การประยุกต์เทคโนโลยีสำหรับธุรกิจดิจิทัลโมไบล์มีการประยุกต์อะไรบ้าง

สรุปเนื้อหา 9 บท

บทที่ 1
Big data

Big Data คืออะไร

-Big Data หมายถึงชุดข้อมูลใดๆ ก็ตามที่มีขนาดใหญ่และถูกเก็บบันทึกไว้
ผ่านวิธีการต่างๆ ยกตัวอย่างเช่นฐานข้อมูลภายในองค์กรของคุณเอง ไม่ว่า
จะเป็นข้อมูลการทำ transaction ต่างๆ หรือข้อมูลพฤติกรรมของลูกค้า

-ปัจจุบันโลกกำลังถูกขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ชุดข้อมูล (Data)
จำนวนมากถูกสร้างขึ้นใหม่ทุกวัน และสามารถทำการเก็บรวบรวมได้ง่ายขึ้น
ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต การรับชมสื่อออนไลน์
หรือธุรกรรมสำคัญต่างๆ

ทำความรู้จักกับ Big Data

Big Data คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีทั้งหมดภายในองค์กรไม่ว่าจะเป็น
-ข้อมูลของบริษัท
-ข้อมูลติดต่อของลูกค้า
-ข้อมูลติดต่อของผู้ร่วมธุรกิจ
-ลักษณะของผู้บริโภค
-การทำรายการธุรกิจต่างๆ ในแต่ละวัน
-ตัวอักษร ไฟล์เอกสาร รูปภาพ
-รวมถึงข้อมูลอื่นๆ แทบทุกประเภทที่อยู่บนโลกออนไลน์

ลักษณะสำคัญ -ปริมาณ (Volume) คือ ปริมาณข้อมูล
ของ Big Data ที่สามารถผลิตและจัดเก็บไว้ได้จะต้อง
ขนาดที่ใหญ่มากเพียงพอ ซึ่งปริมาณ
Big Data จะต้องมีลักษณะสำคัญ ของข้อมูลจะเป็นข้อบ่งบอกได้ถึง
คุณภาพ
4V ดังต่อไปนี้ -ความหลากหลาย (Variety) คือ ความ
หลากหลายของประเภทของข้อมูล โดย
สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการนำ
ข้อมูลไปวิเคราะห์ต่อยอดได้ ไม่ว่าจะเป็น
ข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือ, รูปภาพ, ข้อมูล
เสียงที่ถูกบันทึกไว้, วีดีโอหรือไฟล์
ประเภทอื่นจากหลากหลายแหล่ง

ลักษณะสำคัญ -ความเร็ว (Velocity) คือ ความเร็วใน
ของ Big Data การประมวลผลและผลิตข้อมูลขึ้นมา
เพื่อให้ทันกับความต้องการของผู้ใช้งาน
ซึ่ง Big Data คือข้อมูลที่ได้มาแบบ
Real-Time และประมวลผลอยู่ตลอด
เวลา
-คุณภาพของข้อมูล (Veracity) คือ
คุณภาพของข้อมูลที่สามารถนำไป
วิเคราะห์ข้อมูลต่อไปได้อีก เป็นข้อมูลที่
ยังไม่ผ่านการประมวลผลอยู่ในรูปแบบ
ของข้อมูลดิบซึ่งสามารถนำไปประมวล
ผลต่อไปได้

กระบวนการทำงาน ขั้นตอนและกระบวนการทำงานของ
Big Data มีอยู่ 3 ขั้นตอนหลักๆ
ของ Big Data ดังนี้
-จัดเก็บข้อมูล (Storage) เป็นขั้นตอน

การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดจาก

แหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่มี
คุณภาพรวมถึงข้อมูลที่คาดว่าอาจจะ
เป็นประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่เป็นตัว
อักษร ไฟล์เอกสาร ไฟล์รูปภาพ ไฟล์
วีดีโอ ไฟล์เสียงที่ถูกบันทึก จะถูกเก็บ
รวบรวมไว้ที่นี่

กระบวนการทำงานของ -การประมวลผลข้อมูล (Processing) การ
Big Data ประมวลผลข้อมูล หลังจากที่นำข้อมูลมา
รวบรวมไว้ได้ในที่เดียวแล้ว ข้อมูลต่างๆ จะถูกนำ

ไปจัดหมวดหมู่ให้อยู่ในกลุ่มที่มีความเกี่ยวข้อง

กันหรือความสัมพันธ์ใกล้เคียงกัน
-การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyst) การวิเคราะห์
ข้อมูลและนำเสนอข้อมูล หลังจากที่ข้อมูล
ทั้งหมดได้ถูกจัดกลุ่มและแยกประเภทเรียบร้อย
แล้วนั้น ต่อจากนั้นจะนำมาวิเคราะห์หา Pattern
ความเกี่ยวข้องกันทั้งหมด ที่อาจมองไม่เห็นได้
เลยด้วยตา ไม่ว่าจะเป็นการหา แนวโน้มของการ
ตลาด และความต้องการของลูกค้า

ข้อดีของ -ช่วยให้เกิดนวัตกรรมทางธุรกิจรูป
Big Data แบบใหม่แลศักยภาพที่อาจเกิดขึ้น
สำหรับข้อมูลเชิงลึกใหม่ๆที่ใช้ขับดัน
ความได้เปรียบในการแข่งขัน

ข้อเสียของ -ต้นทุนของระบบข้อมูล
Big Data คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของค่า
ใช้จ่ายด้านไอทีและยังแนว
โน้มใช้จ่ายมากขึ้น

บทที่ 2
Iot

IOT คืออะไร IoT หรือ Internet of Things คือ
ระบบเชื่อมต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ระบบดิจิทัล สิ่งของ มนุษย์ หรือแม้แต่
สัตว์เข้ามาไว้ด้วยกัน เพื่อถ่ายโอนหรือ
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครือข่าย โดย
ไม่จำเป็นต้องให้คนมาส่งมอบข้อมูล
กันเอง แต่ให้ระบบดังกล่าวเป็นตัวกลาง
ในการทำหน้าที่แทน

ทำไมต้องมี IoT ต้องยอมรับว่า IoT ถือเป็นเทคโนโลยีที่
ติดบ้าน-คอนโด สำคัญและมีประโยชน์ต่อแวดวง
อุตสาหกรรมหลายอย่าง และเมื่อพูดถึง

ประโยชน์ของ IoT สำหรับคนทั่วไปก็คง
ส่งผลดีต่อการใช้ชีวิตประจำวันภายใน
บ้าน หากเน้นประโยชน์ของ IoT ที่มีต่อที่
อยู่อาศัย ก็ต้องบอกว่าบ้านหรือคอนโดที่
มีระบบ Internet of Things จะมี
ลักษณะเป็นสมาร์ทโฮม กล่าวคือเป็น
บ้านที่เน้นการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต
เป็นหลัก สิ่งของทุกอย่างล้วนรับส่ง
ข้อมูลตามคำสั่งที่ป้อนเข้าไป

ข้อดี -เพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานและ
Internet Of Things การดำเนินชีวิต เช่น หลอดไฟที่เปิดหรือปิด
เองได้เตามเวลาที่ตั้งไว้ผ่านมือถือ
-เพิ่มความรวดเร็วและประสิทธิภาพในการ
ทำงาน ทำให้สามารถทำงานได้อย่าง
รวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำขึ้นได้
-ช่วยลดต้นทุนในด้านต่าง ๆ ลงได้จากการ
ใช้ IoT เช่น แผงเกษตรกรรมที่มีการใช้
IoT ให้รดน้ำตามเวลาและระดับความชื้นที่
กำหนด

ข้อเสีย -เพิ่งพาระบบอินเทอร์เน็ต หากไม่สามารถ
Internet Of Things เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้อาจเกิดปัญหาต่าง
ๆ ตามมา
-ความปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจาก
อุปกรณ์ถูกเชื่อมโยงกันด้วยเครือข่าย
เดียวกัน ทำให้ต้องการบำรุงและรักษาความ
ปลอดภัยของข้อมูลกับซอฟต์แวร์ของ
อุปกรณ์อยู่เสมอ
-ความผิดพลาดที่เกิดจากการประมวลผล
ผิดพลาด อุปกรณ์ IoT อาจเกิดปัญหา
ประมวลผลผิดพลาดได้

บทที่ 3

Blockchain

Blockchain Blockchain คือเทคโนโลยีว่าด้วยระบบ
การเก็บข้อมูล (Data Structure) ซึ่ง
คืออะไร ไม่มีตัวกลาง แต่ข้อมูลที่ได้รับการปกป้อง

จะถูกแชร์และจัดเก็บเป็นสำเนาไว้ใน
เครื่องของทุกคนที่ใช้ฐานข้อมูลเดียวกัน
เสมือนห่วงโซ่ (Chain) โดยทุกคนจะรับ
ทราบร่วมกัน ว่าใครเป็นเจ้าของและมี
สิทธิในข้อมูลตัวจริง เมื่อมีการอัปเดต
ข้อมูลใด ๆ สำเนาข้อมูลในฐานเดียวกันก็
จะอัปเดตตามไปด้วยทันที ทำให้การ
ปลอมแปลงข้อมูลไม่ใช่เรื่องง่าย

ลักษณะการทำงานของ 1. A ต้องการโอนเงิน (ส่งข้อมูล) ไปให้ B
Blockchain ผ่านเลขบัญชี โดยใช้ Private
key+Password และ Public Key
2. เก็บ Transaction ไว้ใน Public Ledger
3. ยืนยันความถูกต้องโดย Miner และต้อง
ไม่ถูกคัดค้านจากผู้ใช้
4. เพิ่ม Block นั้นเข้าไปยัง Chain
5. เงินถูกถ่ายโอนและอัพเดทข้อมูลแก่ผู้ใช้

ข้อดีของ -เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพสูง แม้ไม่มีคนกลาง
blockchain แต่นับว่าตรงและปลอดภัย เชื่อถือได้ เป็นระบบ
ที่ช่วยกันตรวจสอบ

-ทำให้การดำเนินธุรกรรมออนไลน์ง่ายและ
รวดเร็วขึ้น
-สามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา ข้อมูลไม่หาย
-ติดตามการเคลื่อนที่ของสินค้าได้แบบละเอียด
ว่าเริ่มต้นที่ไหน เดินทางผ่านที่ไหน ด้วยเงื่อนไข
อะไร สุดท้ายอยู่ที่ไหน
-ทุจริตไม่ได้ด้วยระบบสร้างมาเพื่อป้องกัน
อย่างดี
-มีระบบตรวจสอบภายในด้วยระบบรหัสลับ จึง
มีความปลอดภัยสูง

บทที่4
ธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล

ความหมายของระบบ การทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัลหมายถึง
ธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล การดำเนินการต่าง ๆ ในเรื่องของการ
เงินหรือแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ
โดยใช้เครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ
เช่นสมาร์ตโฟน Mobile App หรือ
E-wallet ผ่านระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตและทุกคนสามารถทำได้ถ้า
มีบัญชีธนาคารหรือพร้อมเพย์

ความสำคัญของ ธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัลมีความสำคัญที่จะ
ธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล ช่วยส่งเสริมให้การทำธุรกิจนั้นมีความมั่นคง
ขึ้นเพราะได้อำนวยความสะดวกให้การทำ
ธุรกรรมทางการเงินเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา
และนำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงทางสังคม
พฤติกรรมผู้บริโภคและเศรษฐกิจโลกจาก
ผลสำรวจธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ

Mobile Banking ของธนาคารแห่ง

ประเทศไทยพบว่าประเทศไทยมีจำนวนบัญชี
ลูกค้าที่ใช้บริการ Mobile Banking
มากกว่า 37 ล้านบัญชี

ประเภทของธุรกรรม Digital Banking
ในธุรกิจดิจิทัล
หมายถึง การทำธุรกรรมด้วยระบบการทำ
ธุรกรรมของธนาคารในระบบดิจิทัลเป็น
เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีการพัฒนาให้มี
Sampling Rate สูง

ธุรกรรมที่ทำผ่าน 1.การโอนเงินโดยโอนจากเจ้าของบัญชีผู้โอนไปสู่
Digital Banking เจ้าของบัญชีผู้รับ
2.ชำระค่าสินค้าและบริการโดยผ่านแอปพลิเคชัน
ของธนาคาร
3.บริการเรียกดูข้อมูลและจัดการบัญชีต่าง ๆ เช่น
เพิ่มและจัดการบัญชีของตน
4.ซื้อ-ขาย-สับเปลี่ยนกองทุนและจัดการรายการซื้อ
ขายต่าง ๆ
5.Talk to Net Officer ทำธุรกรรมผ่านระบบ
VDO Call โดยเจ้าหน้าที่ Net Officer พร้อมส่ง
สลิปรายการให้ผ่าน E-mail
6.ตั้งค่าการใช้งานระบบเปลี่ยน Net ID,
Password

7.ชำระเงินกู้บุคคลอื่นขออนุมัติสินเชื่อเบื้องต้น
8.ขอข้อมูลเครดิตบูโรกับ National Credit
Bureau

9.สั่งซื้อธนบัตรต่างประเทศสกุลเงินต่าง ๆ

ข้อดีของและผลกระทบของ 1.เพิ่มความสะดวกให้ลูกค้าผู้ใช้บริการในการ
Digital Banking ดำเนินธุรกรรมทางการเงิน
2.ทำให้มีเวลาเหลือไปบริหารหรือทำงานอื่น ๆ
3.ลดค่าใช้จ่ายในการติดต่อด้านธุรกรรมไม่ว่า
จะเป็นการเดินทางไปที่ธนาคาร
4.ลดความเสี่ยงจากการถอนเงินจำนวนมาก

บทที่ 5

ประเภทของสื่อสังคม
ออนไลน์

สื่อสังคมออนไลน์ หมายถึง สื่อดิจิทัลที่เป็นเครื่องมือในการ
ปฏิบัติการทางสังคม (Social Tool) เพื่อใช้
สื่อสารระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม
(Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และ
โปรแกรมประยุกต์บนสื่อใดๆ ที่มีการเชื่อม
ต่อกับอินเทอร์เน็ต

ประเภทของสื่อ 1. Weblogs หรือเรียกสั้นๆ ว่า Blogs คือ สื่อ
สังคมออนไลน์ ส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดย
สามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่นๆ โดยผู้รับสาร
สามารถเข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็นเพิ่ม
เติมได้
2.Social Networking หรือเครือข่ายทาง
สังคมในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายทาง
สังคมที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อระหว่างบุคคล กลุ่ม
บุคคล เพื่อให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม (Social
Community) เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนและ
แบ่งปันข้อมูลระหว่างกันทั้งด้านธุรกิจ การเมือง
การศึกษา เช่น Facebook, Hi5, Ning,
Linked in,MySpace, Youmeo,

Friendste

ประเภทของสื่อ 3. Micro Blogging และ Micro Sharing
สังคมออนไลน์ หรือที่เรียกกันว่า “บล็อกจิ๋ว” ซึ่งเป็น
เว็บเซอร์วิสหรือเว็บไซต์ที่ให้บริการแก่บุคคล
ทั่วไป สำหรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความสั้นๆ
4.Online Video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการ
วิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งปัจจุบัน
ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและขยาย
ตัวอย่างรวดเร็ว
5.Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้
บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้บริการสามารถ
อัพโหลดและดาวน์โหลดรูปภาพเพื่อนำมาใช้
งานได้

ประเภทของสื่อ 6.Wikis เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูล
สังคมออนไลน์ หรือความรู้ (Data/Knowledge) ซึ่งผู้เขียนส่วน
ใหญ่อาจจะเป็นนักวิชาการ
7.Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการ
โดยจำลองส่วนหนึ่งของชีวิตลงไป
8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคำ
สองคำคือ Crowd และ Outsourcing เป็นหลัก
การขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคม
ออนไลน์
9. Podcasting หรือ Podcast มาจากการรวม
ตัวของสองคำ คือ “Pod” กับ
“Broadcasting” ซึ่ง “POD” หรือ
PersonalOn

10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเว็บ
บอร์ดที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความคิด
เห็น

บทที่ 6
ธุรกิจดิจิท
ัลโมไบล์

ความหมายของ เป็นกระบวนการทำธุรกรรมออนไลน์
ธุรกิจดิจิทัลโมบาย โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยี
เคลื่อนที่ไร้สาย เนื้อหาของธุรกรรมอยู่ใน
รูปของข้อมูลสารสนเทศที่เป็นสัญญา
ดิจิทัลในรูปของข้อความ ภาพ และเสียง
รวมถึงการให้บริการต่าง ๆ

คุณลักษณะของแพล็ตฟอร์ม 1.สามารถสนับสนุนให้ผู้ใช้งาน ทำ
ระบบธุรกิจดิจิทัลโมบาย ธุรกรรมต่าง ๆ ได้ง่าย
2.สามารถปรับเปลี่ยนฟังก์ชันระบบการ
ให้บริการได้ตามความต้องการของผู้ใช้
งาน
3.สามารถรองรับโมบายแอปพลิคัน
4.สามารถรองรับเทคโนโลยีหรือเทคนิค
ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา
5.สามารถคงรักษาข้อมูลธุรกรรมสำคัญ
ต่าง ๆ ไว้ได้

แนวทางการประยุกต์เทคโนโลยี 1.การตลาดเคลื่อนที่
สำหรับธุรกิจดิจิทัลโมบาย 2.การใช้โมบายคูปอง
3.การชำระเงินเคลื่อนที่
4.ผู้ช่วยส่วนบุคคลดิจิทัล
5.การสร้างความภักดีในตัวสินค้าและ
การบริการเคลื่อนที่
6.การให้บริการของธุรกิจแบบเคลื่อนที่

บทที่ 7

ความมั่นคงปลอดภัยในการทำ
ธุรกรรมดิจิทัล

ความหมายของ การป้ องกันข้อมูลสารสนเทศรวมถึง
ความมั่นคงปลอดภัยในการ องค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ระบบ
และฮาร์ดแวร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและถ่าย
ทำธุรกรรมดิจิทัล โอนข้อมูลสารสนเทศนั้นให้รอดพ้นจาก
อันตรายอยู่ในสถานะที่มีความปลอดภัยไร้
ความกังวลและความกลัว

ประเภทของความเสี่ยงที่ 1.ความเสี่ยงด้านกายภาพและสิ่ง
เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจ แวดล้อม ครอบคลุมภัยคุกคามที่เกิดขึ้น
จากทั้งธรรมชาติ
ดิจิทัล 2.ความเสี่ยงด้านบุคลากร
3.ความเสี่ยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ
4.ความเสี่ยงด้านข้อมูล

รูปแบบของ 1. ภัยคุกคามจากความผิดพลาดของ
ภัยคุกคามต่อธุรกิจดิจิทัล มนุษย์
2.ภัยคุกคามที่เกิดจากการละเมิดสิทธิ
ทางปัญญาขององค์กร
3.ภัยคุกคามที่เกิดจากการเข้าถึง
ทรัพยากรโดยไม่มีสิทธิ์
4.ภัยคุกคามที่เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขทรัพยากร
5.ภัยคุกคามที่เกิดจากการทำลาย
ทรัพยากร
6.ภัยคุกคามที่เกิดจากการขโมย
ทรัพยากร

รูปแบบของ 7.ภัยคุกคามที่เกิดจากการโจมตี
ภัยคุกคามต่อธุรกิจดิจิทัล ของซอฟต์แวร์ประสงค์ร้าย
8.ภัยคุกคามที่เกิดจากภัยธรรมชาติ

9.ภัยคุกคามที่เกิดจากการลดทอน
คุณภาพของการให้บริการ
10.ภัยคุกคามที่เกิดจากความผิด
พลาดของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
11.ภัยคุกคามที่เกิดจากความผิด
พลาดของซอฟต์แวร์
12.ภัยคุกคามที่เกิดจากการใช้งาน
เทคโนโลยีที่ล้าสมัย

บทที่ 8
กฎหมายและจริยธรรมและการ

ทําธุรกรรมดิจิทัล

กฎหมายและจริยธรรม กฎหมาย คือ ข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่ใช้วัด
และใช้กําหนดความ
ประพฤติของประชากรในสังคมได้ว่าสิ่งที่กระทํา
ลงไปนั้น
ถูกหรือผิด สามารถกระทําได้หรือกระทําไม่ได้

จริยธรรม (Ethics) มาจากคําว่า จริย + ธรรม
ซึ่งคําว่า จริย หมายถึง ความประพฤติหรือ
กิริยาที่ควร
ประพฤติ ส่วนคําว่า ธรรม หมายถึง คุณความดี
หรือหลักปฏิบัติ เมื่อนําคําทั้ง
สองมารวมกันเป็น “จริยธรรม” จึงมีความ
หมายว่า “คุณความดีที่ควรประพฤติ”
หรือ “หลักปฏิบัติหรือกิริยาที่ควรประพฤติ”

จริยธรรมในการใช้ ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาท
เทคโนโลยีสารสนเทศ และความเกี่ยวข้องกับชุมชนและสังคมในทุก
ระดับชั้นดังนั้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดย
เฉพาะการใช้งานกับชุมชนและสังคมออนไลน์ จํา
เป็นจะต้อง
คํานึงถึงจริยธรรมใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย
1.ความเป็นส่วนตัว(Information Privacy)
2.ความถูกต้อง(Information Accuracy)
3.ความเป็นเจ้าของ(Information Property)
4.การเข้าถึงข้อมูล(Data Accessibility)

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีผลบังคับ
ของประเทศไทยที่มีผลบังคับใช้ ใช้อยู่ในปัจจุบัน มีอยู่ด้วยกัน 3 ฉบับ คือ
กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
อยู่ในปัจจุบัน กฎหมายการคุ้มครองข้อมูลส่วน
บุคคล และกฎหมายการกระทําความผิด
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

การทําธุรกรรมดิจิทัล ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(electronic transaction) คือ ธุรกรรมที่กระ
ทําขึ้นโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือ
แต่บางส่วนนั้นปัจจุบันประเทศไทยมีหลายหน่วย
งานทั้งในส่วนภาครัฐและภาคธุรกิจมีการปรับ
เปลี่ยนการทําธุรกรรมด้านต่าง ๆ จากเดิมที่ใช้
เอกสารเป็นหลักโดยเฉพาะภาคการเงินและการ
ธนาคาร มีการปรับรูปแบบการทําธุรกรรมการเงิน
ที่สะดวกรวดเร็วขึ้นผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ คือ
การใช้เทคโนโลยีเข้า
มาพัฒนาระบบการเงิน (financial
technology)

บทที่ 9
กรณีศึกษาธุรกิจดิจิทัล

ธนาคารอเิ ล็กทรอนิกส์ ในปัจจุบันแต่ละธนาคารได้มีการพัฒนา
(e-Banking) ธุรกรรมดิจิทัลเพื่อให้บริการแก่ลูกค้า
หลากหลายรูปแบบทั้งบริการบน
เว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชันที่สามารถ
ดาวน์โหลดและติดตั้งเพื่อใช้งานบน
เครื่องคอมพิวเตอร์พีซี โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต
โทรศัพท์มือถือสมาร์ตโฟน หรืออุปกรณ์
พกพาต่าง ๆ

การตลาดอเิ ล็กทรอนิกส์ ในปัจจุบันแต่ละธุรกิจได้มีการพัฒนา
(e-Marketing) ธุรกรรมดิจิทัลเพื่อให้บริการแก่ลูกค้าหลาก
หลายรูปแบบทั้งบริการบนเว็บไซต์ หรือ
แอปพลิเคชันที่สามารถดาวน์โหลดและ
ติดตั้งเพื่อใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี
โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต โทรศัพท์มือถือสมาร์ตโฟน
หรืออุปกรณ์พกพาต่างๆซึ่งมีให้บริการหลาก
หลายรูปแบบ เช่น การไลฟ์ สดขายสินค้า
การสั่ง-ซื้อสินค้าออนไลน์ การโฆษณาผ่าน
เว็บไซต์หรือสื่อสังคมออนไลน์

สถาบันการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ ในปัจจุบันได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ
(e-Institute) การจัดการเรียนการสอน รายวิชา หลักสูตร
คอร์สฝึกอบรม การประชุมหรือสัมมนา
ทางวิชาการ ไว้ให้บริการแก่ผู้เรียน นิสิต
นักศึกษา นักวิชาการ ชาวบ้าน ชุมชนหรือ
ประชาชนทั่วไป

การเกษตรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
(e-Agriculture) การสื่อสารมาประยุกต์ใช้เพื่อเป็นเครื่อง
มือในการจัดการข้อมูลข่าวสารหรือการ
ติดต่อเพื่อการสื่อสารและส่งข้อมูลใน
ระยะไกล

โรงพยาบาลอิเล็กทรอนิกส์ ในปัจจุบันมีรูปแบบทั้งบริการบนเว็บไซต์
(e-Hospital) หรือแอปพลิเคชันสามารถดาวน์โหลดและ
ติดตั้งเพื่อใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์
โนัตบุ๊ก แท็บเล็ต โทรศัพท์มือถือสมาร์ต
โฟนหรืออุปกรณ์พกพาต่างๆซึ่งคลินิก โรง
พยาบาล สถาบันสุขภาพต่าง ๆ ของรัฐก็ได้
ที่มีการปรับเปลี่ยนการบริการให้กับลูกค้า
หรือประชาชนหลายรูปแบบ