ทัศนธาตุพื้นฐานของงานทัศนศิลป์คือข้อใด

����Ѻ���ͧ��������������Դ �繾ĵԡ��������ҡ�����ѹ����������繵�ͧ���¹����ҡ�͹ �� ���������觢ͧ��������ҵ���Со�Ժ ����Ͷ١�ͧ��͹��ҨЪѡ���͡

����Ѻ���ҧ������

����������ö�ͧ�������ѧࡵ����Ǵ�����ҧ�����ҵԴ��µ� ����ͧ��ШԵ�������ͧ���㹡�õ�Ǩ�ͺ������繨ҡ�Ҿ����ҡ� ����Ѻ���ҧ�����繨֧�繡�кǹ��÷ҧ�����ҵԢͧ�ѡ����������л��ʺ��ó�ͧ�����������������¹͡ �������Դ����Ѻ����Ҿ����ҡ���ѡɳе�ҧ � �ѹ� �ѹ�շ�ɮբͧ������ (Visual theory) ����Ӥѭ 4 ��С�� ���

1. �������ٻ��о�� ��ͧ���Сͺ�á����������ͧ����Ҿ�ҡ�����ҵ��������Ǵ���� ���������ͧ����ѵ����Ҩ��Ѻ������� � �ѹ����ٻ��о�� �ѵ�����ٻ��к���dz�ͺ � �繾�� ��㹺ҧ�ó� �� ����������������� ��Ҩ�����Ҿ��� � �ѹ�����´������¢�� �������ö�ͺ����������¹������´�������¢�� ���������ͧ��´����ٻ��о�����բ�� ��ҡ������´� 㹷ҧ��Ѻ�ѹ�������������¢�����ٻ ��о�����մ���ҡ������¢�� �繵�

����Ѻ���ҧ�����繨��ջѭ�ҷ����������� �������Ѻ�����Ҩ��������������Ӥѭ����dz��ǹ� ������ͧ�ٻ��о�����ǹ�ͧ�Ҿ����͹��ԧ�ѡ������繻ѭ�� ��������ٻ�ͧ�����繨�ԧ�ѡ���ʴ������蹪Ѵ�ͧ����ͧ2. �������ʧ����� �繡���Ѻ��������ͧ����������ʧ���ҧ����dz����ѵ�ع�鹵������ ���������ʧ���ҧ�������չ��˹ѡ�ͧ�ѵ�� ���Ͷ�����ʧ���ҧ�������չ��˹ѡ�ͧ�ѵ�� ���Ͷ�����ʧ���ҧ��ҡѹ�Ҩ�����Դ��� ���Ͷ�����ʧ���ҧ��ҡѹ�Ҩ�����Դ��� �س��� (Value) �ͧ�ʧ��������Է�Ծŵ����)��ҧ�ͧ�ѵ�� ��Ҵ�ͧ�ѵ�ب�����¹�ŧ仵���س��Ңͧ�ʧ������ѵ������ʧ�վ�鹼�Ǣ�آ�� ����ʧ��ͧ������ç���Ҩ�з���价������Һ���º �� ����ʴ�����������§�������繾�鹼�ǹ���Ŵ٢�آ���ʧ������ռŵ�ͤ�������֡��С���Ѻ��� �Է�ԾŢͧ�ʧ������Ӥѭ����ͧ�֡�ҷ��㹴�ҹ��������ҡ�����ҵ���С�����ҧ��ä�ҹ��Ż� �� ʧ���º ������� ����� ����� ���

3. �����繵��˹�����Ѵ��ǹ

�繡���Ѻ��������ͧ����µ��˹觢ͧ������

����ѹ����˹觢ͧ�ѵ�� �������������ѵ�� ����ͧ�����Ѵ �����ǹ�����´�ҡ ���������š���ͧ������Ѵਹ ����ѵ�ط�����������բ�Ҵ�˭� �ѵ�ط�������Ũ��բ�Ҵ������Ѵ��ǹ�ѹ �ѭ������ͧ���˹�����Ѵ��ǹ�������Ǣ�ͧ�Ѻ��������� �����Ѵਹ��Ф�����������

4. �����繤�������͹��� �繡���Ѻ��������ͧ������Ф�������͹��Ǣͧ�ѵ�� �������е���������͹����ͧ ���������ö���㨶֧�������͹�������ҧ�Ǵ�������ͧ��� ��ȷҧ �ѧ��� �繵� ͧ���Сͺ��ǹ������ա�úѹ�֡���Ҿ���� �ٻ�ç ��Шѧ������Ңͧ�������͹��Ǣͧ�ѵ����Ѵਹ���

��ǹ��Сͺ�ͧ������

��ǹ��Сͺ�ͧ���������ͷ�ȹ�ҵ�����Ǣ�ͧ�Ѻ����Ѻ��� �ҧ�����繢ͧ�������������������� �ѧ��鹶����ҨѴ�ӴѺ��ǹ��Сͺ�ͧ�����繢ͧ������ ��������ҡ��ǹ����繾�鹰ҹ����ش���� 7 ��ǹ���

1. �ش (dot) �繷�ȹиҵ����ͧ�鹷���ش ������Ե� ���������㹷����ҧ�С�ͻ�ԡ����ҵ�ͷ����ҧ ����͹������§��͡ѹ�С�������� ��ҨѴ���������ѹ�С������ٻ��ҧ�����繹��˹ѡ���������ҵ����ٻ�ç �ҡ�ش˹�觶֧�ش˹������鹷���ͧ�����繴��µ� ����繴��¨Թ��ҡ��

��ҡ����� ���¡�������ç���ҧ

2. ��� (line) �����ͧ���Сͺ����Ӥѭ�ͧ�ç���ҧ�ҧ��Żз���ͧ����ʴ��͡���ҧ�դ������� �������������������֡�ҧ�Ե������ �������������¢ͧ��Ҵ ������� ����ѡ��зҧ����Ҿ�ͧ���

������Ե����Ǥ����鹷������������ ���ѡɳе�ҧ � ��� �ç �� ��ѡ �� ��� �շ�ȷҧ �բ�Ҵ�˭� ˹� �ҧ ��˹�ҷ���觷����ҧ�͡���ͧ��ǹ ���ҧ�ͺࢵ�ͧ�����ҧ���§�Դ�ѹ�����Һ3. ���˹ѡ (tone) �繤�Ңͧ������͹��ͧ�մ���������� � ���ͧ͢�ʧ����� ���˹ѡ���ͧ�ԵԤ�͡��ҧ�Ѻ��� �չ��˹ѡ�դ�������Ǣ�ͧ�Ѻ��ȹ�ҵ����ª�Դ �� ��ͧ��ҧ �ٻ�ç ���������������˹������ǡѹ ��������˹ѡŧ���Ҿ�С������Դ���ͧ�ԵԢ�� ����դ������ �������ҧ ��ȷҧ ����ٻ��ҧ������Ѻ����ͺ�͡����4. �� (Color) ���դس�ѡɳТͧ�ҵط�������������ú��ǹ ��� ��� ���˹ѡ ��� ����դس���ѵԾ����������� 2 ���ҧ ��� �������� (Hue) ��Ф����Ѵ�ͧ�� (Intensity) �ը��դ����������ѡɳ�੾�е�� ����������֡���㹴�ҹ���������仵���ѡɳТͧ������ �� ��ᴧ ����Ѻ��ǵ��ѹ�͡������觤����آ ����ó� �ѭ�ѡɳ�ͧ���Ե ����ʴ��֧�����Ե��Թ�������ԧ ��㹻���ȷҧ���ѹ�����»���� �� ���Ѱ����ԡ� ��Ѻ�դ�������֡���������������ѭ�ѡɳ�ͧ��ᴧ�㹷ҧ�ç�ѹ�����Ѻ�ҧ���ѹ�͡ ��� ���շ���ʴ��֧��������ʹ��¹�ҡ���

��ǹ��Сͺ�ͧ����������ǡѺ�� ����ö���͡���� 2 �ǡ ��� �շ����繵�������ҵ� �� �͡��� ����� �Թ ����շ��������Դ���ҧ��� �� �Ҿ�ɳ� ��ʹ��� �չ���ѹ ��� �շ�� 2 �ǡ����Ǣ�ͧ�Ѻ�ʧ���ҧ������

5. ��� (texture) ��� �ѡɳм�Ǣͧ��觵�ҧ � ����Һ �����´ ��ҹ �ѹ ��آ�� �Һ���º ����������� � ��� ��鹼������������֡�ҧ��������� ��о�鹼�Ƿ���Դ�ҡ��û�ا�� �� �������ѡ��鹼�Ǣͧ������Ǵ�������������������蹪Ѵ ෤�Ԥ������ҧ��鹼������ö��������Ẻ ��� 2 �Ե� ��� 3 �Ե� �Ҩ��¹���Ǵ��������ٻ��ҧ��ҧ � ��Сͺ�����¹�Ҿ ����ʧ��������´���繡���ʴ���鹼���������ǡѹ6. �ٻ��ҧ (Shape) ����ٻ�ç (form) �ٻ��ҧ����ٻ�ç���ٻ�����ҧ��Żз�����ͤ������¨ҡ��ŻԹ������� �·���令ӷ���ͧ����᷹�ѹ�������դ������������§�ѹ ��㹷ҧ��ȹ��Ż���դ���ᵡ��ҧ�ѹ�ѧ���6.1 �ٻ��ҧ ������ͷ��ͧ�ٻ��ҧ �� ��� �ʧ ����� �������ͷ��ͧͧ���Сͺ�ҧ��Żз������������ѹ �ٻ��ҧ�֧���Ҿ�ͧ�ԵԷ�����¶֧���ͷ��������鹢ͺࢵ �� �ҡ������ٻǧ��� ���ͷ������ǧ������ ��� �ٻ��ҧ ���ѡɳ� 2 �Ե� ���� 3 �Ե� �� �蹡���Ѻ�١��������ٻ��ҧ��ǧ�������͹�ѹ�����ٻ�ç��ҧ�ѹ �����ç���ҧ��ҧ�ѹ �ٻ��ҧ�ʴ����ͷ��ͧ��Ƿ�����йҺ�ҡ���Ҩ��繻���ҵ��������

6.2 �ٻ�ç ��� �ç���ҧ�ҧ�ٻ�ͧ�ҹ��Ż��������ٻ��������ٻ��¹͡ ���ç���ҧ������ٻ��鹴���˹�����§˹���������������˹��������ǡѹ���

�ٻ��ҧ����ٻ�ç�ҧ��ȹ��Ż��Ҩ���͡���� 3 ������ ��� �ٻ�ç�âҤ�Ե (Geometric form) �ٻ�ç�Թ������ٻ (organic form) �ٻ�ç����� (free form)

7. �����ҧ (space) ��� ���ͧ�ٻ�ç���Ѵ��駡ѹ���ҧ�ç�ѹ���� �պ��ҷ㹡�����ҧ���������ٻ�ç�����¡��ҷ�ȹ�ҵط������ ���ҹء���ͧ����Է������͡ǿ��� (Oxford University Dictionary) ���ӨӡѴ�����ͧ�����ҧ��� 3 ��С�� ���

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดไม่จัดเป็นทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์
1. พื้นผิว
2. พื้นที่ว่าง
3. ปริมาตร
4. น้ำหนักอ่อน-แก่
2. ภาพวาดที่แสดงให้เห็นการเจริญเติบโตก้าวหน้าควรเป็นภาพลักษณะใด
1. วาดด้วยเส้นตรงแนวเฉียง
2. วาดด้วยเส้นโค้งของวงกลม
3. วาดด้วยเส้นฟันปลาหรือเส้นซิกแซก
4. วาดด้วยเส้นโค้งอิสระทิ้งปลายขึ้นสูงและน้ำหนักเบา
3. ถ้านักเรียนต้องวาดภาพเหมือนบุคคลควรศึกษาในเรื่องใด
1. การวาดดวงตา ปาก จมูก
2. การวาดภาพหุ่นนิ่ง
3. การจัดวางองค์ประกอบ
4. กายวิภาคศาสตร์
4. “…ดวงตาเบิกกว้าง ลูกตาดำอยู่กลางดวงตาและใหญ่กว่าปกติ มีเส้นรอยย่นหนึ่งเส้นหรือมากกว่าที่ หน้าผาก อ้าปากกว้าง มุมปากด้านล่างตกลง…”
จากข้อดังกล่าวภาพนี้แสดงถึงอารมณ์ใด
1. อารมณ์โกรธ
2. อารมณ์ฉุนเฉียว
3. อารมณ์ดี หัวเราะอย่างร่าเริง
4. อารมณ์กลัว
5. งานศิลปะในข้อใดใช้เทคนิคน้ำหนักอ่อน-แก่ของการใช้สี
1. รูปปั้นในสวนสาธารณะ
2. ลวดลายจากการทอผ้า
3. ภาพวาดบนฝาผนังโบสถ์
4. งานแกะสลักงาช้างเป็นรูปต่างๆ
6. “ภาพตอนพระอาทิตย์ใกล้จะตกดิน สีภาพโดยรวมจะดูหม่น ค่อนข้างมืด แต่มีแสงสีสดใสส่องกระทบ กับก้อนเมฆอย่างสวยงาม”
ภาพนี้แสดงให้เห็นลักษณะของสีแบบใด
1. สีเอกรงค์ (Monochrome)
2. คุณค่าของสี (Value)
3. สีกลาง (Neutral Colors)
4. ความเด่นชัดของสี (Intensity)
7. ข้อใดคือแนวคิดของการออกแบบที่ดี
1. มีราคาแพงที่สุด
2. สวยงามมากที่สุด
3. ทันสมัยมากที่สุด
4. ใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด
8. การออกแบบมีความหมายสัมพันธ์กับข้อใด
1. การสร้างสรรค์ผลงานที่แปลกใหม่ขึ้นมา
2. การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ให้เกิดขึ้น
3. การสร้างงานทุกประเภทที่คนยอมรับ
4. การสร้างงานทุกประเภทไม่มีขอบเขตกำหนด
9. ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์หรือตัวชี้วัดที่แสดงถึง “ความพึงพอใจในการออกแบบ”
1. ความสวยงามแปลกใหม่
2. ประโยชน์ในการใช้สอย
3. การเลียนแบบมาจากสิ่งอื่น
4. แนวคิดในการออกแบบที่ดี
10. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของศิลปะได้ถูกต้อง
1. สิ่งที่สวยงาม
2. การสร้างสรรค์
3. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
4. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากความพึงพอใจ

11. ข้อใดเป็นความหมายที่ถูกต้องของการบรรยายผลงานทางทัศน์ศิลป์
1. เป็นกระบวนการรับรู้ที่เกิดจากการมองเห็น สังเกต และบันทึกคุณลักษณะเด่นที่พบเห็น โดยที่ไม่มี
การวิพากษ์วิจารณ์ใดๆ
2. เป็นกระบวนการรับรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติและบันทึกคุณลักษณะเด่นที่พบเห็น โดยที่ไม่มีการ
วิพากษ์วิจารณ์ใดๆ
3. เป็นกระบวนการรับรู้ผลงาน เพื่อวิเคราะห์ ตีความ และถ่ายทอดแนวคิดในผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
4. เป็นกระบวนการรับรู้ผลงาน เพื่อวิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความชื่นชม
12. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับศิลปะนามธรรม
1. ภาพผลงานเกิดจากการผสมผสานกันทางด้านเทคนิคที่หลากหลาย
2. สื่อความหมายด้วยการใช้สีหลายสี
3. นำวัสดุอุปกรณ์ที่มีราคาแพงมาสร้างชิ้นงานให้มีความโดดเด่น
4. ใช้ภาษาภาพในการสื่อความหมายด้วยรูปทรง สี และลายเส้น
13. การออกแบบภาพร่างในทางทัศนศิลป์หมายถึงวิธีการใด
1. การขึ้นรูป
2. การสเกตซ์ภาพ
3. การพิมพ์ภาพต้นแบบ
4. การวางโครงสร้างอุปกรณ์
14. ถ้าต้องการวาดภาพท้องฟ้าควรใช้เทคนิคใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
1. แบบเปียกบนเปียก
2. แบบเปียกบนแห้ง
3. แบบแห้งบนแห้ง
4. แบบแห้งบนเปียก
15. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับงานศิลปะสื่อผสม
1. สร้างสรรค์โดยใช้สื่อวัสดุต่างชนิดมาประกอบกันเป็นองค์ประกอบภาพ
2. ผู้สร้างสรรค์ผลงานต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุ
3. งานศิลปะที่แสดงออกถึงการผสมผสานกันระหว่างแนวความคิดกับผลงานได้ลงตัว
4. สร้างสรรค์ได้เฉพาะผู้ที่มีประสบการณ์ในการสร้างสรรค์งานศิลปะมาเป็นเวลานานเท่านั้น
16. ข้อใดเป็นวิธีการระบายสีน้ำที่ถูกต้องที่สุด
1. พยายามระบายสีให้มีเนื้อสีมากที่สุดจะได้ภาพที่สดใส
2. ระบายสีให้รวดเร็วฉับไว โดยไม่ต้องรอคอยให้สีแห้ง
3. ระบายสีให้โปร่งใส ไม่ควรทับซ้อน หรือซ้ำกันหลายๆ ครั้ง
4. ควรใช้พู่กันกลมในการระบายสีน้ำมากกว่าพู่กันแบน เพราะอุ้มน้ำได้ดีกว่า
17. ข้อใดจัดเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการสร้างงานศิลปะสื่อผสม
1. ความรู้พื้นฐานด้านงานศิลปะ
2. การเตรียมวัสดุที่จะนำมาใช้ในการสร้างผลงาน
3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการ
4. ผลงานต้นแบบที่นำมาเป็นตัวอย่างในการสร้างงาน
18. เทคนิคการเขียนภาพสีน้ำแบบเปียกบนเปียกเหมาะสำหรับการระบายสีภาพในส่วนใด
1. ภาพอาคารบ้านเรือน
2. ภาพต้นไม้และธรรมชาติ
3. ภาพคนและสัตว์
4. ภาพท้องฟ้าและน้ำ

19. ผลงานนี้สะท้อนให้เห็นสิ่งใด

ทัศนธาตุพื้นฐานของงานทัศนศิลป์คือข้อใด

1. เคลื่อนไหว
2. กลมกลืน
3. ราบรื่น
4. โน้มเอียง

20. ผลงานชิ้นนี้ต้องการสื่อให้เห็นสิ่งใด

ทัศนธาตุพื้นฐานของงานทัศนศิลป์คือข้อใด

1. ความอ่อนช้อย
2. ความโดดเด่น
3. ความกลมกลืน
4. ความรักของแม่
21. เพราะเหตุใดจึงนิยมใช้ทองแดงเป็นโครงสร้างสำหรับปั้นหุ่นขี้ผึ้งมากกว่าลวดเหล็ก
1. ทองแดงมีความยืดหยุ่นมากกว่าลวดเหล็ก
2. ทองแดงมีความสัมพันธ์กับขี้ผึ้งได้ดีกว่าลวดเหล็ก
3. ทองแดงสามารถสื่อความร้อนได้ดีกว่าลวดเหล็ก
4. ทองแดงมีความเหนียวและทนทานกว่าลวดเหล็ก

22. เพราะเหตุใดจึงเรียกการปั้นว่า “กระบวนการในทางบวก”
1. เป็นการนำวัสดุเพิ่มเข้าไปให้ได้รูปทรง
2. เป็นการบวกกันระหว่างดินเหนียวกับดินน้ำมัน
3. เป็นการบวกกันระหว่างการปั้นและแกะสลัก
4. เป็นการคิดในทางบวกว่าผลงานจะออกมาดี

23. ข้อใดจัดเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของงานสถาปัตยกรรม
1. มีราคาแพง สวยงาม ทันสมัย
2. ใช้วัสดุท้องถิ่น แข็งแรง ใช้สะดวก
3. ความงาม ความแข็งแรง ประโยชน์ใช้สอย
4. ประโยชน์ใช้สอย ใช้วัสดุท้องถิ่น ต้นทุนต่ำ

24. สิ่งใดต่อไปนี้ตรงกับคำว่า “สถาปัตยกรรม” มากที่สุด
1. หุ่นขี้ผึ้ง
2. โบสถ์
3. พระพุทธรูป
4. พระบรมรูปทรงม้า

25. ข้อใดคือรูปแบบของงานศิลปะบาศกนิยม
1. เน้นการใช้สีที่สดใส
2. รูปทรงแสดงให้เห็นลักษณะผันแปรจากความจริง
3. นำเทคนิคใหม่มาผสมผสานในการสร้างงาน
4. ใช้วัสดุหลากหลายที่หาได้ในท้องถิ่นมาสร้างผลงาน

26. ใช้สีสดใสและตัดกันอย่างรุนแรง จัดเป็นงานศิลปะประเภทใด
1. ศิลปะบาศกนิยม
2. ศิลปะนามธรรม
3. ศิลปะโฟวิสม์
4. ศิลปะสมัยใหม่
27. ข้อใดไม่ใช่เอกลักษณ์ของงานศิลปะแบบคิวบิสต์
1. ภาพส่วนใหญ่เป็นรูปทรงเรขาคณิต
2. แสดงมิติด้วยรูปทรง ขนาด การซ้อนกันภายในภาพ
3. มีลักษณะกึ่งนามธรรม คือ มีตัวตนและไม่มีตัวตนชัดเจน
4. ส่วนประกอบของภาพจะเน้นเรื่องของแสงเป็นสำคัญ

28. การออกแบบงานทัศนศิลป์นอกจากจะต้องใช้ความรู้และทักษะในงานกราฟิกแล้วยังต้องใช้ความรู้
ความสามารถด้านใดอีกบ้าง
1. การใช้เส้น
2. การใช้สี
3. การสร้างรูปทรง
4. การจัดองค์ประกอบศิลป์

29. การจัดภาพในลักษณะใดที่แสดงถึงการใช้เทคนิคด้านจังหวะเพื่อให้เกิดความงามที่โดดเด่น
1. จัดภาพโดยใช้การซ้ำกันสลับไปมาอย่างต่อเนื่อง
2. จัดภาพโดยใช้ลักษณะของพื้นผิวเดียวกันตลอดทั้งผลงาน
3. จัดภาพโดยใช้หลักความสมดุลทั้งสองข้างของผลงาน
4. จัดภาพโดยเน้นให้เกิดการประสานกันอย่างลงตัว

30. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการสร้างสรรค์งานกราฟิก
1. การร่างภาพ
2. การกำหนดวัตถุประสงค์
3. การคัดเลือกภาพที่นำมาใช้
4. การลงมือสร้างชิ้นงาน

เฉลย

แนวข้อสอบ O-NET วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์)

ข้อที่ เฉลย เหตุผลประกอบ
1. ตอบ3. เพราะปริมาตรหรือความจุ เป็นตัวบ่งปริมาณว่าวัตถุนั้นๆ มีที่ว่างเท่าไหร่ ซึ่งไม่ได้มีความสัมพันธ์กับคำว่า ทัศนธาตุ ที่จะประกอบไปด้วย จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว บริเวณที่ว่างน้ำหนักอ่อน-แก่ และสี
2. ตอบ4 เพราะการวาดภาพด้วยเส้นโค้งอิสระโดยการลากเส้นโค้งให้สูงขึ้นเรื่อยๆ
แล้วปล่อยน้ำหนักที่ปลาย จะให้ความรู้สึกว่ามีความต่อเนื่องขึ้นไปอีก ซึ่งจะ
ช่วยสื่อถึงความเจริญเติบโตก้าวหน้า
3. ตอบ4. เพราะการที่จะวาดภาพคนเต็มตัวได้ดีนั้นควรจะต้องศึกษาภายวิภาค (Anatomy) ควบคู่ไปด้วย การศึกษาวิชากายวิภาคจะเป็นการเรียนรู้เรื่องของสัดส่วน เริ่มจากสัดส่วนของกะโหลก กระดูก โครงสร้างของร่างกายทั้งหมด แล้วค่อยๆ ศึกษาเรื่องกล้ามเนื้อที่ผูกยึดติดกับกระดูกนั้นๆ หลังจากนั้นก็วาดภาพที่มีผิวหนังห่อหุ้มอยู่เป็นขั้นตอนต่อไป
4. 4. เพราะจากคำกล่าวแสดงอาการให้เห็นเด่นชัดที่ดวงตามีลักษณะคล้ายอาการแปลกใจ ประหลาดใจ แต่จะรุนแรงกว่า มีอาการตัวสั่น เหงื่อแตก ยกมือขึ้นมาปิดหน้า ก้าวขาไม่ออก สามารถสื่อทางสีหน้าได้โดยดวงตาเบิกกว้าง ลูกตาดำอยู่กลางดวงตา และใหญ่กว่าปกติ มีเส้นรอยย่นหนึ่งเส้น หรือมากกว่าที่หน้าผาก อ้าปากกว้าง มุมปาก
ตกลงด้านล่าง
5. 3. เทคนิคน้ำหนักอ่อน-แก่นิยมนำมาใช้กับภาพที่มีลักษณะ 2 มิติ โดยมากจะเป็นงานประเภทจิตรกรรม ซึ่งจะใช้เทคนิคน้ำหนักอ่อน-แก่ของแสงเงา น้ำหนักอ่อน-แก่ของสี มาสร้างเป็นภาพลวงตาให้มีความลึกหรือนูนได้
6. 4. เพราะภาพตอนพระอาทิตย์ใกล้จะตกดินเป็นภาพที่มีความสด หรือความบริสุทธิ์ของสีใดสีหนึ่ง สีที่ถูกผสมด้วยสีดำจนหม่น ความจัด หรือความบริสุทธิ์จะลดลง
จึงถือเป็นภาพที่แสดงความเด่นชัดของสี (Intensity) ได้เป็นอย่างดี
7. 4. เพราะการออกแบบที่ดีจะเน้นที่ประโยชน์ใช้สอยควบคู่กับความงาม ซึ่งเรียกว่า
“การสร้างสรรค์งานศิลปะ” ดังนั้น การออกแบบที่ดีจึงควรออกแบบผลิตภัณฑ์ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้มากที่สุดและดีที่สุด
8. 2. การออกแบบเป็นการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ชิ้นใหม่ขึ้น ทั้งนี้เพื่อมุ่งประโยชน์ใช้สอย หรือแสดงออกซึ่งความงามให้ผู้อื่นได้รับรู้ สัมผัส ตลอดจนนำเอาผลงานเดิมที่มีอยู่แล้วมาต่อยอดพัฒนาให้มีความสวยงาม หรือประสิทธิภาพมากขึ้น
9. 3. เพราะการเลียนแบบผลงานศิลปะมาจากสิ่งอื่น ไม่สามารถสร้างความพึงพอใจ
ในการออกแบบได้ แต่หากงานนั้นถูกสร้างมาจากความคิดสร้างสรรค์ของตนเองย่อมจะสร้างความพึงพอใจได้มากกว่า
10. 4. เพราะคำว่า “ศิลปะ” โดยทั่วๆ ไปแล้วจะหมายถึงการกระทำหรือขั้นตอนในการสร้างชิ้นงานศิลปะโดยมนุษย์ ตามความพึงพอใจ ซึ่งชิ้นงานส่วนใหญ่จะถูกสร้างขึ้นเพื่อสื่อสาร สื่ออารมณ์ ให้ผู้ชมเข้าใจในความงาม หรือสิ่งที่ผู้สร้างงานต้องการสื่อความหมาย
11. 1. การบรรยายผลงานทางทัศนศิลป์เป็นกระบวนรับรู้ที่เกิดจากการมองเห็น สังเกต และบันทึกคุณลักษณะเด่นที่พบเห็น โดยที่ไม่มีการวิพากษ์วิจารณ์ใดๆ หรือสรุปความเห็นใดๆ
12. 4. เพราะศิลปะนามธรรมจัดเป็นงานที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นโดยการใช้ภาษาภาพในการสื่อความหมายด้วยรูปทรง สี และลายเส้น เพื่อสร้างสัดส่วน ซึ่งอาจจะประกอบขึ้นในระดับความเป็นนามธรรมที่แตกต่างกัน
13. 2. การออกแบบร่างภาพในทางทัศนศิลป์ หมายถึง การถ่ายทอดจินตนาการทางความคิดให้ออกมาเป็นภาพต้นแบบ โดยใช้วิธีการสเกตซ์ภาพ มีประโยชน์อย่างมากต่อการสร้างสรรค์ผลงาน เพราะผู้สร้างสรรค์สามารถปรับปรุงแก้ไขต้นแบบได้ง่าย
14. 1. เพราะการระบายสีแบบเปียกบนเปียกนิยมนำมาระบายเป็นภาพท้องฟ้า หรือน้ำ เพราะจะทำให้ภาพที่ปรากฏนั้นแสดงให้เห็นความชุ่มและความซึมของสี ทำให้ภาพมีความสมจริงมากยิ่งขึ้น
15. 4. ทุกคนสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะสื่อผสมได้ เพียงแต่ต้องใช้การศึกษาเทคนิค วิธีการในการสร้างสรรค์ผลงานด้วยเทคนิคที่หลากหลายอย่างละเอียด เพื่อค้นหาความถนัดของตนเอง และต้องหมั่นฝึกฝนจนเกิดความชำนาญจึงจะสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะสื่อผสมออกมาได้ดี
16. 2. การระบายสีน้ำให้ได้ดี นอกจากจะต้องฝึกหัดตามลำดับขั้นตอน ตั้งแต่การจับพู่กัน การรู้จักและคุ้นเคยกับสี กระดาษ การจัดตำแหน่งของกระดานรองเขียน และจานสีแล้วนั้น จะต้องมีวินัยใจจดจ่ออย่างจริงจัง โดยวิธีการระบายสีน้ำที่ถูกต้อง คือ ต้องระบายสีให้รวดเร็วฉับไว ไม่ต้องรอคอยให้สีแห้ง การสร้างสรรค์ผลงานจะได้สำเร็จและมีคุณภาพ

17. 3. เพราะการสร้างงานศิลปะสื่อผสมศิลปินจะต้องมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีจินตนาการในการสร้างสรรค์ให้มีความหลากหลาย สามารถดึงดูดความสนใจของผู้ชมได้
18. 4. การระบายสีแบบเปียกบนเปียกนิยมระบายกันมากในภาพที่เป็นท้องฟ้าและน้ำ หรือบนผิววัสดุที่มัน เพราะจะทำให้เกิดความรู้สึกกลมกลืนของสีที่เด่นชัด
19. 1. ผลงานในภาพมีชื่อว่า “บัลเล่ต์” ซึ่งเป็นผลงานของเขียน ยิ้มศิริ โดยการนำลักษณะลีลาการเต้นบัลเล่ต์แบบตะวันตกมาผสมผสานกับรูปแบบของศิลปะไทยได้อย่างกลมกลืน นักบัลเล่ต์ชายหญิงที่ปรากฏ แสดงถึงอากัปกิริยาของความเคลื่อนไหวที่คล่องแคล่ว เส้นต่างๆ ที่เกิดจากแขน ขา ลำตัว มือ เท้า ดูจะเคลื่อนไหวกระฉับกระเฉงอยู่ตลอดเวลา ตามแบบลักษณะตะวันตก ความเด่นของผลงานชิ้นนี้อยู่ที่การนำหลักองค์ประกอบของเส้นที่ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวมาสร้างเป็นผลงาน
20. 4. ผลงานชื่อ “แม่กับลูก” เป็นผลงานที่มีการพัฒนาไปสู่ศิลปะร่วมสมัย มุ่งแสดงให้เห็นลีลาของเส้นมากขึ้น รูปทรงของแม่ที่โอบอุ้มลูกเอาไว้ สะท้อนให้เห็นถึงการปกป้อง คุ้มครอง ความรัก ความผูกพัน ให้ความรู้สึกประหนึ่งเหมือนอยู่ในครรภ์ ความอ่อนหวานของเส้นวงแขนที่สอดรับลูกน้อยอย่างทะนุถนอมที่ถูกสร้างขึ้น โดยการใช้หลักองค์ประกอบศิลป์ของเส้นและเรื่องราวได้อย่างสมบูรณ์
21. 3. เพราะทองแดงเป็นสื่อความร้อนที่ดีกว่าลวดเหล็ก เมื่อนำผลงานไปลนไฟอ่อนๆ ทั่วชิ้นงาน ก็จะทำให้เนื้อขี้ผึ้งเข้ากันได้สนิท
22. 1. เพราะการปั้นเป็นการนำส่วนย่อยเพิ่มเข้าไป เพื่อให้ได้รูปทรงเป็นส่วนรวม ตรงข้ามกับวิธีการแกะสลัก
23. 3. เพราะงานสถาปัตยกรรมที่ดีจะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 3 ประการ ที่ผสมผสานกันได้อย่างลงตัว คือ ความงาม ความแข็งแรง และประโยชน์ใช้สอย
24. 2. เพราะสถาปัตยกรรมส่วนใหญ่จะเป็นอาคารหรือสิ่งก่อสร้างที่เกิดจากการออกแบบของมนุษย์ เพื่อมุ่งเน้นด้านประโยชน์ใช้สอย ดังนั้น โบสถ์จึงเป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
25. 2. เพราะงานศิลปะบาศกนิยมรูปทรงของภาพมักจะมีลักษณะผันแปรความจริง คือ จะมีลักษณะเป็นเหลี่ยมมุม ลูกบาศ์ก รูปเรขาคณิต เพื่อสร้างความคิดรวบยอดในเชิง 3 มิติ ให้ปรากฏในผืนระนาบ 2 มิติ หรือ 3 มิติ ผ่านผลงานจิตรกรรมและประติมากรรม
26. 3. เพราะศิลปะโฟวิสม์จะนิยมใช้สีที่สดใสและตัดกันอย่างรุนแรง นำรูปแบบและลีลาของเส้นมาใช้ใหม่ในรูปแบบที่เรียบง่าย สีที่นิยมนำมาใช้ คือ สีเขียว สีม่วง สีแดงอิฐ สีส้ม

27. 4. เพราะการที่ส่วนประกอบของภาพที่เน้นเรื่องแสงเป็นสำคัญจะจัดเป็นศิลปะ
แบบอิมเพรสชันนิสม์
28. 4. การออกแบบงานทัศนศิลป์จำเป็นต้องมีความรู้ ความสามารถด้านการจัดองค์ประกอบศิลป์ โดยเน้นหลักความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล เพื่อให้งานออกมามีความสวยงามและมีคุณค่าทางศิลปะที่ผสมผสานกัน
29. 1. การจัดภาพโดยใช้เทคนิคด้านจังหวะเป็นการจัดภาพที่เน้นความสัมพันธ์ของ
ทัศนธาตุต่างๆ เช่น เส้น สี รูปร่าง รูปทรง เป็นต้น ให้มีจังหวะที่สัมพันธ์ต่อเนื่องกันในลักษณะของการซ้ำไปซ้ำมา หรือลักษณะของการลื่นไหล เคลื่อนไหวไม่ขาดระยะ ซึ่งจะช่วยให้เกิดความเด่นมากขึ้น
30. 2. การกำหนดวัตถุประสงค์และวิเคราะห์ข้อมูลเป็นขั้นตอนแรกของการสร้างสรรค์งานกราฟิก จากนั้นจึงค่อยร่างภาพ คัดเลือกภาพที่จะนำมาใช้ และลงมือสร้างชิ้นงานต่อไป

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

ข้อใดคือทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์

ทัศนธาตุ (Visual Elements) ในทางทัศนศิลป์หมายถึง ส่วนประกอบของศิลปะที่มองเห็นได้ ประกอบไปด้วย จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง น้ำหนักอ่อน-แก่ สี บริเวณว่าง และ พื้นผิว

ข้อใดคือทัศนธาตุเบื้องต้น

1.จุด ( point ) หมายถึงสิ่งที่ปรากฏบนพื้นระนาบที่มีขนาดเล็กที่สุด ไม่มีความกว้าง ความยาว ความสูง ความหนา หรือความลึก จุดเป็นทัศนธาตุที่เล็กที่สุดและมีมิติเป็นศูนย์ จุดสามารถแสดงตำแหน่งได้เมื่อมีบริเวณว่างรองรับ จุดถือเป็นทัศนธาตุหรือพื้นฐานเบื้องต้นที่สุดในการสร้างงานทัศนศิลป์ จุดเป็นต้นกำเนิดของทัศนธาตุอื่นๆ เช่น เส้น ...

ทัศนธาตุเบื้องต้นที่สําคัญที่สุดคือข้อใด

เส้น ( Line ) หมายถึง ทัศนธาตุเบื้องต้นที่สำคัญที่สุด เป็นแกนของทัศนศิลป์ทุก ๆ แขนง เส้นเป็นพื้นฐานของโครงสร้างของทุกสิ่งในจักรวาล เส้นแสดงความรู้สึกได้ทั้งด้วยตัวของมันเองและด้วยการสร้างเป็นรูปทรงต่างๆ ขึ้น เส้นที่เป็นพื้นฐาน ได้แก่เส้นตรงและเส้นโค้ง

ข้อใดคือทัศนธาตุเบื้องต้นที่เล็กที่สุดในงานทัศนศิลป์

จุด หมายถึง รอยหรือแต้มที่มีลักษณะกลม ๆ เป็นสิ่งที่ปรากฏบนพื้นระนาบที่มีขนาดเล็ก ที่สุด ไม่มีความกว้าง ความยาว ความสูง ความหนา หรือความลึก จุดเป็นทัศนธาตุที่เล็กที่สุด และมีมิติเป็นศูนย์จุดสามารถแสดงต าแหน่งได้เมื่อมีบริเวณว่างรองรับ จุดถือเป็นทัศนธาตุหรือ พื้นฐานเบื้องต้นที่สุดในการสร้างงานทัศนศิลป์ ซึ่งเกิดจากการจิ้ม ...