านทุกท่าน ผมมาสัมภาษณ์เพื่อถอดรหัสความสำเร็จของแบรนด์ข้าวศรีแสงดาวให้ทุกๆท่านได้อ่านกันอย่างหมดเปลือก

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

โดยวิธีการอ่านนั้นจะเป็น บทความของน้องสิน สินสมุทร ศรีแสงปาง และผมสมชนะ จะเป็นคนถาม

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

สมชนะ : Brand Purpose ของศรีแสงดาวเป็นอย่างไร?

สินสมุทร : สานต่อProject ข้าว Gi กับคุณแม่

ในช่วงแรกที่ทำข้าว GI ยังไม่เข้าใจถึงความสำคัญของสินค้าชุมชน และความยิ่งใหญ่อะไรของมัน รู้แต่ว่าแม่ต้องการช่วยงานนโยบายของภาครัฐให้สำเร็จ และช่วยซื้อข้าวจากชาวนาราคาแพงขึ้นจากราคาปรกติ ในระหว่างนี้ผมมีโอกาสใกล้ชิดชาวนามากขึ้น ได้พูดคุย ได้รู้ปัญหาต่างๆ ของชาวนา  และชาวนาจะชอบผมมากเวลาผมลงไปหาพวกเขาถึงในหมู่บ้าน อาเสี่ยมาให้ต่อรองถึงในหมู่บ้าน ประเด็นหลักที่เกษตรกรเจอผมคือคือเรื่องราคา ดังนั้นวิธีการแก้คือ ผมศึกษาวิธีการทำนาหยอดเพื่อให้ได้ผลผลิตที่สูงขึ้น และให้ชาวนาขายข้าวได้มากขึ้น

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

สมชนะ : ช่วยเล่าให้ฟังหน่อยว่านาหยอดของศรีแสงดาวมันดียังไง?

สินสมุทร : ศรีแสงดาวหมู่บ้านนาหยอด นำร่องเกษตรกร หยอดข้าวฟรี!

ถ่ายทอดการทำนาหยอดจากโรงสีศรีแสงดาว สู่แปลงนาของเกษตรกรบริเวณรอบโรงสีศรีแสงดาว ครั้งแรกเราหยอดข้าวให้ฟรี แต่ไม่มีใครกล้าทำด้วย เพราะเกษตรกรกลัวเรื่องเมล็ดพันธ์ที่น้อยลง กลัวความห่าง กลัวไม่ได้ข้าว  ในปีแรกขอเกษตรกรหยอดข้าวให้ฟรีถึง 3 ครั้งถูกปฎิเสธกลับมาทุกครั้ง และครั้งสุดท้ายลงไปเองถึงบ้านเกษตรกร คุยกันอยู่นานเกษตรกรเห็นถึงความตั้งใจ โดยขอว่า 1 แปลงถ้าพี่ๆให้ผมหยอด ผมก็จะหยอดให้  สรุปได้ เกษตรใจเพชรมา 20 คนบนพื้นที่ 300 ไร่  ในช่วงแรกที่ส่งเสริมผมคุยกับเกษตรกรเยอะมาก  ฟังซ้ำหลายๆคน จับประเด็นได้ก็ปัญหาเดิมๆ เรื่องเดิมๆ ประสบการณ์การทำงานบริหารโรงสีในเรื่องการผลิตช่วยได้มาก  เป็นเรื่องเดียวกันผลิตเหมือนกัน การทำนาจึงไม่ใช่เรื่องยาก มีหลักคิดแบบเป็นระบบ มีแนวคิดที่เป็นวิทยาศาสตร์ มีเครื่องจักรช่วยทุ่นแรง แต่ความยากคือ การเปิดใจของเกษตรกร ที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่  เมื่อเก็บเกี่ยวสรุปผลคือ นาหว่านเดิมใช้เมล็ดพันธุ์ 35 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 330 กิโลกรัมต่อไร่ นาหยอดที่ลงไปส่งเสริมใช้เมล็ดพันธุ์ 6  กิโลกรัมต่อไร่ แต่สามาถทำผลผลิตได้มากถึง 550-690 กิโลกรัมต่อไร่  สิ่งที่มหัศจรรย์ในปีนี้คือราคาข้าวตก แต่เกษตรกรที่ร่วมโครงการกับเราพอขายข้าวได้เงินเยอะที่สุดในชีวิตที่เคยได้รับ จึงมั่นใจมากมาถูกทาง 

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

การเดินทางของข้าวศรีแสงดาว เกิดจากความผิดหวัง

ชาวต่างชาติ ติดต่อเข้ามาซื้อข้าว Gi คุย Project กันอยู่เป็นปี แต่สุดท้ายเขาไม่ซื้อเพราะ เขาต้องการนำข้าว Gi ออกไปบรรจุนอกพื้นที่ ซึ่งผิดระเบียบข้าว Gi เมื่อพิจารณดูแล้ว ข้าว Gi  ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ สินค้าไทยชนิดแรกของไทย ที่สามารถไปจดทะเบียนไกลถึงสหภาพยุโรปได้สำเร็จ  ถ้าคนพื้นที่ไม่ผลักดันออกมาไป  ความยิ่งใหญ่ ความภูมิใจของสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เป็นจุดเด่นของพื้นทีเราก็ไร้ความหมาย

ศรีแสงดาว Gi ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้  Project

เกษตรกรทุกคนที่เข้าร่วมโครงการต้องทำนาหยอด เพื่อให้มีรายได้มากขึ้นจากการทำนา จุดเริ่มต้นโครงการศรีแสงดาวเริ่มจากความตั้งใจเท่านี้  เท่านี้จริงๆ อยากให้เกษตรกรมีรายได้มาขึ้นจากการทำนา ด้วยการทำนาหยอด กิจกรรมหลักคืองานส่งเสริม   ไม่มีแผนธุรกิจใดๆ เพราะทีมส่งเสริมก็มีไม่ลงไปดูแลเองทั้งหมด เวลาหายไปในส่วนนี้ 70 % ของชีวิต เป้าหมายเดียวที่คิดออกตอนนั้นคือต้องพาเกษตรกรทำนาหยอดให้สำเร็จ   ความรู้สึกคือเหนื่อยมาก แต่ก็มีความสุขมากเช่นกัน รู้ว่าสามารถพาเกษตรกรทำนาหยอดสำเร็จ

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

สมชนะ : ดูเหมือนว่าจะเป็นไปได้ด้วยดี มีทั้ง GI ทั้งปลูกแบบนาหยอด แต่เหนือสิ่งอื่นใดคือ การสื่อสารสิ่งที่ดีงามนั้นออกไป ช่วยเล่าวิธีการให้ฟังหน่อย?

สินสมุทร : การถ่ายทอด Brand Purpose สู่งานดีไซน์

ผมไปเจออาจารย์แชมป์ สมชนะ กังวารจิตต์ จาก Prompt Design ผู้มีประสบการณ์ในระดับโลก เขาเข้าใจจุดเด่นในข้าวของผมดี เข้าใจตัวตนผมดี และถ่ายทอดเรื่องราวออกมาด้วยจิตวิญญาณ เป็นพี่เลี้ยง ให้คำแนะนำการเดินทางของข้าวศรีแสงดาว หากอาจารย์แชมป์ ไม่เข้ามาช่วยถ่ายทอดเรื่องราวตรงนี้ ผมอาจจะหมดกำลังใจในการส่งเสริมการทำนาหยอดก็ได้

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

อาจารย์สามารถมองเห็นอนาคตของข้าวศรีแสงดาว และยังมองเห็นเทรนด์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ผนวกกับจุดยืนที่มีอยู่ในวงการข้าวที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ก็คือเรื่อง Sustainability หรือเรื่องสิ่งแวดล้อม ซึ่งจริงๆ โรงสีของผมทำเรื่องแบบนี้อยู่แล้วด้วย แต่ไม่เคยพูดออกมา ผมทำเรื่องนี้กับอาจารย์อยู่เกือบ 2 ปี ตั้งแต่ปี 2018 ซึ่งตอนนั้นก็ไม่มีใครเข้าใจเรื่องนี้กันมากนัก ไม่มีใครให้ความมั่นใจได้เลย มีแต่อาจารย์แชมป์คนเดียว

หลังจากนั้นผลงานออกสู่ตลาดชาวต่างชาติให้การยอมรับในวงกว้างได้รางวัลระดับโลกมากถึง 15 รางวัล และทำให้โลกได้รู้จักข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ไทย และรู้จักข้าวศรีแสงดาว ทำให้ผมส่งออกแบรนด์ศรีแสงดาวไปต่างประเทศแล้วด้วย ผมภูมิใจมากที่ข้าวแบรนด์คนไทยได้มีโอกาสไปสร้างชื่อในเวทีโลก

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

จากที่น้องสิน สินสมุทร ได้เล่ามาข้างต้น ผมมาขมวดให้ได้ดังนี้ครับ พร้อมตาราง

ในเชิง Product Differentiation นั้น ถือว่ามีความต่างพอสมควร เวลาเอามาใส่ bullet ในตาราง Creating Product Differentiation จะมองเห็นว่าในเชิง Story นั้นถือว่ามาได้เต็มทุกช่องทั้งเรื่องช่องการ Build เรื่อง Social Value ส่วนช่องต่อมาเรื่อง Design ก็ถือว่าตอบโจทย์ทุกๆช่องเหมือนกัน ส่วนในแง่ Usability ตรงนี้ไม่ได้เปลี่ยนอะไรถือเป็นปกติของการทานข้าว หุงข้าว ทั่วๆไป ต่อมาในมุมของ Quality ตรงนี้เองด้าน Functional ใส่ Bullet เพราะมีการ Certified จาก GI ของสหภาพยุโรป และตราอื่นๆอีกมากมาย ส่วนตรง Process ถือว่าต่าง เพราะในการทำนาหยอดนั้นในแง่ Functional และ Social นั้นมาเต็มอยู่แล้ว

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

สรุปเพื่อนๆพี่ๆน้องจะเห็นภาพเลยครับว่าส่วนของต้นทางคือ Product นั้นต่างแล้วหรือไม่ เพื่อนๆลองไปหยอด bullet ใส่ในช่องต่างๆ ลองเล่นดูนะครับ จะได้ตอบได้ว่าสินค้าเราต่างแล้วหรือไม่ ส่วนหลังจากนั้นถ้าเพื่อนๆพี่ๆน้องจะสร้างความแตกต่างในแง่ของบรรจุภัณฑ์ต่อไป ให้ไปอ่านบทความ แตกต่างศาสตร์ได้ครับ

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

Advertisement

Filed under: Idea Packaging, Other, Packaging Strategy, ข้าวระดับโลก, ข้าวศรีแสงดาว, ข้าวเวทีโลก, ข้าวไทยระดับโลก, บรรจุภัณฑ์, บรรจุภัณฑ์ระดับโลก, บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก, บรรจุภัณฑ์วัสดุธรรมชาติ, บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม, บรรจุภัณฑ์โลก, สมชนะ กังวารจิตต์, สินสมุทร, ออกแบบบรรจุภัณฑ์, BCG, BCG คืออะไร, Bio Circular Green Economy, Cool Packaging, Green Packaging, Idea Packaging, Packaging, Packaging Design, Packaging Strategy, Prompt Design, Somchana Kangwarnjit, Srisangdao Rice, Sustainable Packaging, Thai Sustainable Packaging, World Thai Rice

มีนาคม 25, 2021 • 2:04 pm 0

รายการ PERSPECTIVE ชวนคุยไอเดียมันส์ๆ กับ คุณ สมชนะ กังวารจิตต์ นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ระดับโลก

ตัวเต็มรายการ PERSPECTIVE พบกับมุมมองของ สมชนะ กังวารจิตต์ จาก Prompt Design นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่ได้รับรางวัลระดับโลกหลายครั้งติดต่อกัน 3 ปี มาร่วมศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกลยุทธ์ที่เขาใช้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค นอกจากนี้เขายังแบ่งปัน 7 เทรนด์ของบรรจุภัณฑ์ในปี 2020 ติดตาม เปอร์และแชมป์ ได้เลยครับ

This week on PERSPECTIVE, meet Somchana Kangwarnjit, Prompt Design a packaging designer who had won multiple world-class awards for 3 years in a row. Delve into the details on the strategy he uses that meets the needs of the consumers. He also shares with us the 7 most popular product trends of 2020. Follow Per and Champ to survey the market to keep yourself updated.

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

Filed under: ไม่มีหมวดหมู่, กลยุทธ์การตลาด, กลยุทธ์บรรจุภัณฑ์, คนไทยระดับโลก, คนไทยในเวทีโลก, คนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก, นักออกแบบชื่อดัง, นักออกแบบที่มีชื่อเสียง, นักออกแบบบรรจุภัณฑ์, นักออกแบบมือหนึ่งของไทย, นักออกแบบระดับโลก, นักออกแบบรางวัล, บรรจุภัณฑ์, บรรจุภัณฑ์ชนะเลิศ, บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก, บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม, บรรจุภัณฑ์ไทย, พร้อมดีไซน์, รางวัลที่หนึ่งของโลก, รางวัลบรรจุภัณฑ์, รางวัลระดับโลก, รายการ perspective, รายการเปอร์สเปกทิฟ, สมชนะ, สมชนะ กังวารจิตต์, สร้างแบรนด์, ออกแบบกราฟิก, ออกแบบบรรจุภัณฑ์, ออกแบบระดับโลก, ออกแบบแบรนด์, เทรนด์บรรจุภัณฑ์, แชมป์ สมชนะ, Package Design, Packaging Design, Packaging Designer, Packaging Trend, Perspective, Prompt Design, Somchana, Somchana Kangwarnjit, Thailand Packaging

สิงหาคม 4, 2014 • 7:30 pm 0

Eco-Packaging (บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม)

มีงานๆหนึ่งที่ชื่องานว่า Green Solution ซึ่งมีการบรรยายในหัวข้อ Eco Packaging ซึ่งว่าไปแล้วเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวและทุกๆควรต้องตระหนัก มันเรียกง่ายๆว่า บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมนั่นเอง บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมคืออะไร มันตรงตัวอยู่แล้วครับ คือบรรจุภัณฑ์ที่คำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

ทำไมต้องเพื่อสิ่งแวดล้อม….???

 

คืองี้ครับ ในอดีตตัวบรรจุภัณฑ์เองนั้นหน้าที่พิ้นฐานคือปกป้องสินค้า แต่พอเวลาผ่านไปบรรจุภัณฑ์เป็นที่นิยมมากขึ้น ทำให้แทนที่จะช่วยปกป้องสินค้าแต่กลับเป็นมลภาวะต่อโลกเองซะงั้น ผลการวิจัยพบว่า ขยะที่เกิดจากบรรจุภัณฑ์นั้นมีมากมายขนาดว่า ภูเขากองขยะพลาสติกที่ลอยอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิคเหนือนั้น มีขนาดใหญ่กว่าประเทศสหรัฐอเมริกาถึง 2 เท่า แม่เจ้า…มันเยอะจริงๆ นะครับขอบอก และยิ่งไปกว่านั้นในแต่ละวัน วัวนับร้อย หรือสัตว์นับร้อยในอินเดียล้มตาย เพราะกินถุงพลาสติกที่ถูกทิ้ง อีกทั้งทั่วทั้งโลกทุกๆ 1 นาที มีการใช้ถุงพลาสติกไม่ต่ำกว่า 1,000,000 ใบ และหากนำถุงพลาสติกที่คนไทยใช้ในหนึ่งปีมาเรียงต่อกัน จะเท่ากับระยะทางจากโลกไปกลับดวงจันทร์ถึง 7 รอบ นี่คือโลกของเราหรือเนี่ย มันเต็มไปด้วยขยะมากมายจริงๆ

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

แต่เดี๋ยว ท่านต้องเข้าใจก่อนว่า สำหรับเมืองไทย โดยมากการทำอะไรเพื่อโลกนั้นจะต้องมีราคาแพงกว่าปกติเสมอๆ เช่น กล่องโฟม อาจจะใบละ 3บาท ใช้ไบโอชานอ้อยอาจจะอยู่ที่ 5-8 บาท เป็นต้น ฉะนั้นน้อยคนที่จะใช้ได้ แต่ไม่เป็นไร ผมจะประมวลหัวข้อสำคัญๆเพื่อให้ท่านตระหนักว่าในตัวบรรจุภัณฑ์ของท่านั้น ท่านจะช่วยโลกได้อย่างไรบ้าง

1. Materials ง่ายที่สุดคือการเปลี่ยนวัสดุ ตัวอย่างเช่น บริษัทยักษ์ใหญ่อย่าง Coca-Cola ในต่างประเทศนั้นทยอยปรับใช้นวัตกรรมใหม่อย่าง PlantBottle ซึ่งก็คือ ขวดพลาสติก PET (polyethylene terephthalate) บรรจุเครื่องดื่มชนิดแรกที่สามารถรีไซเคิลได้อย่างสมบูรณ์ เพราะขวด PlantBottle มีองค์ประกอบบางส่วนที่ได้จากพืช 30% ซึ่งตรงนี้ทาง Coca-Cola ได้ทอลองใช้ขวด PlantBottle ไปกว่า 14,000 ล้านขวดใน 24 ประเทศ เทียบเท่ากับลดปริมาณการใช้น้ำมันถึง 300,000 บาเรล ในอนาคตเป้าหมายขวด PlantBottle จะแทนขวดพลาสติกทั้งหมดภายในปี 2563

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

 

มีอีกนวัตกรรมนึงของศาสตราจารย์ David Edwards ซึ่งคิดค้น “WikiCell” ขึ้นมาโดยได้แรงบันดาลใจจากเซลล์ธรรมชาติในผลไม้อย่างองุ่น ส้ม หรือมะพร้าว ที่มีเปลือกนอกห่อหุ้มเนื้อและของเหลวภายในมาเป็นต้นแบบในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ใหม่ที่ว่านี้ หากลองนึกถึงผลส้ม จะเห็นว่าเปลือกส้มนั้นทำหน้าที่เป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีความคงทนและย่อยสลายได้ในตัวเอง ทำให้เราไม่จำเป็นต้องบรรจุใส่ในกล่องหรือถุงต่างหาก นอกจากนั้นเปลือกของมันยังสามารถรับประทานได้อีกด้วย นวัตกรรมนี้ถูกจัดให้เป็น 32 นวัตกรรมเปลี่ยนโลกของนิตยสาร The New York Times เลยทีเดียว แต่สุดท้ายก็ต้องมีการพัฒนาอีกมาก

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

2. Transport ก็เป็นวิธีหนึ่งที่หันหลังกลับไปมอง Logistic ของตนเองว่าในมุมบรรจุภัณฑ์จะช่วยปรับปรุงอะไรได้บ้าง เช่น บรรจุภัณฑ์ของสีทาบ้าน Dutch Boy จากเดิมที่เป็นกระป๋องเหล็กทรงกลม ก็ถูกปรับให้เป็นกระป๋องพลาสติกทรงเหลี่ยม ซึ่งข้อดีคือ ลดพื้นที่ว่าง ประหยัดพื้นที่ และเพิ่มพื้นที่รับแรงเมื่อกระป๋องเรียงต่อกันใน Pallet อีกตัวอย่างหนึ่งคือ ถุง Puma ที่จากกล่องเปลี่ยนมาเป็นผ้า ทำให้ลดพื้นที่ในการขนส่งได้

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

3. Use การใช้งาน ซึ่งไอเดียของมันคือสามารถนำมาใช้งานในอีกได้ เช่น ถุง Shopping Bag ของแบรนด์กางเกงยีนส์ Lee ซึ่งสามารถนำมาตัดต่อ ประยุกต์เป็นของอื่นๆได้, งานไอเดีย Re-Pack ซึ่งเป็นกล่องทั่วๆไป ที่มีไอเดียในการใช้ด้านในกล่องซ้ำอีกรอบหนึ่งก็ได้, หรืออาจะเป็นกล่อง eBay ที่ผลิตมาพิเศษ 100,000 ใบ โดยจัดการแจกคนที่ใช้การซื้อขายออนไลน์ แต่ที่เป็นไอเดียสำคัญคือ เขาออกแบบให้มีพื้นที่เขียนถึงคนข้างใน 6 ช่อง เพื่อที่ว่าพอคนส่งพัสดุเรียบร้อยแล้ว คนรับต่อก็สามารถไปใช้ Pack ของต่อๆกันได้ทำให้เกิดการประหยัดทรัพยากร

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

4. Disposal การจัดการขยะ หมายถึงอะไร ก็หมายถึงว่า ต้องมีการบ่งบอกถึงก็จัดการขยะ เช่น การแยกขยะตามวัสดุที่ใช้ทำตัวมันมาด้วยสี ด้วยภาพ เช่นทำสีถังขยะ

5. Manufacture ก็คือไปศึกษาถึงโรงงานผิดว่าเราจะพัฒนาอย่างไรบ้างในเชิงบรรจุภัณฑ์

6. Communication ก็คือ การสื่อสาร แล้วมันเกี่ยวอะไร มันเกี่ยวตรงที่ เราต้องสื่อสารความดีที่เราได้ช่วยโลกออกไปให้คนตระหนักมากขึ้น ตัวอย่างเช่น Smoke Tissue มันทำหน้าที่ประชาสัมพันธ์ให้คนตระหนัก ถึงมลภาวะ โดยทำเป็นโรงงานก่อสร้างที่ปล่อยมลพิษควันออกมาโดยสอดคล้องกับทิชชู่ แล้วครูจะมาอีกนะ มันก็สื่อโฆษณานี่เอง แต่เราต้องถ่ายทอดให้ถูกจุด

แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง
แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

นี่เป็นหัวข้อเบื้องต้นในการเตือนถึงการสร้างบรรจุภัณฑ์แบบช่วยกันดูแลโลกให้เท่าที่ท่านจะสามารถทำได้ ช่วยได้ ท่านลองพิจารณาดูได้ครับว่าสมควรหรือไม่ แต่บางทีท่านอาจจะเอาจุดรักษ์โลกเป็นจุดขายแบบ น้ำดื่มน้ำทิพย์ ก็เป็นไปได้ ทั้งหมดนี้ท่านทดลองไปประยุกต์นะครับ

เครดิต : SMEs Plus

Some content on this page was disabled on May 12, 2020 as a result of a DMCA takedown notice from Omar Havana. You can learn more about the DMCA here:

https://en.support.wordpress.com/copyright-and-the-dmca/

Filed under: Idea Packaging, Other, Packaging Tips, ขยะ บรรจุภัณฑ์, ข้อมูลบรรจุภัณฑ์, บรรจุภัณฑ์, บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก, บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม, ออกแบบบรรจุภัณฑ์, Eco Packaging, Green Design, Green Packaging, Green Solution, PlantBottle, WikiCell

กลยุทธ์การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมคืออะไร

กลยุทธ์ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม 1. ออกแบบ! 2. ออกแบบให้บรรจุภัณฑ์มีน้ำหนักเบา / ใช้วัสดุน้อย 3. ออกแบบเพื่อให้สามารถน่ากลับมาใช้ซ้ำ 4 ออกแบบเพื่อให้น่ากลับมาผลิตใหม่ เพื่อลดส่วนประกอบที่เกินความจําเป็นในการบรรจุภัณฑ์.....................

การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อมมีอะไรบ้าง

ตัวอย่าง.
ประวัติ.
การออกแบบและอาคารประหยัดพลังงาน.
การใช้พลังงาน (ในอาคารพาณิชย์ อาคารพักอาศัย และทางสังคม).
นิเวศวิทยาเมือง.
การวางผังการใช้ที่ดินและการวางผังชุมชน.
การป้องกันอาชญากรรม.
นวัตกรรมการบำบัดของเสีย.

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง

1.หากลุ่มเป้าหมาย และภาพลักษณ์ของแบรนด์.
2.เลือกจากลักษณะของสินค้า.
3.ดูลักษณะการนำไปใช้งาน.
4.เลือกวัสดุที่จะนำมาใช้สำหรับภาชนะบรรจุ.
5.ดูความคงทนของบรรจุภัณฑ์.
6.การเก็บรักษาสินค้า.
7.ราคาของบรรจุภัณฑ์.