มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตมีอะไรบ้าง

หน้าแรกใบงาน ป.5ใบงานที่ 5.1 มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต

โดยอาชานัย จิตรดี -มีนาคม 04, 2565

0

ใบงานวิทยาการคำนวณ ป.5, an interactive worksheet by kanitthamas
liveworksheets.com

มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตมีอะไรบ้าง


Tags: ใบงาน ป.5

  • Facebook
  • Twitter

คุณอาจชอบโพสต์เหล่านี้

 �)  ��á�Һ  ���ͷ�����¡���  ����ҷ  ���  �����ͺŧ�Ѻ��鹾�����Ѻ��о���������ͻ�й����  �ѹ�繡����ҡ���ʴ�������þ��͹�������������ҧ�٧�ش  ��á�Һ����ѵ��������Ըա�á�Һ�����������ͧ��  �  ����  ອ�ҧ���д�ɰ�  �ѹ��Сͺ����  ���  �  ���  �  ˹�Ҽҡ  �  �ô���  ����Ѻ����¹�����觤ء���   ���˭ԧ��觻�����Ҩô���  ��觷Ѻ�����

มารยาทการใช้อินเตอร์เน็ต

                                                                                                   มารยาทการใช้อินเตอร์เน็ต  

                                                                                            

มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตมีอะไรบ้าง

            จากปัญหาการล่อลวงที่เกิดจากการเล่นอินเทอร์เน็ตที่นับวันยิ่งมีมากขึ้น ทำให้หน่วยงานที่รับผิดชอบได้พยายามหามาตรการป้องกันปัญหาและภัยจากการใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งเกิดจากคนที่ขาดจิตสำนึกที่ดีของสังคม ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะสร้างจิตสำนึกที่ดีต่อตนเองและสังคมเพื่อหลีกเลี่ยงและรับมือจากความเสี่ยงจากภัยออนไลน์ ทั้งนี้รองศาสตราจารย์ยืน ภู่วรวรรณ ได้กล่าวถึง บัญญัติ 10 ประการซึ่งเป็นจรรยาบรรณที่ผู้ใช้ควรยึดถือไว้เป็นแม่บทของการปฏิบัติ ดังนี้

มารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ต เรียกว่าบัญญัติ 10 ประการของการใช้อินเทอร์เน็ตก็คือ

1.  ไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น

2. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น

3. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร

4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ

5. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์

6 . ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์

7. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน

8.  ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมที่เกิดจากการกระทำของท่าน

10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท

              อินเทอร์เน็ตถือได้ว่าเป็นบริการสาธารณะและมีผู้ใช้จำนวนมาก เพื่อให้การใช้งานเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ผู้ที่เข้ามาใช้ควรมีกฏกติกาที่ปฏิบัติร่วมกัน เพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการใช้งานที่ผิดวิธี ในทีนี้ขอแยกเป็น 2 ประเด็น คือ1. มารยาทของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ในฐานะบุคคลที่ทำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ ลงบนอินเทอร์เน็ตประกอบด้วย

มารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ต

1.ไม่กล่าวหาผู้อื่นในทางที่เสียหาย

2.ไม่เอางานของผู้อื่นมาเป็นของตน

3.ไม่เผยแพร่รูปของผู้อื่นที่ลามก

4.ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้าขายของที่ผิดกฎหมาย

5.ไม่เอาหลักฐานหรือข้อความเท็จมาเผยแพร่

6.ต้องคำนึงถึงสิ่งที่เกิดขึ้นตนและสังคมจากการกระทำของตนเอง

7.ไม่ละลเมิิดสิทธิของผู้อื่น

8.ต้องใช้อินเทอร์เน็ตไปในทางที่ดี

9.ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตหลอกลวงผู้อื่น

10.ไม่ใช่อินเทอร์เน็ต แฮกข้อมูลของผู้อื่น

11.ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู่อื่น

12.ไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์

13.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ

14.ไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยตนเองไม่มีสิทธิ์

15.ใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบกติกาและมีมารยาท

คุณธรรมจริยธรรมที่ควรมีในการใช้อินเทอร์เน็ต

3.ไม่เอาข้อมูลของคนอื่นมาเป็นของตนเอง

4.ทำให้มีการค้าขายกันในอินเทอร์เน็ต

5.ไม่ควรทะเลาะสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล

6.มีการทะเลาะวิวาทในการใช้อินเทอร์เน็ต

9.ไม่ส่งไวรัสไปทำลายข้อมูลของผู้อื่น

10.ไม่ติดอุปกรณ์การสื่อสารมากเกินไป
11.ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง

12.ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น

13.ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย

14.คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน

15.ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพ

อินเทอร์เน็ตถือได้ว่าเป็นบริการสาธารณะและมีผู้ใช้จำนวนมาก เพื่อให้การใช้งานเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ผู้ที่เข้ามาใช้ควรมีกฏกติกาที่ปฏิบัติร่วมกัน เพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการใช้งานที่ผิดวิธี ในทีนี้ขอแยกเป็น 2 ประเด็น คือ

1. มารยาทของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ในฐานะบุคคลที่เข้าไปใช้บริการต่างๆ ที่มีอยู่ในอินเทอร์เน็ต แบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ

ด้านการติดต่อสื่อสารกับเครือข่าย ประกอบด้วย

  • ในการเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายควรใช้ชื่อบัญชี (Internet Account Name) และรหัสผ่าน (Password) ของตนเอง ไม่ควรนำของผู้อื่นมาใช้ รวมทั้งนำไปกรอกแบบฟอร์มต่างๆ
  • ควรเก็บรักษารหัสผ่านของตนเองเป็นความลับ และทำการเปลี่ยนรหัสผ่านเป็นระยะๆ รวมทั้งไม่ควรแอบดูหรือถอดรหัสผ่านของผู้อื่น
  • ควรวางแผนการใช้งานล่วงหน้าก่อนการเชื่อมต่อกับเครือข่ายเพื่อเป็นการประหยัดเวลา
  • เลือกถ่ายโอนเฉพาะข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ เท่าที่จำเป็นต่อการใช้งานจริง
  • ก่อนเข้าใช้บริการต่างๆ ควรศึกษากฏ ระเบียบ ข้อกำหนด รวมทั้งธรรมเนียมปฏิบัติของแต่ละเครือข่ายที่ต้องการติอต่อ
ด้านการใช้ข้อมูลบนเครือข่าย ประกอบด้วย
  • เลือกใช้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ มีแหล่งที่มาของผู้เผยแพร่ และที่ติดต่อ
  • เมื่อนำข้อมูลจากเครือข่ายมาใช้ ควรอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น และไม่ควรแอบอ้างผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
  • ไม่ควรนำข้อมูลที่เป็นเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาต
ด้านการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้ ประกอบด้วย
  • ใช้ภาษาที่สุภาพในการติดต่อสื่อสาร และใช้คำให้ถูกความหมาย เขียนถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
  • ใช้ข้อความที่สั้น กะทัดรัดเข้าใจง่าย
  • ไม่ควรนำความลับ หรือเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นมาเป็นหัวข้อในการสนทนา รวมทั้งไม่ใส่ร้ายหรือทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
  • หลีกเลี่ยงการใช้ภาษาที่ดูถูก เหยียดหยามศาสนา วัฒนธรรมและความเชื่อของผู้อื่น
  • ในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นควรสอบถามความสมัครใจของผู้ที่ติดต่อด้วย ก่อนที่จะส่งแฟ้มข้อมูล หรือโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่ไปยังผู้ที่เราติดต่อด้วย
  • ไม่ควรส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ที่ก่อความรำคาญ และความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น เช่น จดหมายลูกโซ่
ด้านระยะเวลาในการใช้บริการ ประกอบด้วย
  • ควรคำนึงถึงระยะเวลาในการติดต่อกับเครือข่าย เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ใช้คนอื่นๆ บ้าง
  • ควรติดต่อกับเครือข่ายเฉพาะช่วงเวลาที่ต้องการใช้งานจริงเท่านั้น
2. มารยาทของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ในฐานะบุคคลที่ทำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ ลงบนอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วย
  • ควรตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และข่าวสารต่างๆ ก่อนนำไปเผยแพร่บนเครือข่าย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริง
  • ควรใช้ภาษาที่สุภาพ และเป็นทางการในการเผยแพร่สิ่งต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต และควรเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
  • ควรเผยแพร่ข้อมูล และข่าวสารที่เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ ไม่ควรนำเสนอข้อมูลข่าวสารที่ขัดต่อศีลธรรมและจริยธรรมอันดี รวมทั้งข้อมูลที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น
  • ควรบีบอัดภาพหรือข้อมูลขนาดใหญ่ก่อนนำไปเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต เพื่อประหยัดเวลาในการดึงข้อมูลของผู้ใช้
  • ควรระบุแหล่งที่มา วันเดือนปีที่ทำการเผยแพร่ข้อมูล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ของผู้เผยแพร่ รวมทั้งควรมีคำแนะนำ และคำอธิบายการใช้ข้อมูลที่ชัดเจน
  • ควรระบุข้อมูล ข่าวสารที่เผยแพร่ให้ชัดเจนว่าเป็นโฆษณา ข่าวลือ ความจริง หรือความคิดเห็น
  • ไม่ควรเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร รวมทั้งโปรแกรมของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาตจากเจ้าของ และที่สำคัญคือไม่ควรแก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลของผู้อื่นที่เผยแพร่บนเครือข่าย
  • ไม่ควรเผยแพร่โปรแกรมที่นำความเสียหาย เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบเครือข่าย และควรตรวจสอบแฟ้มข้อมูล ข่าวสาร หรือโปรแกรมว่าปลอดไวรัส ก่อนเผยแพร่เข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต

มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตคืออะไร

1. ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการทำร้ายหรือรบกวนผู้อื่น 2. ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการทำผิดกฎหมายหรือผิดศีลธรรม 3. ไม่เจาะระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของตนเองและผู้อื่น 4. ไม่ใช้บัญชีอินเทอร์เน็ตของผู้อื่นและไม่ใช้เครือข่ายที่ไม่ได้รับอนุญาต

มารยาทในการสื่อสาร มีอะไรบ้าง

๑. เรื่องที่พูดควรเป็นเรื่องที่ทั้ง ๒ ฝ่าย มีความสนใจและพอใจร่วมกัน ๒. ไม่พูดเรื่องของตนเองมากจนเกินไป ควรฟังในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่ง พูดไม่สอดแทรกเมื่อเขาพูดยังไม่จบ ๓. พูดตรงประเด็น อาจออกนอกเรื่องบ้างพอผ่อนคลายอารมณ์ ๔. เคารพความคิดเห็นผู้อื่น ไม่บังคับให้ผู้อื่นเชื่อหรือคิดเหมือนตน ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก ...

มารยาทในการแสดงความคิดเห็นบนอินเทอร์เน็ตมีอะไรบ้าง

เคารพความเห็นที่แตกต่าง ไม่ใช้ภาษาที่ก่อให้ เกิดการแตกแยกหรือเสียดสี หลีกเลี่ยงสงคราม แห่งการโต้แย้งที่ไม่รู้จบ เน้นการอภิปรายอย่าง มีเหตุผล ให้อภัยในความผิดของผู้อื่น หาก ต้องการแจ้งผู้ที่ท าผิดมารยาททางอินเทอร์เน็ต ควรบอกอย่างสุภาพและเป็นส่วนตัว 5 หลีกเลี่ยงการโต้ตอบ โดยใช้อารมณ์บนโลกไซเบอร์

ผู้ที่สนทนาบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตควรมีมารยาทอย่างไรบ้าง

·ใช้ภาษาที่สุภาพในการติดต่อสื่อสาร และใช้คำให้ถูกความหมาย เขียนถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ·ใช้ข้อความที่สั้น กะทัดรัดเข้าใจง่าย · ไม่ควรนำความลับ หรือเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นมาเป็นหัวข้อในการสนทนา รวมทั้งไม่ใส่ร้ายหรือทำให้บุคคลอื่นเสียหาย