รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูลแตกต่างกันอย่างไร

การส่งสัญญาณข้อมูล

การส่งสัญญาณข้อมูล หมายถึง การส่งข้อมูลจากเครื่องส่งหรือผู้ส่ง ผ่านสื่อกลางไปยังเครื่องรับส่งหรือผู้รับ
สัญญาณที่ใช้ส่งได้แก่ สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สัญญาณเสียง หรือแสงก็ได้
3.1 รูปแบบของการส่งสัญญาณข้อมูล
1. แบบทิศทางเดียวหรือ ซิมเพล็กซ์ ( One – Way หรือ Simplex )
เป็นการส่งข้อมูลในทิศทางเดียว คือ ข้อมูลถูกส่งไปในทางเดียว เช่น สถานีวิทยุกระจายเสียง การแพร่ภาพทางโทรทัศน์

2. แบบกึ่งทิศทางคู่หรือครึ่งดูเพล็กซ์ ( Haft – Doplex )
เป็นการสงข้อมูลแบบสลับการส่งและการรับไปมา จะทำในเวลาเดียวกันไม่ได้
เช่น การใช้วิทยุสื่อสาร คือ จะต้องสลับกันพูด เพราะจะต้องกดปุ่มก่อนแล้วจึงจะสามารถพูดได้

3. แบบทางคู่หรือดูเพล็กเต็ม (Full – Duplex )
เป็นการส่งข้อมูลแบบที่สามารถส่ง และรับข้อมูลได้พร้อมกันในเวลาเดียวกัน
ซึ่งวิธีนี้ทำให้การทำงานเร็วขึ้นมาก เช่น การพูดโทรศัพท์

ลักษณะของวิธีการสื่อสาร

1. แบบมีสาย เช่น สายโทรศัพท์ เคเบิลใยแก้วนำแสง เป็นต้น
สื่อที่จัดอยู่ในการสื่อสารแบบมีสายที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่

– สายทองแดงแบบไม่หุ้มฉนวน (Unshield Twisted Pair )
มีราคาถูกและนิยมใช้กันมากที่สุด ส่วนใหญ่มักใช้กับระบบโทรศัพท์
แต่สายแบบนี้มักจะถูกรบกวนได้ง่าย และไม่ค่อยทนทาน

– สายทองแดงแบบหุ้มฉนวน (Shield Twisted Pair )
มีลักษณะเป็นสองเส้น มีแนวแล้วบิดเป็นเกลียวเข้าด้วยกันเพื่อลดเสียงรบกวน
มีฉนวนหุ้มรอบนอก มีราคาถูก ติดตั้งง่าย น้ำหนักเบา และการรบกวนทางไฟฟ้าต่ำ
สายโทรศัพท์จัดเป็นสายคู่บิดเกลียวแบบหุ้มฉนวน

– สาย Coaxial
สายแบบนี้จะประกอบด้วยตัวนำที่ใช้ในการส่งข้อมูลเส้นหนึ่งอยู่ตรงกลางอีกเส้นหนึ่งเป็นสายดิน
ระหว่างตัวนำสองเส้นนี้จะมีฉนวนพลาสติกกั้นสายโคแอคเซียลแบบหนา
จะส่งข้อมูลได้ไกลกว่าแบบบางแต่มีราคาแพงและติดตั้งยากกว่า

– ใยแก้วยำแสง
ทำจากแก้วหรือพลาสติกมีลักษณะเป็นเส้นบาง คล้าย ๆ เส้นใยแก้วจะทำตัวเป็นสื่อในการส่งแสงเลเซอร์
ที่มีความเร็วในการส่งสัญญาณเท่ากับความเร็วของแสง
ข้อดีของใบแก้วนำแสง คือ
1. ป้องกันการรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้าได้มาก
2. ส่งข้อมูลได้ระยะไกลโดยไม่ต้องมีตัวขยายสัญญาณ
3. การดักสัญญาณทำได้ยาก ข้อมูลจึงมีความปลอดภัยมากกว่าสายส่งแบบอื่น
4. ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงและสามารถส่งได้มาก ขนาดของสายเล็กและน้ำหนักเบา

2. แบบไม่มีสาย เช่น ไมโครเวฟ และดาวเทียม
– ไมโครเวฟ (Microwave)
สัญญาณไมโครเวฟเป็นคลื่นวิทยุเดินทางเป็นเส้นตรง อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับ – ส่ง คือ จานสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งมักจะต้องติดตั้งในที่สูงและมักจะให้อยู่ห่างกันประมาณ 25 – 30 ไมล์ ข้อดีของการส่งสัญญาณด้วยระบบไมโครเวฟ ก็คือ สามารถส่งสัญญาณด้วยความถี่กว้าง และการรบกวนจากภายนอกจะน้อยมากจนแทบไม่มีเลย แต่ถ้าระหว่างจานสัญญาณไมโครเวฟมีสิ่งกีดขวางก็จะทำให้การส่งสัญญาณไม่ดีหรืออาจส่งสัญญาณไม่ได้ การส่งสัญญาณโดยใช้ระบบไมโครวฟนี้จะใช้กรณีที่ไม่สามารถจะติดตั้งสายเคเบิลได้ เช่น อยู่ในเขตป่า
– ดาวเทียม (Satellite)
มีลักษณะการส่งสัญญาณคล้ายไมโครเวฟ แต่ต่างกันตรงที่ ดาวเทียมจะมีสถานีรับ – ส่งสัญญาณลอยอยู่ในอวกาศ จึงไม่มีปัญหาเรื่องส่วนโค้งของผิวโลกเหมือนไมโครเวฟ ดาวเทียมจะทำหน้าที่ขยายและทบทวนสัญญาณให้แรงเพิ่มขึ้นก่อนส่งกลับมายังพื้นโลก ข้อดีของการสื่อสารผ่านดาวเทียม คือ ส่งข้อมูลได้มากและมีความผิดพลาดน้อย ส่วนข้อเสีย คือ อาจจะมีความล่าช้าเพราะระยะทาง
ระหว่างโลกกับดาวเทียม หรือ ถ้าสภาพอากาศไม่ดีก็อาจจะก่อให้เกิดความผิดพลาดได้

Advertisement

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

ใน โหมดการส่งข้อมูลแบบซิมเพล็ก ซ์การสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับจะเกิดขึ้นในทิศทางเดียวเท่านั้น นั่นหมายความว่ามีเพียงผู้ส่งเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลและผู้รับสามารถรับข้อมูลได้เท่านั้น ผู้รับไม่สามารถตอบกลับย้อนกลับไปยังผู้ส่ง ซิมเพล็กซ์เป็นเหมือนถนนเดินรถทางเดียวที่การจราจรสัญจรไปในทิศทางเดียวไม่อนุญาตให้มียานพาหนะจากทิศทางตรงกันข้ามเข้ามา ผู้ส่งใช้ความจุของแชนเนลทั้งหมดเท่านั้น

รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูลแตกต่างกันอย่างไร
คุณสามารถเข้าใจโหมดการส่งสัญญาณ simplex ได้ดีขึ้นด้วยตัวอย่างของแป้นพิมพ์และจอภาพ แป้นพิมพ์สามารถส่งอินพุตไปยังจอภาพได้เท่านั้นและจอภาพสามารถรับอินพุตและแสดงผลบนหน้าจอเท่านั้น จอภาพไม่สามารถส่งข้อมูลใด ๆ กลับไปที่แป้นพิมพ์

คำจำกัดความของ Half Duplex

ใน โหมดการส่งข้อมูลฮาล์ฟดูเพล็กซ์ การสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับเกิดขึ้นในทั้งสองทิศทาง แต่ทีละครั้ง ทั้งผู้ส่งและผู้รับสามารถส่งและรับข้อมูลได้ แต่อนุญาตให้ส่งได้ครั้งละหนึ่งรายการเท่านั้น ฮาล์ฟดูเพล็กซ์ยังคงเป็นถนนเดินรถทางเดียวซึ่งยานพาหนะที่เดินทางไปในทิศทางตรงกันข้ามกับการจราจรต้องรอจนกระทั่งถนนว่างเปล่า ความจุช่องสัญญาณทั้งหมดถูกใช้โดยตัวส่งสัญญาณซึ่งจะส่งสัญญาณในเวลานั้น

รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูลแตกต่างกันอย่างไร
ครึ่งเพล็กซ์สามารถเข้าใจได้ด้วยตัวอย่างของเครื่องส่งรับวิทยุ ในฐานะที่เป็นลำโพงที่ปลายทั้งสองของเครื่องส่งรับวิทยุสามารถพูดได้ แต่พวกเขาต้องพูดทีละคน ทั้งคู่ไม่สามารถพูดพร้อมกันได้

ความหมายของ Full Duplex

ใน โหมดการส่งเพล็กซ์เต็มรูปแบบ การสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับสามารถเกิดขึ้นพร้อมกัน ผู้ส่งและผู้รับสามารถส่งและรับพร้อมกันในเวลาเดียวกัน โหมดการส่งข้อมูลแบบดูเพล็กซ์เต็มรูปแบบเหมือนถนนสองทางที่การจราจรสามารถไหลได้ทั้งสองทิศทางในเวลาเดียวกัน ความจุทั้งหมดของช่องสัญญาณจะถูกแชร์โดยสัญญาณที่ส่งไปในทิศทางตรงกันข้าม การแบ่งปันความจุของช่องสามารถทำได้สองวิธีที่แตกต่างกัน ก่อนอื่นให้คุณแยกลิงก์ออกเป็นสองส่วนเพื่อทำการส่งและอื่น ๆ เพื่อรับ ประการที่สองหรือคุณปล่อยให้ความจุของแชนเนลที่จะแบ่งปันโดยสัญญาณทั้งสองเดินทางไปในทิศทางตรงกันข้าม

รูปแบบของการส่งสัญญาณข้อมูลมีอะไรบ้าง

การส่งสัญญาณข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ ➢การส่งแบบขนาน (Parallel Transmission) ➢การส่งแบบอนุกรม (Serial Transmission) Data Transmission Parallel Transmission Serial Transmission. asynchronous synchronous. ➢ การส่งแบบขนาน (Parallel Transmission)

รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูลมีความแตกต่างกันอย่างไร

รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล 1. แบบทิศทางเดียว Simplex. เป็นการส่งข้อมูลในทิศทางเดียว คือการส่งข้อมูลไปในทางเดียว เช่นการกระจายเสียงวิทยุ การแพร่ภาพทางโทรทัศน์ 2. แบบกึ่งทางคู่หรือครึ่งดูเพล็กซ์ (Half-Duplex) เป็นการส่งข้อมูลแบบสลับการส่งและรับข้อมูลไปมา จะทำในเวลาเดียวกันไม่ได้ เช่น การสื่อสารวิทยุ คือต้องพูดสลับกันพูด

รูปแบบในการรับส่งข้อมูล มี 3 ลักษณะ อะไรบ้าง

การส่งข้อมูลผ่านระบบคอมพิวเตอร์ เป็นการสื่อสารข้อมูลของผู้ส่งข้อมูลไปยังผู้รับข้อมูล โดยจะเเบ่งเป็น 3 อย่าง ได้เเก่ การส่งข้อมูลทิศทางเดียว การส่งข้อมูลแบบสองทางสลับกัน และการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน

สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์เป็นการส่งสัญญาณข้อมูลชนิดใด

สัญญาณอนาลอก (Analog Signal) หมายถึง สัญญาณข้อมูลแบบต่อเนื่อง (Continuous Data) มีขนาดของสัญญาณไม่คงที่ มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณแบบค่อยเป็นค่อยไป มีลักษณะเป็นเส้นโค้งต่อเนื่องกันไป โดยการส่งสัญญาณแบบอนาล็อกจะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ง่าย เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์ เป็นต้น