การนำ เสนอ งาน มัลติมีเดีย แบบ อิสระ มี ข้อดี ข้อ เสีย อย่างไร

การนำ เสนอ งาน มัลติมีเดีย แบบ อิสระ มี ข้อดี ข้อ เสีย อย่างไร

  ข้อดีข้อเสียของสื่อเพื่อการเรียนรู้

การนำ เสนอ งาน มัลติมีเดีย แบบ อิสระ มี ข้อดี ข้อ เสีย อย่างไร

ข้อดี

 1. ช่วยเสริมการเรียนรู้ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น
2. ใช้ง่าย เก็บรักษาง่าย พกพาได้สะดวก
3. สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
4. ง่ายต่อการใช้งาน
5. ช่วยสนับสนุนให้มีสถานที่เรียนไม่จำกัดอยู่เพียงห้องเรียน
เท่านั้น
6. สามารถใช้สื่อมัลติมีเดียกับผู้เรียนได้ ทุกระดับอายุ และความรู้

ข้อจำกัด

1. อาจเสียค่าใช้จ่ายมาก
2. การออกแบบสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่มีคุณภาพเหมาะสมตามหลักทางจิตวิทยา และการเรียนรู้นับว่ายังมีน้อย
3. การออกแบบสื่อต้องอาศัยเวลา สติปัญญา และความสามารถเป็นอย่างยิ่ง
4. มีตัวแปรที่เป็นปัญหานอกเหนือจากการควบคุมมาก เช่น ไฟฟ้าขัดข้อง
ระบบ Server เป็นต้น
5. เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก
ทำให้ผู้ผลิตสื่อมัลติมีเดียต้องหาความรู้ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเสมอ
6. ต้องการทีมงานที่มีความชำนาญในแต่ละด้านเป็นอย่างมาก 

ประเภทของสื่อการเรียนการสอน

การนำ เสนอ งาน มัลติมีเดีย แบบ อิสระ มี ข้อดี ข้อ เสีย อย่างไร

สื่อไม่ใช้เครื่องฉาย

·       สิ่งพิมพ์ต่าง ๆเช่น หนังสือ ตำราเรียน คู่มือ ฯ

·       ของจริง ของตัวอย่าง

·       ของจำลองหุ่นจำลองขนาดเท่าหรือขยายเท่าของจริง

·       วัสดุกราฟิก เช่นแผนภาพ แผนภูมิโปสเตอร์ ภาพถ่ายภาพเขียน การ์ตูน

·       กระดานดำ  กระดานขาว

·       กระดานแม่เหล็กกระดานผ้าสำลี

·       การศึกษานอกสถานที่

สื่อใช้เครื่องฉาย

                              ·       เครื่องฉายทึบแสง

·       แผ่นโปร่งใส

·       สไลด์

·       โทรทัศน์วงจรเปิด

·       โทรทัศน์วงจรปิด

·       วิดีทัศน์(Video Tape)

สื่อใช้เครื่องเสียง

·       วิทยุ

·       เทปบันทึกเสียง

·       แผ่นซีดี

 สื่อเชิงโต้ตอบ

·       คอมพิวเตอร์Computer

·       บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนCAI : Computer Assisted Instruction

·       CD-ROM

·       แผ่นวิดีทัศน์VCD :Videodisc   Laserdise

·       แผ่นวิดีทัศน์เชิงโต้ตอบInteractive VideoInteractive Videodisc

·       อินเทอร์เน็ตInternet

·       จดหมายอิเล็กทรอนิกส์        E-mail

·       การสอนใช้เว็บเป็นฐานการสอนบนเว็บ          Web - base Instruction

ชนิดของสื่อเพื่อการเรียนรู้ 

การนำ เสนอ งาน มัลติมีเดีย แบบ อิสระ มี ข้อดี ข้อ เสีย อย่างไร

1. การสาธิต คือ การอธิบายถึงข้อเท็จจริงหรือแบ่งความคิด
หรือกระบวนการต่างๆ ให้ผู้ฟังแลเห็นไปด้วย

2. การศึกษานอกสถานที่ การพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่
เป็นการสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต

3. นิทรรศการ การจัดแสดงสิ่งต่างๆเพื่อให้ความรู้แก่ผู้ชม

4. โทรทัศน์และภาพยนตร์ ได้เห็นทั้งภาพและได้ยินเสียงในเวลาเดียวกัน
และยังสามารถแพร่ และถ่ายทอดเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นได้ด้วย

5. ภาพนิ่ง การบันทึกเสียง และวิทยุ
ภาพนิ่งสามารถจำลองความเป็นจริงมาให้เราศึกษาบนจอได้ 

6. ทัศนสัญลักษณ์ เช่น แผนภูมิแผนภาพ แผนที่ แผนผัง การ์ตูน เป็นต้น
ถ่ายทอดความหมายให้เข้าใจได้รวดเร็วขึ้น

7. วจนสัญลักษณ์ ได้แก่ตัวหนังสือหรืออักษร สัญลักษณ์ทางคำพูดที่เป็นเสียงพูด
ต้องใช้ในการสื่อความหมายอยู่ตลอดเวลา 

แหล่งอ้างอิง

www.nites2.net/book/สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา.docx

http://sayan201.blogspot.com/

ในการผลิตมัลติมีเดียเพื่อเป็นสื่อประกอบการพูดการนำเสนอนั้น เน้นการออกแบบสื่อด้วยรูปแบบที่หลากหลาย ผสมผสานข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดิทัศน์ เข้าด้วยกันเพื่อให้น่าสนใจ น่าติดตาม และง่ายต่อการสื่อความหมาย หากใช้ประกอบการบรรยายของครูผู้สอนก็จะทำหน้าที่ช่วยขยายเนื้อหาการบรรยายให้สามารถเข้าใจได้ชัดเจนขึ้น ส่วนการผลิตในรูปแบบบทเรียนมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองนั้นจะออกแบบการนำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมในบทเรียนตามหลักทฤษฎีการเรียนรู้ เน้นให้บทเรียนมีลักษณะการโต้ตอบมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้หรือผู้เรียนมากขึ้น มีการใช้งานที่ง่าย สะดวก และเหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน

ถนอมพร  เลาหจรัสแสง (2541) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะสำคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่าวยสอน (Computer-assisted Instruction : CAI) ซึ่งเป็นมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมากในอดีตและยังคงมีการศึกษาและพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน คุณลักษณะดังกล่าวถือเป็นหลักการพื้นฐานที่สามารถนำมาใช้เป็นเกณฑ์เบื้องต้นที่จะพิจารณาว่าสื่อใดเป็นหรือไม่เป็นมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประการ (4ls) ได้แก่

1) Information (สารสนเทศ) หมายถึง เนื้อหาสาระ (content) ที่ได้รับการเรียบเรียงแล้วเป็นอย่างดี ซึ่งทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือได้รับทักษะอย่างหนึ่งอย่างใดที่ผู้สร้างได้กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ โดยอาจจะนำเสนอเนื้อหาในลักษณะทางตรงหรือทางอ้อมก็ได้

2) Individualization (ความแตกต่างระหว่างบุคคล) การตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลทั้งจากบุคลิกภาพ สติปัญญา ความสนใจ พื้นฐานความรู้ คือลักษณะสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยผู้เรียนจะมีอิสระในการควบคุมการเรียนของตนเอง รวมทั้งการเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับตนเองได้ เช่น สามารถควบคุมเนื้อหา ควบคุมลำดับของการเรียน ควบคุมการฝึกปฏิบัติ หรือการทดสอบ เป็นต้น

3) Interaction (การมีปฏิสัมพันธ์) เนื่องจากผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น หากได้มีการโต้ตอบหรือปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน ดังนั้น สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบมาเป็นอย่างดีจะเอื้ออำนวยให้เกิดการโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอย่างต่อเนื่องและตลอดทั้งบทเรียนการอนุญาตให้ผู้เรียนเพียงแต่คลิกเปลี่ยนหน้าจอไปเรื่อยๆทีละหน้า ไม่ถือว่าเป็นปฏิสัมพันธ์ที่เพียพอสำหรับการเรียนรู้ แต่ต้องมีการให้ผู้เรียนได้ใช้เวลาในส่นของการคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์เพื่อให้ได้มาซึ่งกิจกรรมการเรียนนั้นๆ

4) Immediate Feedback (ผลป้อนกลับโดยทันที) การให้ผลป้อนกลับนี้เป็นสิ่งที่ทำให้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแตกต่างไปจากมัลติมีเดีย-ซีดีรอมส่วนใหญ่ ซึ่งได้มีการนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องราวของสิ่งต่างๆ แต่ไม่ได้มีการประเมินความเข้าใจของผู้เรียน ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของการทดสอบ แบบฝึกหัด หรือการตรวจสอบความเข้าใจในรูปแบบใด