Python IDE จะทำงานตามคำสั่งได้ใน 2 โหมดคืออะไร

นอกจากนี้ใน mac หรือ linux มีวิธีตั้งให้รันโค้ดโดยตรงโดยพิมพ์แค่ชื่อไฟล์โค้ด รายละเอียดอ่านได้ใน https://phyblas.hinaboshi.com/20190108

ข้อเสียอย่างหนึ่งของการรันโค้ดไพธอนผ่านคอมมานด์ไลน์ก็คือ เมื่อรันเสร็จโปรแกรมจะสิ้นสุดการทำงานทันที ตัวแปรทั้งหมดจะหายไป ไม่สามารถทำงานต่อเนื่องได้

และอีกอย่างคือ การรันไพธอนผ่านคอมมานด์ไลน์จะละเลย PYTHONSTARTUP ที่เอาไว้ตั้งโค้ดที่จะรันตอนเริ่มต้นไพธอน ด้วยวิธีดังที่แนะนำไปใน https://phyblas.hinaboshi.com/20190107

หากพิมพ์แค่ python เฉยๆ ไม่ได้ตามด้วยชื่อไฟล์ แบบนี้จะเป็นการเปิดเชลโต้ตอบของไพธอนขึ้นมา

ป้อนค่าเพิ่มเติมเข้าไปให้โปรแกรมเวลารัน

ข้อดีของการรันไพธอนผ่านคอมมานด์ไลน์ก็คือ สามารถป้อนค่าเข้าไปให้โปรแกรม นอกเหนือจากที่เขียนอยู่ในโค้ด

ปกติแล้วเวลาที่รันไฟล์ ชื่อไฟล์ที่รันจะถูกเก็บอยู่ในตัวแปร sys.argv ซึ่งอยู่ในมอดูล sys (ต้อง import มาถึงใช้ได้)

เช่นลองสร้างไฟล์ขึ้น

# p.py
import sys
print(sys.argv)

บันทึกแล้วพิมพ์รันในคอมมานด์ไลน์

python p.py
# ได้ ['p.py']


จะได้ว่า sys.argv เป็นลิสต์ที่มีสมาชิกอยู่ตัวเดียวคือชื่อไฟล์

แต่ว่าถ้าเราลองพิมพ์หาค่า sys.argv ดูในเชลโต้ตอบจะได้ลิสต์เปล่า

import sys
print(sys.argv)
# ได้ ['']

ที่เป็นแบบนี้เพราะว่าค่านี้จะมีเฉพาะเมื่อสั่งรันไฟล์

แต่ว่าหากลองไม่ใช่แค่พิมพ์ชื่อไฟล์เฉยๆ แต่ใส่อะไรต่อท้ายลงไป

python p.py ชิพกะเดลนี่สองพี่น้องขายของในคลอง
# ได้ ['p.py', 'ชิพกะเดลนี่สองพี่น้องขายของในคลอง']


จะเห็นว่าสิ่งที่ใส่ไปก็จะปรากฏเป็นค่าตัวที่สองใน sys.argv

ถ้าเว้นวรรคก็จะแยกเป็นหลายตัว

python p.py ชิพ กะ เดล
# ได้ ['p.py', 'ชิพ', 'กะ', 'เดล']


ด้วยความสามารถตรงนี้ ทำให้สามารถเขียนโปรแกรมที่ให้ผลต่างออกไปในการรันแต่ละครั้งโดยที่ไม่ต้องไปแก้ตัวโค้ดได้

ตัวอย่างเช่น โปรแกรมที่ให้บวกเลขทุกตัวที่ป้อนเข้าไปอาจเขียนแบบนี้

# บวกเลข.py
import sys
print(sum(map(int,sys.argv[1:])))

python บวกเลข.py 5 6 1
# ได้ 12


เอาไปประยุกต์ใช้งานต่างๆได้มากมาย

ตัวเลือกเสริมของคำสั่ง python

เวลาใช้คำสั่ง python ในคอมมานด์ไลน์ ถ้าเติมตัวเลือกเสริมต่อเข้าไปจะทำให้ได้ผลต่างกันออกไป ทำอะไรต่างๆได้

ในที่นี้จะยกส่วนนึงมาให้ดู

เริ่มจาก ถ้าอยากได้ข้อมูลว่าคำสั่งไหนทำอะไรบ้างให้เติม -h หรือ --help

หรือ

หากอยากรู้เวอร์ชันของไพธอนที่ใช้อยู่สามารถเติม -V หรือ --version

python -V
# ได้ Python 3.7.1


หรือ

python --version
# ได้ Python 3.7.1


ระวังอย่าสับสนกับ -v เพราะตัวพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่มีผลต่างกันหมด

ตัวเลือก -v นี้หมายถึงว่าให้เวลารันไพธอนมีการป้อนค่าตัวหนังสือบอกรายละเอียดออกมาเพิ่มมากกว่าปกติ เช่นเวลาเริ่มการทำงานไพธอนและสิ้นสุดการทำงาน

ในทางกลับกัน ตัวเลือก -q จะทำให้ปรากฏข้อความออกมาน้อยลง คือจะไม่แสดงเวอร์ชันและคำอธิบายลิขสิทธิ์ซึ่งมักจะโผล่ขึ้นมาทุกครั้งเวลาเปิดเชลโต้ตอบ

หากต้องการรันไพธอนโดยละเลยพวกตัวแปรสภาพแวดล้อมต่างๆที่เกี่ยวกับไพธอน เช่น PYTHONPATH ให้ใส่ -E

หากต้องการรันโค้ดไพธอนโดยไม่ต้องเขียนลงไฟล์ให้ใส่ตัวเลือก -c แล้วต่อด้วยโค้ดที่ต้องการ

python -c "print(1+2)"
# ได้ 3


ตัวสุดท้ายที่จะแนะนำคือ -B

ปกติเวลาที่รันมอดูลที่สร้างขึ้นมาใหม่เป็นครั้งแรกจะมีการสร้าง .pyc เป็นการทำ cache มอดูลไว้ รายละเอียดอ่านได้ที่ https://phyblas.hinaboshi.com/tsuchinoko34

หากใส่ตัวเลือก -B จะทำให้ไม่มีการสร้างไฟล์ .pyc โดยอัตโนมัติเวลาที่ทำการ import มอดูล

มีผลทั้งเวลารันเชลโต้ตอบ (ไม่ใส่ชื่อไฟล์) และเวลารันไฟล์

นอกจากนี้ยังมีตัวเลือกเสริมอื่นๆอีกมากมาย ที่เหลือพิมพ์ python -h ดูได้

ใช้ ipython

หากใครมี ipython ก็สามารถพิมพ์ว่า ipython ในคอมมานด์ไลน์เพื่อเปิดเชลโต้ตอบในโหมดของ ipython ในนั้นได้

หลังจากติดตั้งเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษา python กันไปในบทที่ 1 แล้วในบทนี้เราจะมาเริ่มต้นใช้งาน Python shell กันนะครับ โดย Python shell นี้จะทำการรับคำสั่งและรันคำสั่งเหมือนการใช้งานผ่าน Command prompt แต่จะต่างกันที่มี GUI ที่ช่วยให้ป้อนคำสั่งและตรวจสอบมาผลที่ออกมาได้ง่ายขึ้น

เปิดใช้งาน Python shell

Python shell หรือ IDLE (Integrated Development Environment) การทำงานของ Python shell นั้นสามารถใช้งานได้ 2 โหมดคือ

1. interactive เป็นการทำงานด้วยการรับทีละคำสั่งและแสดงผลในทันที

Python IDE จะทำงานตามคำสั่งได้ใน 2 โหมดคืออะไร

กิจกรรม

ให้นักเรียนทดลองพิมพ์คำสั่งต่อไปนี้ แล้ววิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ได้

                   print (“5+5”)

                   print (5+5)



ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์

ตัวดำเนินการความหมาย+บวก–ลบ*คูณ/หาร**ยกกำลัง//หารปัดเศษทิ้ง%เศษที่ได้จากการหาร


ชนิดข้อมูล

          ภาษาไพทอนมีการแบ่งประเภทของข้อมูลออกเป็นหลายประเภท โดยมีประเภทข้อมูลพื้นฐานคือ ข้อมูลประเภทข้อความ (String) และข้อมูลประเภทจำนวน (Numerical)

          ข้อมูลประเภทข้อความ

          การกำหนดข้อมูลที่เป็นข้อความหรือสตริงให้ใช้เครื่องหมายอัญประกาศครอบข้อความที่ต้องการกำหนด โดยเลือกใช้ได้ทั้งอัญประกาศเดี่ยว (‘) หรือคู่ (“) โดยกรณีที่มีข้อความยาวหลายบรรทัดต้องใช้ “ หรือ ‘ ติดต่อกัน 3 ตัว เช่น name = “’KRUI3’”

          ข้อมูลชนิดจำนวน

          ภาษาไพทอนมีข้อมูลจำนวนที่สามารถนำไปคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้หลายชนิด อาทิ จำนวนเต็ม (integer หรือ int) สามารถเก็บค่าจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบได้ และจำนวนจริง (float) สามารถเก็บค่าทั้งจำนวนจริงบวกและลบ ที่อยู่ในรูปแบบของทศนิยมได้

ตัวอย่างการใช้ข้อมูลชนิดจำนวน

Python IDE จะทำงานตามคำสั่งได้ใน 2 โหมดคืออะไร

                   ผลลัพธ์ที่ได้

Python IDE จะทำงานตามคำสั่งได้ใน 2 โหมดคืออะไร

กิจกรรม

ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอนเพื่อคำนวณหาพื้นที่วงกลม ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 5 เซนติเมตร


ตัวแปร

          ตัวแปร (variable) ใช้ในการอ้างอิงค่าข้อมูล โดยตัวแปรจะถูกกำหนดค่าด้วยเครื่องหมาย =

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง

Python IDE จะทำงานตามคำสั่งได้ใน 2 โหมดคืออะไร

          ผลลัพธ์ที่ได้

Python IDE จะทำงานตามคำสั่งได้ใน 2 โหมดคืออะไร

กิจกรรม

ให้นักเรียนสร้างตัวแปรชื่อ name ที่มีค่าเป็น krui3.com แล้วใช้คำสั่ง print() เรียกตัวแปร name ให้แสดงผล


คำสั่งรับข้อมูล

          input () เป็นคำสั่งชนิดฟังก์ชัน ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้าที่ผู้ใช้ป้อนผ่านทางคีย์บอร์ด

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง

Python IDE จะทำงานตามคำสั่งได้ใน 2 โหมดคืออะไร

                   ผลลัพธ์ที่ได้

Python IDE จะทำงานตามคำสั่งได้ใน 2 โหมดคืออะไร





อ้างอิง

ดาวน์โหลดโปรแกรม PyCharm Edu https://www.jetbrains.com/pycharm-edu/download/#section=windows

Watsan Homsin, “แนะนำภาษา Python”, http://marcuscode.com/lang/python/introduction, สืบค้นวันที่ 8 มิ.ย. 61

mindphp.com, “Python คืออะไร ไพธอน คือภาษา สำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่ง
Python คืออะไร ไพธอน คือภาษา สำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่ง”, http://www.mindphp.com, สืบค้นวันที่ 8 มิ.ย. 61

Chai Phonbopit, “หัดเขียน Python เบื้องต้นฟรีด้วยโปรแกรม PyCharm Edu”, https://devahoy.com/posts/learn-python-with-pycharm-edu/, สืบค้นวันที่ 9 มิ.ย. 61

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, “เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ)”, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561 หน้า 38

Python IDE จะทำงานตามคำสั่งได้กี่โหมด

ไพทอน IDE จะทำงานตามคำสั่งได้ 2 โหมด คือ โหมดอิมมีเดียท เป็นโหมดที่ผู้ใช้พิมพ์คำสั่งลงไปทีละคำสั่ง และตัวแปลภาษาไพทอนก็จะแปลคำสั่งนั้น ในกรณีที่ผู้ใช้เขียนคำสั่งต่าง ๆได้ถูกต้อง โปรแกรมก็จะแสดงผลลัพธ์ทันที แต่หากผู้ใช้เขียนคำสั่งผิด โปรแกรมก็จะขึ้นแจ้งเตือนผู้ใช้งาน

โหมดใดทำงานทีละคำสั่ง

1. โหมดอิมมีเดียท (immediate mode) เป็นโหมดที่ผู้ใช้จะพิมพ์คำสั่งลงไปในส่วนที่เรียกว่าเชลล์ (shell) หรือคอนโซน (console) ทีละคำสั่ง และตัวแปลภาษาจะแปลคำสั่ง หากไม่มีข้อผิดพลาดจะทำงานตามคำสั่งดังกล่าว

โหมดที่ผู้ใช้งานต้องพิมพ์คำสั่งไพทอนหลายคำสั่งประกอบกันให้เป็นโปรแกรมที่สมบูรณ์เรียกว่าอะไร

รู้จักไพทอน (Python) 2. โหมดสคริปต์ (script mode) ในโหมดนี้ผู้เขียนโปรแกรมต้องพิมพ์คำสั่งหลายคำสั่งประกอบกันแล้วบันทึกเป็นไฟล์ไว้ก่อน เพื่อจะสั่งให้ตัวแปลภาษาทำงานตามคำสั่งตั้งแต่คำสั่งแรก จนถึงคำสั่งสุดท้าย ถ้าหากต้องการตรวจสอบความถูกต้องสามารถใช้โหมดอิมมีเดียทในการทดสอบได้

ไพธอน ทำอะไรได้บ้าง

ด้วยความสามารถของ Python ที่สามารถประมวลผลและถ่ายทอดงานที่ซับซ้อนออกมาได้เป็นอย่างดี และยังมี Library ที่สนับสนุนอยู่มาก จึงเป็นภาษาที่คนส่วนใหญ่นิยมนำไปประยุกต์ใช้กับศาสตร์แขนงอื่นๆได้อย่างง่ายดาย เช่น Machine learning Project อย่างการสร้าง emoji หน้าตัวเองด้วย Python หรือการ run code AI ก็จะมีประสิทธิภาพและรวดเร็วมาก ...