กระแสไฟเชื่อม ขนาด 350 แอ ม ป์ ควรเลือกใช้ กระจก กรองแสง หมายเลข ใด

บทท่ี 3
การเชอ่ื มอาร์กลวดห้มุ ฟลักซ์

สาระสาคญั

การเช่ือมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์ (Shielded Metal Arc Welding: SMAW) คือการเช่ือมด้วยไฟฟ้า
ในลักษณะทีท่ าใหเ้ กดิ การอาร์กและได้รบั ความรอ้ นจากการอาร์กระหว่างลวดเช่ือมชนิดมีสารพอกหุ้มกับ
ช้ินงาน สารพอกห้มุ บนลวดเชอ่ื มเม่ือละลายจะทาหน้าท่ีเป็นเกาะป้องกันบรรยากาศ ลวดเชื่อมทาหน้าท่ี
เป็นโลหะเติมด้วย การเช่ือมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์เป็นกระบวนการเชื่อมวิธีหนึ่งที่นิยมงานใช้กันอย่าง
กว้างขวาง เพราะการเชื่อมกระทาได้โดยง่าย มีความสะดวกและคล่องตัวสูง เครื่องมืออุปกรณ์ท่ีใช้ใน
กระบวนการเชอ่ื มมรี าคาถกู วิธกี ารเช่อื มที่ไมส่ ลับซบั ซ้อนและสามารถเชื่อมงานได้ทกุ ท่าเชอ่ื ม เป็นต้น

ในบทเรียนน้ีจะอธิบายเกี่ยวกับหลักการเชื่อมอาร์ลวดหุ้มฟลักซ์ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการ
เชือ่ มอารก์ ลวดหุ้มฟลกั ซ์ ลวดเช่อื มและมาตรฐานของลวดหุ้มฟลกั ซ์ ตาแหน่งทา่ เช่ือมและรอยต่อในงาน
เช่อื ม องคป์ ระกอบทม่ี ผี ลต่อแนวเชือ่ ม เทคนคิ การเช่อื มอาร์กลวดหุ้มฟลกั ซ์ ข้อบกพรอ่ งในการเช่ือมและ
วธิ ีการแกไ้ ข และอันตรายและความปลอดภยั ในงานเชอื่ มอาร์กลวดหมุ้ ฟลักซ์

เนอื้ หา

1. หลักการเชอ่ื มอารล์ วดหมุ้ ฟลกั ซ์
2. เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเชอ่ื มอารก์ ลวดหุ้มฟลกั ซ์
3. ลวดเชื่อมและมาตรฐานของลวดหุ้มฟลักซ์
4. ตาแหน่งทา่ เชอ่ื มและรอยต่อในงานเชอ่ื ม
5. องค์ประกอบทีม่ ีผลต่อแนวเชือ่ ม
6. เทคนิคการเชื่อมอาร์กลวดหมุ้ ฟลกั ซ์
7. ขอ้ บกพร่องในการเชื่อมและวิธีการแก้ไข
8. อันตรายและความปลอดภยั ในงานเชื่อมอาร์กลวดหมุ้ ฟลกั ซ์

จุดประสงค์ของบทเรียน

1. อธิบายหลักการเชือ่ มอารก์ ลวดหมุ้ ฟลักซ์ได้
2. บอกชอ่ื เครอ่ื งมอื และอปุ กรณใ์ นการเชอ่ื มอารก์ ลวดหมุ้ ฟลกั ซ์ได้
3. อธบิ ายขอ้ แตกต่างของเครอื่ งเชือ่ มได้
4. อธิบายวธิ ีการตอ่ วงจรเชอื่ มได้
5. บอกช่ือและหน้าทีข่ องอปุ กรณ์ทใี่ ช้ประกอบเขา้ กับเครอื่ งเชื่อมได้
6. อธิบายวธิ กี ารกาหนดรหัสลวดหุ้มฟลกั ซ์ตามมาตรฐานของ AWS (A5.1-1991) ได้
7. บอกตาแหน่งทา่ เชอื่ มและรอยต่อในงานเชอื่ มได้
8. บอกองค์ประกอบทีม่ ผี ลตอ่ แนวเชอื่ มได้
9. อธิบายขอ้ บกพรอ่ งในการเช่อื มและวธิ กี ารแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งในการเชอื่ มได้
10. บอกอนั ตรายและความปลอดภยั ในงานเชอ่ื มอารก์ ลวดหมุ้ ฟลักซ์ได้

84

1. หลกั การเชือ่ มอาร์กลวดห้มุ ฟลกั ซ์

การเช่ือมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์ (Shielded Metal Arc Welding: SMAW) คือการเช่ือมด้วยไฟฟ้า
ในลักษณะทที่ าใหเ้ กดิ การอาร์กและไดร้ ับความรอ้ นจากการอาร์กระหว่างลวดเชื่อมชนิดมีสารพอกหุ้มกับ
ชิ้นงาน สารพอกหุ้มบนลวดเชื่อมเมอ่ื ละลายจะทาหน้าท่ีเป็นเกาะป้องกันบรรยากาศ ลวดเชื่อมทาหน้าที่
เป็นโลหะเติมดว้ ย สารพอกหุ้มเมอ่ื แข็งตวั แลว้ จะกลายเปน็ สแลก (Slag) หรือขีเ้ ชือ่ ม ดังรปู ที่ 3.1

ทศิ ทางการเช่อื ม

รปู ที่ 3.1 แสดงหลกั การเช่อื มอารก์ ลวดเชอื่ มหุ้มฟลกั ซ์
(ทีม่ า : Jefferson’s, 1997, p. 453)

2. เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ในการเช่อื มอาร์กลวดหมุ้ ฟลักซ์

การเชื่อมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์ เป็นการด้วยไฟฟ้าที่อาศัยเครื่องเช่ือมเป็นต้นกาลังในการผลิต
กระแสเช่ือม โดยเครื่องเช่ือมน้ีจะทาหน้าที่จ่ายกระแสไฟจากสายเช่ือมแล้วไหลต่อไปยังลวดเชื่อมและ
ช้ินงานเพ่อื ใหเ้ กดิ การอารก์ ขึ้นขณะเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณ์เบ้ืองต้นในการเช่ือมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์
แสดงดงั รปู ท่ี 3.2

รปู ที่ 3.2 แสดงเครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ในการเชอ่ื มอารก์ ด้วยลวดห้มุ ฟลกั ซ์
(ท่ีมา : Jefferson’s, 1997, p. 452)

85
2.1 เครือ่ งเช่อื ม (Welding Machine)

เครอ่ื งเช่อื มทาหน้าที่จ่ายกระแสไฟเช่อื มไปยงั ลวดเชื่อมและช้ินงานเพ่ือใหเ้ กิดการอาร์ก และทาให้
เกิดความร้อนจนกระท่ังลวดเช่ือมและเน้ือโลหะงานหลอมเหลวติดกันในขณะเช่ือม เคร่ืองเชื่อมท่ีใช้ใน
การเชือ่ มอารก์ ลวดหุ้มฟลักซ์ แบง่ ตามลกั ษณะของตน้ กาลังท่ีผลิตออกเป็น 2 ชนดิ ดงั น้ี

2.1.1 เคร่ืองเชื่อมไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Welding Machine) เครื่อง
เชอ่ื มชนดิ นแ้ี บ่งออกเปน็ 3 แบบดังนี้

1. เครื่องเช่ือมแบบขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า (Motor Generator Welding Machine)
เครื่องเช่ือมชนิดน้ีใช้ไฟฟ้ากระแสสลับเป็นต้นกาลังในการขับมอเตอร์ และส่งกาลังต่อไปยังไปขับเพลา
เจนเนอเรเตอร์อีกครั้ง จากน้ันเจนเนอเรเตอร์ก็จะจ่ายไฟฟา้ กระแสตรงเพ่ือนาไปใช้ในงานเช่อื มตอ่ ไป

รูปที่ 3.3 แสดงลกั ษณะของเครือ่ งเชือ่ มแบบขับด้วยมอเตอรไ์ ฟฟ้า
(ที่มา : http://www.thomex.com/ebrochures/ranga-enterprises/, วนั เข้าถงึ 7 มนี าคม 2558)

2. เครื่องเชื่อมแบบขับด้วยเครื่องยนต์ (Engine Generator Welding Machine)
เครื่องเช่ือมชนิดนี้ทางานโดยใช้เครื่องยนต์ขับเจนเนอเรเตอร์ ซ่ึงจะได้ไฟฟ้ากระแสตรงออกมา
เคร่อื งยนตท์ ่ใี ช้มีทงั้ ขับดว้ ยเคร่อื งยนต์ดีเซลและเครือ่ งยนต์แก๊สโซลีน เหมาะกับงานเชื่อมภาคสนามที่ไม่
สามารถหาไฟฟ้าได้

รูปที่ 3.4 แสดงลักษณะของเครอ่ื งเชอื่ มแบบขับดว้ ยเครอื่ งยนต์
(ทม่ี า : http://www.plazathai.com/show-569140.html, วนั เขา้ ถึง 7 มนี าคม 2558)

86

2.1.2 เคร่ืองเช่ือมกระแสตรงแบบเรียงกระแส (Rectifier Welding Machine)
เครื่องเชื่อมชนิดนี้ประกอบด้วยแบบหม้อแปลงไฟฟ้าและชุดแปลงกระแส คือซิลิคอน (Silicon) หรือ
ซีลีเนียม (Selenium) ที่ทาหน้าที่แปลงไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง ปัจจุบันเคร่ืองเชื่อม
ชนดิ น้ีสามารถใช้ได้กับกระแสไฟฟ้าได้ 2 ระบบ คือมีท้ังไฟฟ้ากระแสสลับและไฟฟ้ากระแสตรง รวมใน
เคร่ืองเดียวกันทาให้สามารถเลือกใช้ตามความต้องการ ทาให้มีความสะดวกต่อการใช้งาน แต่อย่างไร
ก็ตามเคร่ืองเชื่อมชนดิ นจี้ ะมรี าคาแพงกวา่ เครอ่ื งเช่ือมแบบหมอ้ แปลงธรรมดา

รูปที่ 3.5 แสดงไดอะแกรมการทางานของเคร่ืองเช่ือมกระแสตรงแบบเรียงกระแส
(ทมี่ า : อานาจ ทองแสน, จรญู พรมสุทธิ์, 2546, น. 121)

รปู ที่ 3.6 แสดงลักษณะของเคร่ืองเชือ่ มกระแสตรงแบบเรียงกระแส
(http://www.parakeet.in/thyristorised-welding-rectifier.htm, วันเข้าถงึ 25 มีนาคม 2558)

87

2.1.3 เครื่องเชื่อมไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current Welding Machine)
เครื่องเช่ือมชนดิ นี้ ใช้หม้อแปลงทาหนา้ ท่ีผลิตไฟฟ้ากระแสสลับ ภายในเคร่ืองเช่ือมประกอบด้วยขดลวด
ปฐมภมู แิ ละขดลวดทตุ ยิ ภมู ิ ซึ่งสามารถปรับขนาดของกระแสไฟฟ้าออกมาใช้งานได้ โดยขดลวดปฐมภูมิ
จะรับกระแสไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดเพ่ือป้อนกระแสไฟฟ้าเข้าสนามแม่เหล็ก ได้แก่ แกนของหม้อแปลง
ในขณะท่ีขดลวดทุติยภูมิน้ันไม่ได้ต่อจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้าโดยตรง แต่เกิดจากการเปลี่ยนเส้นแรง
แม่เหลก็ ของสนามแม่เหลก็ ไหลผา่ นตวั นา ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าสงู กว่าตน้ กาเนดิ และนากระแสไฟฟ้าไป
ใช้ในการเชื่อม กระแสไฟฟา้ ที่นาออกมาใช้ถูกควบคุมโดยตัวควบคุมท่ีสามารถปรับกระแสไฟฟ้าให้สูงต่า
ได้ตามความตอ้ งการ เคร่อื งเชอ่ื มไฟฟ้ากระแสสลบั แบ่งตามวธิ กี ารปรบั กระแสไฟฟา้ ได้ 3 ชนิดดงั น้ี

1. เครื่องเชื่อมแบบปรับกระแสโดยขดลวดตัวเรียงกระแส (Adjustable Reactor
Type) เป็นเครือ่ งเชื่อมที่ต่อขดลวดตัวปรับเรียงกระแส (Reactor) เข้ากับขดลวดทุติยภูมิท่ีมีจานวนของ
ขดลวดแตกตา่ งกัน ดังนัน้ ถ้าจานวนรอบของขดลวดทุติยภูมิน้อยกว่าก็จะเกิดการเปิดวงจรไฟฟ้า (Open
Circuit Voltage) ทาให้การเหน่ียวนาของกระแสไฟฟ้าของหม้อแปลงมีน้อยเช่นกัน ส่งผลให้ค่า
กระแสไฟฟ้าในการเช่ือมสูง ในทางกลับกันถ้าจานวนขดลวดทุติยภูมิมากกว่าจะทาให้เกิดการเปิด
วงจรไฟฟ้าทาให้การเหนี่ยวนาของกระแสไฟฟ้าของหม้อแปลงมีมากและส่งผลให้ค่ากระแสไฟฟ้าในการ
เชือ่ มต่า เปน็ ตน้

รปู ที่ 3.7 แสดงไดอะแกรมการทางานของเครอ่ื งเชือ่ มแบบปรับขดลวดตวั เรยี งกระแส
(ทม่ี า : อานาจ ทองแสน, จรูญ พรมสทุ ธ,์ิ 2546, น. 122)

2. เคร่ืองเชื่อมแบบปรับกระแสโดยการเคลื่อนท่ีของขดลวด (Movable Coil Type)
เป็นเครื่องเช่ือมที่ควบคุมกระแสไฟฟ้าโดยการปรับระยะห่างของขดลวดปฐมภูมิและขดลวดทุติยภูมิ

88

ซึ่งขดลวดทุติยภูมิจะอยู่กับท่ี ส่วนขดลวดปฐมภูมิสามารถเคล่ือนท่ีได้ ในกรณีท่ีระยะห่างของขดลวด
ทั้งสองห่างกันมากก็จะทาให้กระแสไฟฟ้าลัดวงจร (Short Circuit Current) ในการใช้งานสามารถปรับ
กระแสไฟฟ้าเช่ือมได้ โดยการหมุนมือหมุนปรับระยะห่างของขดลวด เพื่อให้ได้ค่ากระแสไฟฟ้าเช่ือม
ทเ่ี หมาะสมกับช้ินงานและขนาดลวดเชื่อม

รูปที่ 3.8 แสดงไดอะแกรมหารทางานของเครือ่ งเชื่อมแบบปรบั กระแสการเคล่อื นทข่ี องขดลวด
(ท่ีมา : อานาจ ทองแสน, จรูญ พรมสทุ ธิ์, 2546, น. 123)

3. เคร่อื งเชื่อมแบบปรับกระแสโดยการเคล่ือนท่ีของแกน (Movable Core Type) เป็น
เครอ่ื งเชื่อมท่ีให้ขดลวดปฐมภูมิและขดลวดทุติยภูมิอยู่คงที่ แต่ใช้แกนหลักซึ่งยึดติดกับสกรูปรับเคล่ือนท่ี
แทน ถา้ การหมนุ ปรับมชี อ่ งวา่ งมากกจ็ ะทาใหเ้ ส้นแรงแม่เหล็กเกิดขึ้นได้นอ้ ยและได้กระแสไฟฟา้ เช่อื มตา่

รปู ที่ 3.9 แสดงไดอะแกรมการทางานของเครอ่ื งเชอ่ื มแบบปรับกระแสโดยการเคล่ือนทข่ี องแกน
(ท่ีมา : อานาจ ทองแสน, จรญู พรมสทุ ธ์ิ, 2546, น. 123)

89

4. เคร่ืองเชื่อมอินเวอร์เตอร์ (Inverter Welding Machine) เป็นเครื่องเช่ือมที่นาระบบ
อิเล็กทรอนิกส์มาแทนหม้อแปลงไฟฟ้า โครงสร้างของเครื่องมีขนาดเล็ก น้าหนักเบาและประหยัด
พลงั งาน หลกั การทางานของเคร่อื งเช่ือมชนิดนี้ คือแปลงกระแสไฟสลับเป็นกระแสตรง จากนั้นใช้วงจร
อิเล็กทรอนิกส์เปล่ียนกระแสตรงให้เป็นกระแสสลับความถ่ีสูง แล้วผ่านวงจรเพื่อแปลงกระแสสลับให้
เปน็ ไฟฟา้ กระแสตรงอกี คร้ัง

รปู ที่ 3.10 แสดงลกั ษณะของเครอื่ งเช่ือมอนิ เวอรเ์ ตอร์
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อทุ ัยวัฒน์, 2558)

2.2 การต่อวงจรกระแสไฟฟ้าของการเชื่อมและผลของการเชอ่ื ม

การตอ่ วงจรกระแสไฟฟ้าในการเชอ่ื มแบง่ ออกเป็น 3 แบบโดยแตล่ ะแบบมีผลต่อการเช่อื มดงั น้ี
2.2.1 การตอ่ วงจรไฟฟา้ กระแสตรงตอ่ ขวั้ ตรง หรอื การต่อไฟฟา้ กระแสตรงลวดเชื่อม

เป็นข้ัวลบ (Direct Current Straight Polarity: DCSP or DCEP) เป็นการต่อวงจรกระแสไฟฟ้าให้
ลวดเชอ่ื มเปน็ ข้วั ลบ (-) และตอ่ ชน้ิ งานเป็นขว้ั บวก (+) ทาให้กระแสไฟฟา้ ไหลจากลวดเชื่อมไปยังช้ินงาน
ปริมาณความร้อนประมาณ 2 ใน 3 ส่วนอยู่ท่ีชิ้นงานและท่ีเหลืออีก 1 ส่วนอยู่ที่ลวดเชื่อม ผลของการ
เช่ือม คือทาให้ชิ้นงานเกิดการซึมลึกที่ดี การต่อข้ัวไฟฟ้าแบบน้ีเหมาะกับการเช่ือมช้ินงานท่ีมีความหนา
มาก ดังแสดงในรูปท่ี 3.11

2.2.2 การต่อวงจรไฟฟ้ากระแสตรงต่อกลับข้ัว หรือการต่อไฟฟ้ากระแสตรงลวด
เช่ือมเป็นข้ัวบวก (Direct Current Reverse Polarity: DCRP or DCEN) เป็นการต่อวงจร
กระแสไฟฟ้าให้ลวดเชื่อมเป็นข้ัวบวก (+) และต่อชิ้นงานเป็นข้ัวลบ (-) ทาให้กระแสไฟฟ้าไหลจาก
ชิน้ งานไปยงั ลวดเช่ือม ปริมาณความรอ้ นประมาณ 2 ใน 3 สว่ นอย่ทู ่ลี วดเช่อื มและท่ีเหลืออีก 1 ส่วนอยู่
ที่ช้นิ งาน ผลของการเชอ่ื ม คือทาให้ช้นิ งานเกดิ การซมึ ลกึ น้อย การต่อขั้วไฟฟ้าแบบน้ีเหมาะกับการเช่ือม
ชิ้นงานท่ีมคี วามหนาน้อย ดังแสดงในรูปที่ 3.12

90

รปู ที่ 3.11 แสดงลักษณะของการตอ่ ข้ัวไฟฟา้ กระแสตรงต่อข้ัวตรง
(ท่มี า : Jefferson’s, 1997, p. 126)

รูปที่ 3.12 แสดงลกั ษณะของการต่อข้วั ไฟฟา้ กระแสตรงตอ่ กลับข้วั
(ทมี่ า : Jefferson’s, 1997, p. 126)

91

2.2.3 การต่อวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current) การต่อข้ัวไฟฟ้าแบบน้ี
จะไมม่ ีผลกบั ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า เพราะการไหลของกระแสจะมีทิศทางการเคล่ือนที่สลับกัน
เปน็ คลืน่ หรือรอบ (Cycle) โดยใน 1 รอบจะมกี ระแสไหลผ่านศนู ย์ (0) จานวน 2 ครั้ง ผา่ นคลน่ื บวก (+)
1 คร้ังและผ่านคล่ืนลบ (-) 1 ครั้ง ในช่วงคล่ืนบวกอิเล็กตรอนจะไหลไปในทิศทางหน่ึงและในช่วงคลื่น
ลบอิเล็กตรอนจะไหลไปในทิศทางตรงข้าม กระแสไฟฟ้าโดยทั่วไปมีความถี่เท่ากับ 60 เฮิร์ตซ์ (Hertz)
หมายความวา่ ภายใน 1 วินาทีจะเกิดรอบดังกล่าวกวา่ 60 ครงั้ เป็นต้น

รูปที่ 3.13 แสดงลักษณะของวงจรไฟฟา้ เชอ่ื มแบบกระแสสลบั
(ทมี่ า : ปราโมทย์ อทุ ยั วฒั น์, 2558)

2.2.4 วัฏจกั รการทางานของเครื่องเชื่อม (Duty Cycle) หมายถึงอัตราส่วนของเวลาท่ีทา
การเชื่อมต่อเวลามาตรฐานทั้งหมด ซ่ึงเวลาเป็นมาตรฐานทั้งหมดของเคร่ืองเชื่อมกาหนดไว้ที่ 10 นาที
ตัวอย่างเช่น เครื่องเชื่อมขนาด 250 แอมแปร์ท่ี 60 เปอร์เซ็นต์ของวัฏจักรการทางาน หมายถึงเคร่ือง
เชื่อมนี้เมื่อปรับกระแสไฟเชื่อมท่ี 250 แอมแปร์ สามารถเชื่อมแบบต่อเนื่องได้นาน 6 นาที และเวลา
หยุดพัก 4 นาที เป็นต้น เครื่องเชื่อมโดยทั่วไปที่ใช้ในการเช่ือมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์จะใช้วัฏจักรการ
ทางานประมาณ 60 เปอร์เซน็ ต์ การคานวณหาวฏั จักรการทางานของเครื่องเชอ่ื มเพื่อการใช้งานได้อย่าง

เหมาะสม สามารถคานวณได้จากสตู รดังน้ี

วัฏจกั รการทางาน = (กระแสไฟท่กี าหนดของเครอ่ื งเชอ่ื ม)2  Duty cycle ทกี่ าหนด
(กระแสไฟท่ีต้องการใช้)2

ตัวอย่างเคร่ืองเช่ือมเครื่องหนึ่งมีวัฏจักรการทางาน 60 เปอร์เซ็นต์ ท่ีกระแสไฟ 300 แอมแปร์
จงคานวณหาวฏั จกั รการทางานของเครื่องเชื่อมเมือ่ ตอ้ งการใช้กระแสไฟเชอื่ ม 400 แอมแปร์

วฏั จกั รการทางาน = (300)2
(400)2  60

= 33.75 เปอร์เซ็นต์

92

จากตัวอย่างแสดงว่าเมื่อต้องการเชื่อมโดยใช้กระแสไฟ 400 แอมแปร์ เคร่ืองเช่ือมเคร่ืองน้ี
สามารถเชือ่ มได้ประมาณ 3.4 นาที เปน็ ตน้

2.2.5 การเลือกเครื่องเชื่อม เพ่ือให้สามารถใช้เคร่ืองเชื่อมในการปฏิบัติงานได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ ตอ้ งพิจารณาถึงองค์ประกอบต่างๆ ดังน้ี

1. ขนาดของกระแสเช่ือมทีต่ อ้ งการใช้ในการเชอื่ ม
2. ชนดิ ของกระแสไฟทสี่ ามารถจดั หาได้ในสถานทต่ี ั้ง
3. ความสะดวกและปจั จัยในการจดั หา
4. ปรมิ าณของงานทที่ าการเช่อื ม
5. องคป์ ระกอบเกี่ยวกับความสะดวกสบายและความประหยัด
6. วฏั จกั รการทางานของเครอื่ งเชื่อม (Duty Cycle)
7. แรงดันไฟฟ้าที่ปอ้ นเขา้ เคร่อื งเชอื่ ม
8. ความถี่ของกระแสไฟฟา้
9. จานวนเฟสไฟฟ้าท่ีปอ้ นเข้าเครอ่ื งเช่อื ม

2.3 หวั จบั ลวดเช่อื ม (Electrode Holder)

หัวจับลวดเชอ่ื ม คืออปุ กรณ์ที่ใช้จับลวดเช่ือม เป็นตัวนากระแสไฟฟ้าจากสายเช่ือมผ่านไปสู่ลวด
เช่ือมเพ่ือให้เกิดการอาร์กและเป็นมือถือขณะทาการเช่ือม โครงสร้างภายนอกที่ใช้มือจับห่อหุ้มไว้ด้วย
ฉนวนไฟฟ้าเพ่ือป้องกันไฟฟ้าและความร้อนขณะเชื่อม ปากจับทาด้วยทองแดงสามารถจับลวดเช่ือม
ทามุมตามตอ้ งการได้

รปู ที่ 3.14 แสดงส่วนประกอบของหวั จบั ลวดเชื่อม
(ท่มี า : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)

2.4 คีมจบั สายดิน (Ground Clamp)

คีมจบั สายดนิ เปน็ อุปกรณ์ท่ีใช้จับยึดชิ้นงานหรือโต๊ะเช่ือม เพื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลครบวงจรได้
สะดวก ในการติดต้ังสายดินจะต้องยึดให้แน่นเพราะถ้าสายดินหลวมจะทาให้เกิดความต้านทานของ

93

กระแสไฟฟ้าสูง ทาให้เกิดการสูญเสียของพลังงานในขณะเชื่อมบริเวณรอยต่อเกิดความร้อนสูงและ
อาจเป็นอนั ตรายตอ่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน

รูปท่ี 3.15 แสดงลกั ษณะของคีมจบั สายดนิ
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อุทยั วฒั น์, 2558)

2.5 สายไฟเช่อื ม (Cable for Welding)

สายไฟเชอ่ื มทาหน้าทน่ี ากระแสไฟฟ้าท่ผี ลติ จากเคร่ืองเชื่อมไปสูบ่ ริเวณของการอาร์ก โครงสร้าง
ด้านในประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงเล็กๆ ท่ีพันรวมกันจานวนมากและใช้เส้นใยพันรอบไว้อีกรอบเพ่ือ
รักษารูปทรงของลวดทองแดง ส่วนด้านนอกทาด้วยยางท่ีเป็นฉนวนไฟฟ้าห่อหุ้มไว้ การที่สายเช่ือมทา
ด้วยทองแดงเส้นเลก็ ๆ พันรวมกนั ไว้กเ็ พือ่ ให้สะดวกตอ่ การใช้งานและสามารถโค้งงอได้

สายเช่ือมแบ่งออกเป็น 2 สาย คอื สายเชื่อมและสายดิน โดยสายเชื่อมตอ่ เข้ากับหัวจับลวดเชื่อม
ส่วนสายดินต่อเข้ากับคีมจับช้ินงาน ในการเลือกสายเช่ือมต้องให้มีความเหมาะสมกับกระแสเช่ือม
ตัวอย่างเช่น ถ้าเครื่องเช่ือมขนาดกระแสไฟฟ้า 250 แอมแปร์ ก็ควรเลือกสายไฟเชื่อมท่ีใช้กับกระแสไฟฟ้า
ขนาด 250 แอมแปร์เปน็ อยา่ งน้อย เปน็ ตน้

(ก) สายเช่อื ม (ข) สายดนิ
ฉนวนหุ้ม ทองแดงเสน้ ฉนวนห้มุ ทองแดงเส้น

(ค) โครงสร้างดา้ นนอกและดา้ นในของสายเชือ่ ม (ง) โครงสรา้ งดา้ นนอกและด้านในของสายดิน

รูปที่ 3.16 แสดงลักษณะโครงสร้างของสายเช่ือม
(ท่มี า : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)

94

2.6 อุปกรณ์เบ็ดเตล็ด

2.6.1 หน้ากากเช่ือม (Welding Helmet) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้เพื่อป้องกันใบหน้าและ
ดวงตาจากรังสอี ัลตราไวโอเลต็ รงั สีอินฟาเรด ความร้อนและสะเก็ดโลหะรอ้ นจากการเชื่อม โดยใชค้ วบคู่
กบั กระจกกรองแสง หน้ากากเช่ือมทาจากวัสดุท่ีมีน้าหนักเบาและทนความร้อนสูง หน้ากากเช่ือมที่นิยม
ใชโ้ ดยทวั่ ไปมี 2 ชนิดดังน้ี

1. หน้ากากเช่ือมชนิดสวมหัว (Helmet) หน้ากากเชื่อมชนิดนี้มีสายรัดหัวเข้ากับ
หน้ากากด้วยกัน เมอื่ สวมหวั แลว้ ด้านหน้าของหน้ากากสามารถเปิด-ปิดได้ ช่วยป้องกันศีรษะและใบหน้า
ขณะใช้งาน

2. หนา้ กากเช่ือมชนิดมอื ถอื (Hand Shield) หนา้ กากชนิดนี้มีโครงสร้างเหมือนกับแบบ
สวมหัว แตกต่างกันที่แบบมอื ถือจะใช้มืออกี ด้านหนง่ึ จบั เพอ่ื ยกขน้ึ ปดิ ใบหน้าขณะเชื่อม

สายรดั หวั

กระจกกรองแสง

หนา้ กาก

(ก) ดา้ นหนา้ (ข) ด้านหลงั

รปู ท่ี 3.17 แสดงลกั ษณะของหน้ากากเชื่อมชนดิ สวมหัว
(ทมี่ า : ปราโมทย์ อุทัยวฒั น์, 2558)

กระจกกรองแสง

หนา้ กาก ด้ามจับ

(ก) ดา้ นหนา้ (ข) ด้านหลัง

รูปที่ 3.18 แสดงลักษณะของหนา้ กากเชื่อมชนิดมอื ถอื
(ทมี่ า : ปราโมทย์ อทุ ยั วัฒน์, 2558)

95

นอกจากหน้ากากเชื่อมท้ังสองชนิดท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้นยังมีหน้ากากเช่ือมชนิดท่ีสามารถ
ป้องกันควนั พษิ ไดข้ ณะเชือ่ มดงั แสดงในรปู ท่ี 3.19

รูปท่ี 3.19 แสดงลกั ษณะหน้ากากปอ้ งกนั ควันพิษ
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)

2.6.2 กระจกกรองแสง (Filter Lens) ใช้กรองแสงจากการเช่ือมท่ีจะกระทบกับ
ดวงตาและใบหน้า การใช้งานจะใช้กระจกใสวางซ้อนอีกชั้น เพ่ือป้องกันสะเก็ดโลหะกระเด็นติดกระจก
การเลอื กกระจกกรองแสงสาหรับการเช่ือมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์จะต้องมีความเข้มตามความเหมาะสมกับ
ขนาดของลวดเชอ่ื มหรือกระแสไฟฟ้าที่ใช้เชื่อม ดังตารางท่ี 3.1

กระจกใส กระจกกรองแสง

รปู ท่ี 3.20 แสดงลกั ษณะของกระจกใสและกระจกกรองแสง
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อุทัยวฒั น์, 2558)

ตารางท่ี 3.1 การเลือกใชค้ วามเขม้ ของกระจกกรองแสงสาหรับการเชือ่ มอารก์ ลวดห้มุ ฟลกั ซ์

ลาดบั ท่ี ขนาดลวดเช่ือม ความเข้มของกระจกกรอง
(มลิ ลิเมตร) แสง (เบอร)์

1 ตากวา่ ถงึ 5/32 น้วิ (4 มลิ ลเิ มตร) 10

2 ตั้งแต่ 5/32 - 1/4 นวิ้ (4-6 มิลลิเมตร) 12

3 มากกวา่ 1/4 นิ้ว (มิลลเิ มตร) 14

(ทีม่ า : Andrew D. Althouse and Others, 2012, p. 163)

96

2.6.3 ค้อนเคาะสแลก (Chipping Hammer) ส่วนปลายของหัวค้อนเคาะสแลกมี
รูปทรงแตกตา่ งกัน คือดา้ นหนึ่งแบนใช้เคาะสแลกและเม็ดโลหะกระเด็น (Spatter) ส่วนอีกด้านหนึ่งเรียว
แหลมใชเ้ คาะสแลกท่ีอยู่รวมกนั เปน็ กล่มุ เล็กๆ ท่ีติดอยู่บนแนวเชอื่ มและชน้ิ งาน

ดา้ นเรยี วแหลม

ด้านแบน
รูปท่ี 3.21 แสดงลักษณะของค้อนเคาะสแลก

(ทีม่ า : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)
2.6.4 แปรงลวด (Wire Brush) ด้ามทาด้วยไม้ ส่วนขนแปรงทาด้วยเหล็กที่จัดเป็นแถว
ฝงั ติดกบั ดา้ มไม้ ใชส้ าหรบั ขดั ทาความสะอาดส่งิ สกปรก เช่น สนิม และคราบน้ามันออกจากช้ินงานทั้งก่อน
เชือ่ มและหลงั เชื่อม

รูปท่ี 3.22 แสดงลักษณะของแปรงลวด
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)
2.6.5 คีมจับยึดงานเช่ือม (Pliers) ใช้จับ บีบ ยึดและล็อคชิ้นงาน คีมจับยึดงานเชื่อม
แบ่งออกเปน็ หลายชนิดตามวตั ถุประสงคข์ องการใชง้ าน ดังแสดงในรปู ที่ 3.23 - 3.24

รูปที่ 3.23 แสดงลกั ษณะของคมี ล็อคงานเช่ือม
(ท่มี า : ปราโมทย์ อทุ ยั วัฒน์, 2558)

97

รปู ที่ 3.24 แสดงลักษณะของคีมจบั งานรอ้ น
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)

3. ลวดเช่ือมและมาตรฐานของลวดหุ้มฟลักซ์

3.1 นยิ ามของลวดเชื่อม

สมาคมการเชือ่ มอเมริกา (American Welding Society : AWS) ได้ใหน้ ยิ ามของลวดเชื่อมไว้ว่า
“ลวดเชอ่ื มทใ่ี ช้สาหรับเตมิ ลงในแนวเชือ่ มและเป็นตวั ทาหนา้ ท่ีให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน จากข้ัวจ่ายไฟฟ้า
ผา่ นตัวมนั เองไปยังการอารก์ ซงึ่ จะผลิตออกมาเปน็ เส้นลวดหรือเป็นแท่ง มีทั้งลวดเปลือยและลวดมีสาร
พอกหุ้ม” ลวดหุ้มฟลักซ์เป็นลวดเชื่อมที่ผ่านกระบวนการผลิตโดยใช้สารพอกหุ้มแกนลวดเช่ือมไว้ โดยท่ี
แกนลวดเชื่อมมีหน้าที่สาคัญ คือเป็นข้ัวไฟฟ้าและในขณะเดียวกันก็เป็นตัวเติมเน้ือโลหะลงในแนวเช่ือม
อีกดว้ ย

ฟลักซห์ รือสารพอกหมุ้ แกนลวดเช่อื ม

รหัสลวดเช่ือม

รูปที่ 3.25 แสดงลกั ษณะของลวดหมุ้ ฟลกั ซ์
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)

98

3.2 สว่ นประกอบของลวดหุ้มฟลักซ์

ลวดหมุ้ ฟลักซม์ ีส่วนประกอบที่สาคญั ได้แก่ แกนลวดเชื่อมและฟลักซห์ รือสารพอกหุ้ม
บนผวิ นอกของฟลักซด์ า้ นท่ีใช้จบั เข้ากับหวั จบั ลวดเช่อื มจะระบรุ หัสของลวดเชอ่ื ม เช่น E6013 เปน็ ตน้

รปู ท่ี 3.26 แสดงส่วนประกอของลวดหุ้มฟลักซ์
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อทุ ยั วฒั น์, 2558)

3.3 หน้าทขี่ องฟลักซ์หรือสารพอกหุ้ม

ขณะเชอ่ื มฟลักซ์หรอื สารพอกหุ้มหลอมละลายพรอ้ มกับแกนลวดเชื่อมและทาหน้าที่ต่างๆ ดังนี้
1. ช่วยให้เกิดการอาร์กท่ีดี เช่น การเริ่มต้นอาร์กทาได้ง่าย การอาร์กเรียบสม่าเสมอ

การจดุ ประกายของการอารก์ ทาได้ง่ายข้ึนและควบคุมการอาร์กให้สมา่ เสมอ เป็นต้น
2. เตมิ ธาตุผสมให้กับเนือ้ โลหะเช่อื ม
3. ชว่ ยในการสรา้ งแก๊สป้องกันบ่อหลอมเหลวและกลายเป็นสแลกเมือ่ แนวเช่ือมเย็นตวั
4. ชว่ ยดงึ สง่ิ สกปรกในบ่อหลอมขน้ึ มารวมตวั กันเปน็ สแลก
5. รักษาสมบัตขิ องธาตุทีผ่ สมอยแู่ ละช่วยเพม่ิ สมบัติของแนวเช่อื มตามท่ีต้องการ
6. ป้องกันการรวมตัวของออกซิเจน และไนโตรเจนในบรรยากาศทาปฏิกิริยากับโลหะ

งานท่ีกาลงั หลอม
7. ชว่ ยควบคมุ ให้แนวเช่อื มเย็นตวั อยา่ งช้าๆ
8. เป็นฉนวนป้องกันไฟฟา้
9. ขจดั ออกไซด์และสารมลทนิ ต่างๆ ทาใหโ้ ลหะเชือ่ มบริสทุ ธ์ขิ ึน้

3.4 สมบตั ขิ องฟลกั ซห์ รือสารพอกหุ้ม

สมบตั ขิ องสารพอกห้มุ ท่ดี ีควรมีสมบตั ิ ดงั น้ี
1. มคี วามถว่ งจาเพาะตา่ สามารถลอยตวั ขนึ้ จากนา้ โลหะท่กี าลังหลอมเหลวได้
2. มีอุณหภมู ิหลอมละลายขณะเกิดการอารก์
3. ขณะหลอมละลายจะเกิดควัน ซึ่งเปน็ แก๊สท่ีป้องกนั และขับไลแ่ ก๊สจากภายนอก ไม่ให้

รวมตวั กบั เนือ้ โลหะที่กาลงั หลอม
4. ไม่แตกหรอื หลุดออกจากแกนลวดไดง้ า่ ย

99

3.5 มาตรฐานของลวดหุ้มฟลักซ์

ลวดหุ้มฟลักซ์ที่ผลิตออกมาจาหน่ายในปัจจุบันมีหลายมาตรฐาน ได้แก่ AWS, ISO, DIN, JIS
และมาตรฐาน มอก. (TIS) เป็นต้น ในท่ีนี้จะกล่าวถึงเฉพาะลวดหุ้มฟลักซ์ตามมาตรฐานของสมาคม
การเช่ือมอเมริกา (AWS A5.1-1991) ซึ่งเป็นลวดเช่ือมเหล็กกล้าคาร์บอนหุ้มฟลักซ์ (Carbon Steel
Electrode for Shielded Metal Arc Welding) โดยมีการกาหนดรหสั ของลวดเช่อื มไวด้ ังรูปที่ 3.27

ลวดหุม้ ฟลักซ์
ความตา้ นทานแรงดึงตา่ สุด (ksi), คณู ด้วย 1,000 มหี น่วยเป็นปอนดต์ ่อตารางนิว้ (psi)
ตาแหน่งทา่ เชอ่ื ม, ชนดิ ของกระแสไฟ และชนิดของฟลักซ์ (ดูตารางท่ี 3.2)

F = ทา่ ราบ AC = กระแสสลับ
H = ทา่ ระดบั DCEP = กระแสตรงลวดเชอื่ มเปน็ ขัว้ บวก (DCRP)
H- = ทา่ ระดับเชอื่ มมุม (Fillet) DCEN = กระแสตรงลวดเชือ่ มเปน็ ขั้วลบ (DCSP)
V-Down = ทา่ ตง้ั (เชื่อมลง)
V = ท่าตงั้
OH = ท่าเหนอื ศรี ษะ

รปู ท่ี 3.27 แสดงการกาหนดรหสั ของลวดเช่อื มหมุ้ ฟลกั ซ์ตามมาตรฐาน AWS (A5.1-1991)
(ที่มา : ปราโมทย์ อุทัยวฒั น์, 2558)

จากรูปท่ี 3.27 ลวดหุ้มฟลักซ์ตามมาตรฐานของ AWS (A5.1-1991) ได้กาหนดรหัสโดยใช้
ตวั อักษรและตัวเลข 4 หลกั ดงั น้ี

1. หลักท่ี 1 ใชอ้ ักษรภาษาองั กฤษ คือ E หมายถงึ ลวดหมุ้ ฟลักซ์ (Electrode)
2. หลักที่ 2 ใชห้ มายเลข 2-5 หมายถงึ คา่ ความเคน้ แรงดึงสูงสดุ มีหน่วยเป็นกิโลปอนด์
ตอ่ ตารางนวิ้ (ksi) และถ้าคูณดว้ ย 1,000 มหี น่วยเป็นปอนด์ต่อตารางน้ิว (psi)
3. หลักท่ี 3 ใช้หมายเลขหมายถงึ ตาแหน่งการเชื่อมหรอื ท่าเช่ือม ประกอบด้วย
1) หมายเลข 0 หรือ 1 หมายถงึ เช่ือมได้ทุกตาแหนง่ หรือท่าเชอ่ื ม เช่น ท่าราบ ท่าระดับ
ท่าตั้ง และทา่ เหนอื ศีรษะ
2) หมายเลข 2 หมายถงึ เชอื่ มได้ตาแหน่งท่าราบและท่าระดบั
3) หมายเลข 3 หมายถงึ เชื่อมได้ตาแหน่งทา่ ราบ
4) หมายเลข 4 หมายถงึ เชอ่ื มได้ตาแหนง่ ทา่ ราบ ท่าระดบั และท่าเหนือศรี ษะ
4. หลักท่ี 4 ใช้หมายเลข 0-9 เพื่อระบุรายละเอียดท่ีเกี่ยวกับกระแสไฟฟ้าท่ีเหมาะสม
กบั ลวดเชอื่ มและระบุสมบัตขิ องสารพอกห้มุ ดังนี้
1) หมายเลข 0 หมายถึงเซลลโู ลสสูง โซเดียม (High Cellulose Sodium)
2) หมายเลข 1 หมายถงึ เหลก็ ออกไซด์สูง (High Iron Oxide)
3) หมายเลข 2 หมายถึงไททาเนยี มสูง โซเดยี ม (High Titanium Sodium)
4) หมายเลข 3 หมายถงึ ไททาเนยี มสงู โพแตสเซยี ม (High Titanium Potassium)
5) หมายเลข 4 หมายถงึ ผงเหลก็ ไททาเนยี ม (Iron Powder Titanium)

100

6) หมายเลข 5 หมายถึงไฮโดรเจนตา่ โซเดยี ม (Low Hydrogen Sodium)
7) หมายเลข 6 หมายถงึ ไฮโดรเจนต่า โพแตสเซยี ม (Low Hydrogen Potassium)
8) หมายเลข 7 หมายถงึ เหลก็ ออกไซด์ (Iron Oxide)
9) หมายเลข 8 หมายถึงผงเหล็ก ไฮโดรเจนต่า (Iron Powder Low Hydrogen)

ตัวอยา่ งการอา่ นรหัสของลวดหมุ้ ฟลกั ซ์ เช่น E 6 0 1 3 มคี วามหมายดังน้ี
E หมายถึงลวดหุ้มฟลักซ์
60 หมายถึงค่าความต้านทานแรงดงึ (601,000 = 60,000 ปอนด์ต่อตารางน้ิว)

1 หมายถงึ ตาแหน่งการเชอ่ื มหรอื ท่าเช่อื ม
3 หมายถึงชนิดของสารพอกหมุ้ (High Titanium Potassium)

ตารางที่ 3.2 แสดงสมบตั ทิ างกลของเน้อื เชอื่ ม ชนิดของฟลกั ซ์ ทา่ เช่อื มและชนิดของกระแสไฟที่ใช้เชอื่ ม

ของลวดเช่ือมหมุ้ ฟลักซต์ ามมาตรฐาน AWS (A5.1-1991) (บางส่วน)

รหสั ลวดเชื่อม ความเค้น ความเค้น เปอร์เซน็ ต์ ชนดิ ของฟลักซ์ ทา่ เชื่อม ชนิดของ
แรงดึง คราก การยดื ตัว (Type of (Welding กระแสไฟฟา้
(Tensile (Yield (Elongation covering) Position) (Type of
Strength) in 2 in. %)
Strength) Current)
ksi MPa
ksi MPa

E6010 60 414 48 331 22 High Cellulose F, V, OH,
Sodium H DCEP

E6011 60 414 48 331 22 High cellulose F, V, OH,
potassium H AC or DCEP

E6012 60 414 48 331 17 High titasia F, V, OH,
sodium H AC or DCEN

E6013 60 414 48 331 17 High titasia F, V, OH, AC, DCEP
potassium H or DCEN

E6019 60 414 48 331 22 Iron oxide titania F, V, OH, AC, DCEP
potassium H or DCEN

H-fillets AC or DCEN

E6020 60 414 48 331 22 High iron oxide F AC, DCEP
or DCEN

E6022 60 414 Not specified High iron oxide F, H AC or DCEN

E6027 60 414 48 331 22 High iron oxide, H-fillets AC or DCEN
iron power F AC, DCEP
or DCEN

(ทีม่ า : อานาจ ทองแสน, 2558, น. 57)

101

4. ตาแหนง่ ทา่ เชื่อมและรอยต่อในงานเชื่อม

4.1 ตาแหน่งท่าเช่อื ม (Welding Position)

ตาแหนง่ ทา่ เช่ือมพ้ืนฐานในการเช่ือมอารก์ ลวดหุ้มฟลักซ์แบง่ เป็น 4 ตาแหนง่ ดังน้ี
4.1.1 ท่าราบ (Flat Position) คือตาแหน่งการเชื่อมท่ีวางช้ินงานในแนวราบและขนาน

กับพ้นื เปน็ ตาแหนง่ ทีเ่ ชอื่ มไดง้ า่ ยเพราะสามารถควบคุมบ่อหลอมเหลวท่ีอยบู่ นชิ้นงานหรือรอยตอ่ ไดส้ ะดวก

รูปที่ 3.28 แสดงลักษณะของการเชอื่ มท่าราบ
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อุทยั วฒั น์, 2558)

4.1.2 ท่าระดับ (Horizontal Position) คือตาแหน่งการเชื่อมที่วางช้ินงานในแนวต้ัง
แนวเช่ือมขนานกับพื้น การเช่ือมท่าระดับนี้จะต้องระมัดระวังการไหลย้อยของน้าโลหะช้ินงานท่ีกาลัง
หลอมเหลวเนอ่ื งจากแรงดึงดูดของโลก

รปู ที่ 3.29 แสดงลักษณะของการเชอ่ื มทา่ ระดับ
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อทุ ัยวฒั น์, 2558)

102

4.1.3 ท่าตั้ง (Vertical Position) คือตาแหน่งการเช่ือมที่วางชิ้นงานในแนวตั้งและ
แนวเชือ่ มทามุมตง้ั ฉากกับแนวพ้นื การเชอื่ มตาแหน่งท่าต้งั แบง่ เป็น 2 ลกั ษณะดงั น้ี

1. ท่าต้ังเชื่อมขึ้น (Vertical Up) ท่าเชื่อมน้ีเหมาะสาหรับเช่ือมช้ินงานที่มีความหนาต้ังแต่
8 มลิ ลเิ มตร ขึ้นไป

2. ท่าตง้ั เช่อื มลง (Vertical down) ท่าเช่ือมนี้เหมาะสาหรับเชื่อมชิ้นงานบางหรือรอยต่อชน
ท่ีมีการบากรอ่ งช้ินงาน

(ก) ตาแหนง่ ท่าตั้งเชื่อมขน้ึ (ข) ตาแหน่งท่าตงั้ เช่ือมลง

รูปที่ 3.30 แสดงลกั ษณะของการเชอ่ื มท่าตง้ั
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อทุ ยั วัฒน์, 2558)

4.1.4 ท่าเหนือศีรษะ (Overhead Position) คือตาแหน่งการเช่ือมที่วางช้ินงานไว้
เหนือศีรษะ รอยต่อขนานกับพื้นและแนวเชื่อมจะอยู่ด้านล่างช้ินงาน การเชื่อมท่านี้ผู้ปฏิบัติงานต้องใช้
ทักษะควบคุมการไหลย้อยของนา้ โลหะที่หลอมเหลว และเป็นท่าเช่ือมที่เช่ือมยากท่ีสุด

รปู ที่ 3.31 แสดงลกั ษณะของการเชอ่ื มทา่ เหนือศีรษะ
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อทุ ยั วฒั น์, 2558)

103
4.2 รอยตอ่ งานเชือ่ ม (Welding Joints)

รอยต่อในงานเช่ือม คือรูปแบบการเตรียมชิ้นงานเช่ือม 2 ชิ้นเพื่อนามาเชื่อมต่อกันให้มีความ
คงทนแขง็ แรง ง่ายต่อการเชือ่ มและให้เกิดประสิทธิภาพสูงสดุ รอยตอ่ ในงานเช่ือมโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น
5 แบบดงั น้ี

4.2.1 รอยต่อชน (Butt Joint) คือรอยต่อที่นาขอบของช้ินงาน 2 ช้ินมาชนกันโดยผิว
ของชิ้นงานท้งั 2 อยู่ในระนาบเดยี วกนั การต่อมีหลายแบบข้ึนอยู่กับความหนาของชิ้นงาน เช่น ต่อชนแบบ
เว้นช่องว่างรอยตอ่ การต่อชนแบบไมบ่ ากงาน และการต่อชนบากรอ่ ง (Groove Weld) เป็นต้น

รูปที่ 3.32 แสดงลักษณะของรอยต่อชน
(ท่มี า : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)

4.2.2 รอยตอ่ เกย (Lap Joint) คือรอยตอ่ ท่ีนาชน้ิ งาน 2 ชิ้นวางซ้อนกันหรือเกยกนั

รูปที่ 3.33 แสดงลักษณะของรอยตอ่ เกย
(ที่มา : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)

4.2.3 รอยต่อขอบ (Edge Joint) คือรอยต่อท่ีนาขอบของชิ้นงาน 2 ช้ินมาชนกันใน
ลักษณะท่ีให้ขอบของชิ้นงานทั้ง 2 แนบชิดกัน ทาให้ขอบของชิ้นงานขนานกันตลอดแนวหรืออาจวาง
ชิ้นงานเอียงทามุมต่อกันและในการเชื่อมจะเช่ือมที่ผิวหน้าของขอบงานใหต้ ดิ กนั

(ก) รอยต่อขอบ (ขอบของช้ินงานขนานกัน) (ข) รอยตอ่ ขอบ (ขอบของช้ินงานเอียงทามุมต่อกัน)
รูปที่ 3.34 แสดงลกั ษณะของรอยตอ่ ขอบ
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อทุ ัยวฒั น์, 2558)

104

4.2.4 รอยต่อมุม (Corner Joint) คือรอยต่อที่นาขอบของชิ้นงาน 2 ช้ินมาชนกันโดยให้
ขอบชิ้นงานทามุมกันเท่ากับ 90 องศา ซึ่งการนาขอบของชิ้นงานมาชนกันมีหลายลักษณะขึ้นอยู่กับ
ความหนาของชิ้นงานและการออกแบบ เช่น การต่อมุมโดยให้ขอบด้านนอกชนกัน (Open) หรือทับกันเต็ม
ความหนา (Close) โดยอาจทาการบากร่องชนิ้ งานหรือไมก่ ็ได้

(ก) รอยต่อมมุ ใหข้ อบดา้ นนอกชนกัน (ข) รอยต่อมุมทบั เตม็ ความหนาชิ้นงาน

รปู ที่ 3.35 แสดงลักษณะของรอยต่อมมุ
(ที่มา : ปราโมทย์ อทุ ยั วฒั น์, 2558)

4.2.5 รอยต่อรูปตัวที (T Joint) คือรอยต่อที่นาขอบของช้ินงานช้ินหน่ึงวางบนผิวงาน
อกี ชน้ิ หนึง่ คล้ายกับตัวที โดยอาจบากร่องของขอบช้ินงานหรือไม่ก็ได้ ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับความหนา แนวเช่ือม
ทเ่ี กดิ ขึน้ บนรอยต่อตัวทีเป็นแนวเชื่อมมมุ (Fillet Weld)

รูปที่ 3.36 แสดงลักษณะของรอยตอ่ รปู ตัวที
(ทม่ี า : ปราโมทย์ อุทยั วฒั น์, 2558)

5. องคป์ ระกอบท่มี ผี ลต่อแนวเชอ่ื ม

5.1 มมุ ลวดเชอื่ ม (Electrode Angle)

ในขณะเชอื่ มทิศทางเช่ือมและมมุ ทล่ี วดเช่อื มกระทาตอ่ ชนิ้ งาน จะมีต่อผลการไหลของกระแสไฟที่
ส่งผ่านน้าโลหะไปยังบ่อหลอม ดังน้ันถ้าตั้งทามุมลวดเชื่อมกับช้ินงานไม่ถูกต้องจะมีผลทาให้แนวเช่ือม
ไม่สมบูรณ์หรือมีข้อบกพร่อง เช่น การหลอมลึกไม่สมบูรณ์ (Incomplete Penetration) การกัดขอบ
(Undercut) และรอยเกย (Overlap) เป็นต้น

105

(ก) มุมตามลวดเชื่อม (ข) มุมฉาก (ค) มุมนาลวดเช่ือม

รปู ที่ 3.37 แสดงทศิ ทางการเช่อื มและมมุ ลวดเช่ือม
(ที่มา : ปราโมทย์ อทุ ยั วฒั น์, 2558)

(ก) มุมตามมาก (ข) มุมตามเหมาะสม (ค) มมุ ฉาก

รูปที่ 3.38 แสดงผลกระทบของมุมเชอื่ มต่อรูปรา่ งของแนวเชอื่ ม (กรณมี มุ ตามลวดเชอ่ื ม)
(ท่มี า : ปราโมทย์ อทุ ัยวฒั น์, 2558)

รปู ที่ 3.39 แสดงผลกระทบของมมุ เชอื่ มต่อรปู ร่างของแนวเชือ่ ม (กรณมี ุมนาลวดเชือ่ ม)
(ทม่ี า : ปราโมทย์ อทุ ัยวัฒน์, 2558)

106

มมุ ในการเช่ือมโดยทัว่ ไปแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือมุมเดินลวดเช่ือม (Travel Angle) และมุม
งาน (Work Angle) โดยมีรายละเอียดดังนี้

5.1.1 มุมเดินลวดเชื่อม (Travel Angle) คือมุมเอียงลวดเช่ือมที่กระทากับช้ินงานใน
ทศิ ทางเชอื่ มหรอื การเคล่ือนทขี่ องลวดเช่อื ม

รปู ที่ 3.40 แสดงลกั ษณะของมมุ เดินลวดเชื่อม
(ทม่ี า : ปราโมทย์ อทุ ยั วัฒน์, 2558)

5.1.1 มุมงาน (Work Angle) คือมุมที่ลวดเช่ือมเอียงทามุมกับด้านข้างของช้ินงาน
เช่น ในกรณีของการเช่ือมท่าราบลวดเชอ่ื มจะทามมุ 90 องศากับช้นิ งาน

รปู ที่ 3.41 แสดงลักษณะของมมุ งาน
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)

5.2 กระแสไฟฟ้าเชอ่ื ม (Welding Ampere)

การใช้กระแสไฟฟ้าเช่ือม ข้ึนอยู่กับชนิดของลวดเชื่อมที่ใช้ว่ากาหนดให้ใช้กระแสไฟฟ้าชนิดใด
ดังน้ันก่อนปฏิบัติงานช่างเช่ือมจะต้องปรับกระแสไฟฟ้าเช่ือมให้ถูกต้อง เพราะถ้าปรับกระแสไฟฟ้าไม่
ถูกต้องแลว้ จะได้คุณภาพแนวเช่อื มจะไมด่ เี ท่าทคี่ วร นอกจากน้ปี ริมาณของกระแสไฟฟ้าที่ใช้ก็ยังขึ้นอยู่กับ
ความหนาของชิน้ งานและขนาดของลวดเช่ือมอีกด้วย เช่น ในกรณีที่ปรับกระแสไฟฟ้าสูงเกินไปจะทาให้
บ่อหลอมกว้าง การควบคุมบ่อหลวมทาได้ยากและเกิดการกัดขอบตลอดความยาวแนวเช่ือม แต่ถ้าปรับ
กระแสไฟฟ้าตา่ เกนิ ไปจะทาให้แนวเช่อื มกองนนู มาก และขอบแนวเช่ือมไม่หลอมรวมตัว เปน็ ต้น

107

ในการเลือกใช้กระแสไฟเช่ือม ขนาดและชนิดของลวดเชื่อมท่ีเหมาะสมกับความหนาของงาน
ขนาดแสดงดังตารางท่ี 3.3

ตารางที่ 3.3 การเลอื กใช้กระแสไฟเช่ือม ขนาดและชนิดของลวดเชอ่ื มท่ีเหมาะสมกับความหนาของงาน

ความหนาของงาน ขนาดลวดเชื่อม ชนิดของลวดเชือ่ มและกระแสไฟเชอื่ ม (แอมแปร)์

E6010
นิว้ มม. นว้ิ มม. E6011 E6012 E6013 E6020 E6022 E6027

1/16-5/64 1.6-2.0 5/64 2.0 - 25-60 25-60 - - -

5/16-1/8 2.0-3.2 3/32 2.4 40-80 35-85 45-90 - - -

1/8-1/4 3.2-6.4 1/8 3.2 75-125 80-140 80-130 100-150 110-160 125-185

1/4-3/8 6.4-9.5 5/32 4.0 110-170 110-190 105-180 130-190 140-190 169-240

3/8-1/2 9.5-12.7 3/16 4.8 140-215 140-240 150-230 175-250 170-400 210-300

1/2-3/4 12.7-19.1 7/32 5.6 170-250 200-320 210-300 225-310 370-520 250-350

3/4-1 19.1-25.4 1/4 6.4 210-320 250-400 250-350 275-375 - 300-420

มากกว่า 1 25.4
ขน้ึ ไป ขึน้ ไป 5/16 8.00 275-425 300-500 320-430 340-450 - 375-475

(ทีม่ า : Andrew D. Althouse and Others, 2012, p. 165)

5.3 ระยะอาร์ก (Arc Length)

ระยะอาร์กในการเชื่อม คือระยะห่างระหว่างชิ้นงานกับปลายลวดเชื่อม ระยะอาร์กมีผลต่อการ
เชือ่ มและคุณภาพของแนวเช่อื มเป็นอยา่ งย่งิ กล่าวคือ ถ้าระยะอาร์กมากจะทาให้เกิดความร้อนกระจาย
ท่ีช้ินงานมาก ทาให้เกิดการแตกกระเด็นของน้าโลหะเช่ือม (Spatter) แนวเช่ือมพอกเกย (Overlap)
เกิดการกัดขอบ (Undercut) มีรูพรุน (Porosity) แนวเชื่อมไม่เป็นแนว (Waviness of Bead) ในทาง
ตรงกันข้ามหากระยะอาร์กน้อยเกินไปจะทาให้ลวดเช่ือมติดกับช้ินงาน แนวเช่ือมเล็ก และมีรอยเกย
(Overlap) เปน็ ตน้ โดยท่ัวไปในการเชื่อมอาร์กด้วยลวดหุ้มฟลักซ์จะใช้ระยะอาร์กประมาณ 1.5 เท่าของ
ขนาดเส้นผ่านศูนยก์ ลาง (d) ของลวดเชือ่ ม ดังรูปท่ี 3.42

รูปที่ 3.42 แสดงระยะอารก์ ในการเชอ่ื มอาร์กลวดเชือ่ มหมุ้ ฟลกั ซ์
(ที่มา : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)

108

5.4 ความเรว็ ในการเชือ่ ม (Travel Speed)

ในขณะปฏิบัติงานเชื่อม ช่างเชื่อมจะต้องควบคุมความเร็วของการเช่ือมให้เหมาะสมกับระยะ
อาร์กและกระแสไฟฟ้าท่ีใช้เพ่ือให้ได้แนวเช่ือมท่ีมีคุณภาพและไม่มีข้อบกพร่อง ในรูปท่ี 2.43 แสดง
รปู รา่ งของแนวเชอ่ื มที่เกดิ จากการใชก้ ระแสไฟฟ้า การใช้ความเร็วและการระยะอารก์ ท่ีแตกต่างกนั

(ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ)

หมายเหตุ:

ก. กระแสไฟฟ้าเชอ่ื มตา่ ข. กระแสไฟฟา้ เชอื่ มสูง

ค. ระยะอาร์กยาว ง. ความเร็วเชือ่ มสงู

จ. ความเรว็ เชือ่ มตา่

ฉ. กระแสไฟฟ้าเช่ือม ความเรว็ เช่ือมและระยะอาร์กเหมาะสม

รปู ที่ 3.43 แสดงรปู รา่ งของแนวเชอ่ื มเมือ่ ใชก้ ระแสไฟฟ้าเช่ือม ความเร็วเชอ่ื มและระยะอาร์กต่างกัน
(ท่มี า : Andrew D. Althouse and Others, 2012, p. 169)

6. เทคนิคการเชอ่ื มอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์

ในหวั ขอ้ น้จี ะได้อธิบายเกยี่ วกับเทคนคิ การเช่ือมอารก์ ลวดหุม้ ฟลักซ์เบื้องต้น เพ่ือเป็นแนวทางใน
การฝกึ ทกั ษะภาคปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

109

6.1 การเรม่ิ ตน้ อาร์ก

ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นกับผู้เร่ิมต้นฝึกเช่ือมใหม่ๆ คือลวดเชื่อมติดกับช้ินงานและการอาร์กดับ
อยู่เสมอ ดังน้ันจึงควรฝึกทักษะในการเริ่มต้นอาร์กให้ถูกต้องและเกิดความชานาญ การเร่ิมต้นอาร์ก
โดยท่วั ไปมี 2 วิธีดงั นี้

6.1.1 วธิ ีเคาะ (Tapping) หรอื วิธแี ตะลวดเชอื่ ม มวี ิธีการดังนี้
1. จบั ลวดเช่อื มให้อยู่ในตาแหนง่ ตัง้ ฉากกับช้นิ งาน
2. เคล่ือนลวดเช่ือมลงไปเคาะหรือแตะบนแผ่นชิ้นงานเบาๆ เมื่อปลายลวดเช่ือมสัมผัส
กับผิวชนิ้ งานแลว้ ใหร้ ีบยกลวดเช่อื มขึน้ ทนั ที โดยที่การอาร์กยงั คงอยแู่ ละรักษาระอาร์กใหค้ งที่
3. เมอ่ื การอารก์ คงท่ีแลว้ จงึ เคลอื่ นลวดเชือ่ มไปยังตาแหน่งเริ่มต้นเช่อื ม

รปู ที่ 3.44 แสดงลักษณะของการเร่ิมตน้ อาร์กวธิ ีเคาะ
(ท่มี า : สมบูรณ์ เตง็ หงษ์เจรญิ , ม.ป.ป., น. 135)

6.1.2 วธิ ีขดี (Scratching) หรอื วธิ เี ข่ยี ลวดเช่ือม มีวิธกี ารปฏบิ ัติดังนี้
1. ถอื ลวดเชื่อมในลักษณะเอียงไปตามแนวที่จะเชอ่ื ม
2. ตวดั ลวดเชื่อมใหป้ ลายแตะกบั ชนิ้ งานแล้วยกขนึ้ อยา่ งรวดเรว็
3. เมือ่ เกดิ การอาร์กแลว้ ต้องรกั ษาระยะอาร์กให้ถูกตอ้ งเหมาะสม แล้วลดระยะอาร์กลง
อยา่ งช้าๆ ใหเ้ หลือประมาณเทา่ กับความโตของลวดเชอ่ื ม
4. ปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอนอย่างตอ่ เนื่องและหลายครงั้ จนเกิดความชานาญ

ลวดเชื่อม
อารก์ ชน้ิ งาน

รปู ที่ 3.45 แสดงลกั ษณะของการเรมิ่ ต้นอารก์ วิธีขีด
(ทม่ี า : สมบรู ณ์ เต็งหงษเ์ จรญิ , ม.ป.ป., น. 135)

110

6.2 การเชอื่ มเดนิ แนว

การเชือ่ มเดินแนวมขี นั้ ตอนดงั นี้
1. การเร่ิมต้นเช่ือมที่บริเวณจุดเร่ิมต้นของแนวเช่ือม มีวิธีการคือทาให้เกิดการอาร์ก

เมื่อเกิดการอาร์กข้ึนแล้วให้ยกลวดเชื่อมข้ึนห่างจากช้ินงานประมาณ 1.5 เท่าของความโตลวดเช่ือม
และต้ังมุมเช่ือมงานและมุมเดินลวดเช่ือมตามลักษณะของรอยต่อ จากนั้นสร้างบ่อหลอมให้กว้าง
ประมาณ 1.5 - 2.0 เท่าของความโตลวดเช่อื ม

2. หลงั จากเรมิ่ ตน้ อาร์กและปรบั ระยะอาร์กแล้ว ให้เชื่อมเดินแนวไปข้างหน้าอย่างช้าๆ
โดยการจบั ลวดเช่ือมใหท้ ามุมตั้งมมุ งานเทา่ กับ 90 องศา และมมุ เดินลวดเช่ือมประมาณ 75 - 85 องศา
ไปตามทิศทางการเช่ือมและขณะเชอื่ มจะตอ้ งเตมิ ลวดเช่ือมท่ีหลอมละลายเตมิ ลงไปในแนวเชื่อม

ในกรณีท่ีต้องการเปลี่ยนลวดเช่ือมควรให้ลวดเชื่อมเดิมเหลือความยาวประมาณ 1.50
น้ิว จงึ ทาการเปลีย่ นลวดเชอื่ มเสน้ ใหม่เพื่อความประหยดั

(ก) มมุ มองดา้ นหนา้ (ข) มมุ มองดา้ นขา้ งซา้ ย

รูปท่ี 3.46 แสดงลกั ษณะการตั้งมมุ งานและมมุ เดนิ ลวดเชอื่ มในการเชอ่ื มเดินแนวท่าราบ
(ที่มา : ประทปี ระงบั ทกุ ข์, 2547. น. 25)

รปู ท่ี 3.47 แสดงลักษณะของการเช่ือมเดนิ แนวท่าราบ
(ทม่ี า : ปราโมทย์ อทุ ยั วฒั น์, 2558)

111
6.3 การเติมลวดเชื่อมท่แี อ่งปลายแนวเช่ือม

เมอ่ื ทาการเชอื่ มมาถึงจุดสดุ ท้ายแนวเชือ่ มจะเป็นรอยบุ๋มหรือเป็นแอ่ง (Crater) ซึ่งเป็นตาแหน่ง
ทม่ี คี วามแขง็ แรงต่าสดุ ของแนวเชื่อมและอาจทาให้เกิดรอยร้าวขึ้นได้ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องเติมลวดเช่ือม
ทีป่ ลายแอ่งโลหะใหเ้ ตม็ โดยการเดินแนวเชื่อมย้อนกลบั มาเล็กน้อย (จากจุด A มาที่จุด B) แล้วหยุดเติม
แอ่งปลายแนวเชื่อมใหเ้ ตม็

รปู ที่ 3.48 แสดงวธิ ีการเตมิ ลวดเชอ่ื มทีแ่ อ่งปลายแนวเชื่อม
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)

6.4 การต่อแนวเชอื่ ม

การเชอ่ื มตอ่ แนวให้เปน็ แนวเดยี วกนั กบั แนวเชื่อมเดมิ วธิ ีการตอ่ แนวดังน้ี
6.4.1 กรณีท่ีแอ่งปลายแนวเชื่อมยังร้อน ให้เช่ือมต่อได้ทันที ไม่ต้องเคาะสแลกเพ่ือทา

ความสะอาดแนวเช่ือม โดยเริ่มต้นอาร์กห่างจากแอ่งหลอมเดิมไปทางด้านหน้าประมาณ 1/2 นิ้ว
เมื่อเกิดการอาร์กแล้วจึงเคลื่อนลวดเชื่อมมาท่ีปลายแนวเช่ือมเดิม ดังแสดงในรูปที่ 2.49 เร่ิมต้นอาร์ก
ทจ่ี ดุ A ก่อน จากนัน้ จงึ ถอยลวดเชือ่ มกลับไปท่จี ดุ B ซึง่ เปน็ บอ่ หลอมเดิมของแนวเชอื่ ม

รปู ท่ี 3.49 แสดงวธิ ีการตอ่ แนวเช่อื ม
(ทมี่ า : ปราโมทย์ อทุ ยั วัฒน์, 2558)

112

6.4.2 กรณีที่แอ่งปลายแนวเชื่อมเย็น ให้ทาความสะอาดแนวเช่ือมก่อนโดยใช้ค้อน
เคาะสแลกออกและใช้แปรงลวดขัดให้ จากนั้นให้เริ่มต้นอาร์กห่างจากแอ่งหลอมเดิมไปทางด้านหน้า
ประมาณ 1/2 นว้ิ เมือ่ เกิดการอาร์กแลว้ แลว้ จงึ เคลือ่ นลวดเชื่อมมาที่ปลายแนวเช่อื มเดิม

รปู ท่ี 3.50 แสดงวธิ กี ารต่อแนวเช่อื ม
(ที่มา : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)

6.5 การเคล่ือนทีข่ องลวดเชอ่ื ม (Electrode Manipulation)

การเช่ือมในตาแหน่งท่าเช่ือมต่างๆ และทุกรอยต่ออาจใช้เทคนิคการส่ายลวดเชื่อมเพื่อช่วยให้
แนวเช่ือมทส่ี มบูรณ์ วธิ ีการส่ายลวดเชื่อมมหี ลายรปู แบบดังแสดงในรูปท่ี 3.51

รปู ที่ 3.51 แสดงรปู แบบของการสา่ ยลวดเชื่อม
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อทุ ัยวัฒน์, 2558)

113

7. ขอ้ บกพรอ่ งในการเชอ่ื มและวิธกี ารแก้ไข

การเชื่อมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์ เป็นการกระบวนการทาให้เน้ือโลหะยึดติดกันโดยการหลอมเน้ือ
โลหะงานและโลหะเติมหรือลวดเชื่อมเข้าด้วยกัน ดังนั้นถ้าหากการเช่ือมไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ อัน
เนือ่ งมาจากสาเหตใุ ดกต็ ามก็จะทาใหเ้ กดิ ข้อบกพร่อง ซึ่งลักษณะข้อบกพร่องสามารถเกิดข้ึนได้ทั้งในแนว
เชอื่ มและโลหะงาน ในหวั ข้อนี้จะกล่าวถึงขอ้ บกพร่องในการเชอ่ื มและวิธีการแก้ไขเบ้ืองตน้ ดงั นี้

7.1 โพรงอากาศฝงั ในแนวเช่อื มหรือการเกิดรูพรุน (Porosity)

โพรงอากาศหรือรูพรุนมีลักษณะเป็นวงกลมหรือยาวรีฝังในเชื่อมเช่ือม ซ่ึงมีสาเหตุมาจากแก๊ส
ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาของส่ิงสกปรก หรือความชื้นไม่สามารถจะลอยตัวออกนอกผิวหน้ารอยเช่ือมได้ทัน
ก่อนการแข็งตวั ของโลหะ นอกจากน้ียังมีสาเหตุอันเนือ่ งจากการทาความสะอาดช้ินงานก่อนการเช่ือมไม่
ดีพอ การเตรียมงานไม่ดีทาให้มีสิ่งสกปรกตกค้างอยู่บริเวณรอยต่อ และทาให้เกิดฟองแก๊สได้ขณะทาการ
เชอ่ื ม นอกจากน้ขี ณะเชอื่ มหรอื การใช้เทคนิคในการเช่ือมท่ีไม่ถูกต้อง ก็อาจเป็นสาเหตุของการเกิดโพรง
อากาศได้เช่นเดยี วกนั สาหรบั แนวทางในการแกไ้ ขมีดังน้ี

1. ทาความสะอาดรอยเชอ่ื มใหส้ ะอาดกอ่ นทาการเช่ือม
2. เลือกลวดเชือ่ มให้เหมาะสมกับวัสดุช้ินงาน และอบลวดเชื่อมให้แห้งตามกาหนดเพ่ือ
ขจัดความช้นื ออกให้หมด
3. ลดกระแสไฟเชอื่ มให้ตา่ ลงเลก็ นอ้ ย
4. ใช้เทคนคิ การส่ายลวดเชือ่ มให้แคบลง หรือเดินลวดเช่ือมใหช้ า้ ลงเล็กน้อย
5. อ่นุ ช้นิ งานก่อนการเชือ่ มและใช้ลวดเชื่อมชนิดไฮโดรเจนต่า

รูปท่ี 3.52 แสดงลักษณะของโพรงอากาศท่ีฝงั ในแนวเชื่อม
(ที่มา : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)

7.2 การหลอมลึกไมบ่ ริบูรณ์ทฐ่ี าน (Incomplete root penetration)

การหลอมลกึ ไมบ่ รบิ รู ณ์ทีฐ่ าน เปน็ ลักษณะของการทโี่ ลหะเช่ือมไม่หลอมลึกลงไปถึงฐานหรือราก
ของรอยต่อโลหะชิ้นงานหรือเป็นลักษณะของเน้ือแนวเช่ือมไม่สามารถซึมทะลุไปยังอีกด้านหนึ่ง โดยมี
สาเหตุมาจากการใช้ความร้อนในการเชื่อมไม่เพียงพอ การเตรียมรอยต่อไม่เหมาะสมทาให้เกิดออกไซด์
ในเนื้อช้ินงานปดิ กัน้ รบกวนการหลอมเหลวของน้าโลหะ สาหรบั แนวทางในการแก้ไขมดี งั นี้

1. เพ่มิ กระแสไฟเชอื่ มให้สูงขน้ึ
2. ใช้ระยะอารก์ ส้นั ลง
3. ส่ายลวดเชือ่ มแบบสามเหล่ียม
4. ปรบั มมุ เดินลวดเช่อื มใหเ้ หมาะสม
5. เลอื กลวดเชอ่ื มให้เหมาะสมชน้ิ งาน

114

6. ลดความเร็วในการเช่ือมเพ่ือให้การหลอมลกึ ลงไปถึงส่วนที่เปน็ รากของรอยต่อ
7. บากหน้าชิ้นงานให้มมี ุมกวา้ งข้นึ

รูปท่ี 3.53 แสดงลักษณะของการหลอมลกึ มาบรบิ รู ณ์ทฐ่ี าน
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)

7.3 สแลกฝังใน (Slag Inclusion)

สแลกเป็นของแข็งที่ไม่ใช่โลหะฝังตัวอยู่ในแนวเช่ือม โดยอาจจะอยู่ในเน้ือช้ินงานท่ีหลอมเหลว
หรืออยู่ในขอบรอยตอ่ ของะช้นิ งานกบั แนวเชอื่ ม โดยสาเหตุอาจเกดิ จากการออกแบบร่องบากแคบเกินไป
ทาให้น้าโลหะเติมไม่สะดวก เกิดการหมุนของน้าโลหะทาให้สแลกที่กาลังละลายลอยตัวข้ึนเหนือแนว
เช่ือมไดย้ าก เป็นตน้ สาหรับแนวทางในการแก้ไขมดี งั น้ี

1. เพิ่มความเร็วในการเคลื่อนท่ีลวดเชื่อม เพ่ือไม่ให้สแลกไหลลงไปรวมท่ีส่วนล่างของ
แนวเชอ่ื มขณะทีก่ าลังหลอมเหลว

2. เอยี งลวดเชื่อมไปในทิศทางที่จะเช่ือม
3. ใชล้ วดเชื่อมท่ีมีขนาดเลก็ ลง
6. ปรบั กระแสไฟเช่อื มให้เหมาะสม
5. ใช้ระยะอารก์ สั้นลงเพื่อให้สแลกลอยตวั ไดด้ ขี ึ้น
6. ทาความสะอาดแนวเชอ่ื มให้สะอาดกอ่ นเชอื่ มตอ่ แนวหรอื เช่อื มทบั แนว

สแลกฝังในแนวเชอ่ื ม

รปู ท่ี 3.54 แสดงลกั ษณะของสแลกฝังในแนวเช่ือม
(ที่มา : ปราโมทย์ อุทยั วฒั น์, 2558)

7.4 รอยแหวง่ ขอบแนว (Undercut)

รอยแหวง่ ขอบแนวเปน็ ลกั ษณะของรอ่ งท่ีไม่สมา่ เสมอทข่ี อบแนวเช่ือมบนโลหะชิ้นงานซึ่งเกิดจาก
การเช่ือม โดยสาเหตุอาจเกิดจากการใช้กระแสไฟเชื่อมสูงเกินไปและใช้เทคนิคการเช่ือมท่ีไม่ถูกต้อง
สาหรบั แนวทางในการแก้ไขมีดังนี้

115

1. ปรบั กระแสไฟเชอ่ื มให้ตา่ ลง
2. ปรับระยะอารก์ ใหส้ น้ั ลง ประมาณเท่ากับขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของลวดเช่อื ม
3. ใชม้ ุมลวดเดินลวดเช่ือมให้ถูกต้อง
4. เคลอื่ นที่ของลวดเช่อื มให้ชา้ ลงเลก็ น้อยและสัมพนั ธก์ บั การสา่ ยลวดเชอ่ื ม

รูปท่ี 3.55 แสดงลักษณะของรอยแหว่งขอบแนว
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อทุ ยั วฒั น์, 2558)

7.5 การเกดิ รอยเกย (Overlap)

รอยเกย คือเน้ือโลหะเชื่อมท่ียื่นเลยออกไปกองอยู่บนขอบของแนวเชื่อม เป็นความบกพร่อง
ที่ขอบหรือรากแนวเช่ือมซึ่งเกิดจากโลหะเช่ือมไหลเลยไปบนผิวหน้าขิงโลหะช้ินงานโดยไม่มีการหลอม
ละลายตดิ กนั โดยสาเหตอุ าจเกิดจากการเลือกใชล้ วดเชอื่ มไม่เหมาะสม หรือเกิดจากออกไซด์ท่ีอยู่บริเวณ
ผิวหนา้ ของช้นิ งานเปน็ ตวั ก้นั การหลอมเหลวของเน้ือชิ้นงาน การปรับกระแสไฟต่าเกินไปและมุมของลวด
เช่ือมไม่ถูกต้อง เปน็ ต้น สาหรับแนวทางในการแกไ้ ขมดี งั นี้

1. เพม่ิ กระแสไฟให้สูงข้นึ โดยให้สัมพันธ์กับขนาดของลวดเชอ่ื มด้วย
2. ใชม้ ุมลวดเชื่อมใหถ้ กู ต้องตามลักษณะของท่าเชื่อม
3. เคลื่อนทลี่ วดเชื่อมให้ชา้ ลงเล็กน้อยและส่ายลวดเชอื่ มใหแ้ คบลง

รูปที่ 3.56 แสดงลักษณะรอยเกยของแนวเชอ่ื ม
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)

7.6 รอยร้าว (Crack)

รอยร้าวที่เกิดขึ้นในแนวเชื่อมและโลหะช้ินงานอาจเป็นรอยร้าวตามยาว รอยร้าวตามขวาง
รอยร้าวที่ขอบ รอยร้าวท่ีแอ่งหลอมปลายแนวเชื่อม ใต้แนวเชื่อมที่โลหะเชื่อมหรือท่ีโลหะช้ินงาน
ลักษณะของรอยร้าวท่ีเกิดขึ้นแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือรอยร้าวขณะร้อน (Hot crack) เป็นการร้าวใน
เม็ดโลหะที่เกิดข้ึนในขณะท่ีโลหะหลอมเหลวกาลังแข็งตัว และรอยร้าวขณะเย็น (Cold crack) เป็นการ
ร้าวหลังจากที่ชน้ิ งานเย็นตัวลงมาใกล้เคียงอุณหภูมิหอ้ ง

116

รอยร้าวมีสาเหตุหลายประการ ได้แก่ เกิดความเค้นภายในเนื้อโลหะ ลวดเช่ือมมีความชื้น
โลหะชิน้ งานเป็นโลหะท่มี สี ว่ นผสมของโลหะเจือมาก อตั ราการเย็นตวั ของแนวเชอ่ื มเร็วเกนิ ไป เนื้อโลหะ
ชิน้ งานมีกามะถนั ผสมมากขณะอาร์กเกิดไฮโดรเจนมาก หรือออกซิเจนเข้าไปรวมตัวกับน้าโลหะ การทา
ความสะอาดแนวเชอื่ มไมด่ ี และการเตรยี มงานไม่ดี เปน็ ตน้ สาหรบั แนวทางในการแกไ้ ขมดี งั นี้

1. อบลวดเชือ่ มกอ่ นทาการเช่ือมตามกาหนด
2 อุ่นชิน้ งานก่อนเชอ่ื มและใชล้ วดเชอื่ มชนดิ ไฮโดรเจนตา่
3. จดั ลาดบั ขน้ั การเชอ่ื มให้เหมาะสม
4. อยา่ เชอื่ มให้แอง่ หลอมปลายแนวเชอื่ มมขี นาดใหญเ่ กินไป
5. ทาความสะอาดแนวเชื่อมใหป้ ราศจากส่ิงสกปรกก่อนเชอื่ มตอ่ แนว
6. เทคนิคการเชือ่ มโดยเติมลวดเชอ่ื มใหเ้ ตม็ แอ่งหลอมปลายแนวเช่ือม
7. การเคลอื่ นทลี่ วดเชือ่ มให้สัมพันธก์ ับการส่ายลวดเช่อื ม

รูปที่ 3.57 แสดงลกั ษณะการเกดิ รอยรา้ วของแนวเช่ือม
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน,์ 2558)

7.7 เมด็ โลหะกระเดน็ (Spatter)

เป็นลกั ษณะของหยดโลหะท่ีกระเด็นออกมาระหว่างการเชือ่ ม มีรูปรา่ งคล้ายกับเม็ดทรายกระจัด
กระจายอยู่บริเวณแนวเชื่อมหรือผิวช้ินงาน โดยมีสาเหตุมาจากใช้กระแสไฟเชื่อมสูงเกินไป ระยะอาร์ก
ยาวเกินไป ใช้ลวดเช่ือมผิดประเภทและใช้ขั้วไฟเช่ือมไม่ถูกต้องในกรณีเครื่องเช่ือมกระแสตรง เป็นต้น
สาหรบั แนวทางในการแก้ไขมดี ังน้ี

1. ลดกระแสไฟเชอื่ มใหต้ ่าลง
2. อบลวดเชอ่ื มก่อนใช้งาน
3. ปรบั ระยะอารก์ ให้เหมาะสม คอื ประมาณขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลางของลวดเช่ือม
4. ปรบั ตั้งข้วั ไฟเช่อื มใหถ้ ูกตอ้ ง
5. เลอื กลวดเชอ่ื มใหเ้ หมาะสมกับวสั ดชุ ้ินงาน

117

เมด็ โลหะกระเดน็

รูปที่ 3.58 แสดงลกั ษณะของเม็ดโลหะกระเดน็ บนผวิ งาน
(ท่มี า : ปราโมทย์ อทุ ัยวฒั น์, 2558)

7.8 การบดิ งอ (Distortion)

เป็นข้อบกพร่องหลังการเช่ือมเสร็จและชิ้นงานเย็นตัวลงมาที่อุณหภูมิห้อง แล้วทาให้ช้ินงานเกิด
การบดิ งอ โดยสาเหตุเกิดจากช้ินงานได้รับความร้อนเฉพาะจุดมากเกินไป การเตรียมรอยต่อไม่ถูกต้องใช้
เทคนคิ การเชอ่ื มไม่เหมาะสมและปรบั กระแสไฟสูงเกินไป สาหรับแนวทางในการแกไ้ ขมีดังน้ี

1. ใช้อุปกรณ์ชว่ ยยึดชิน้ งานหรือเชอ่ื มยึดไว้ก่อน
2. เชื่อมแนวสนั้ ๆ และปล่อยให้เยน็ กอ่ นจึงเชือ่ มแนวตอ่ ไป
3. เตรยี มเผ่ือระยะใหง้ านหดหรอื ขยายตวั กอ่ นทาการเช่อื ม
4. กระจายรอยเช่ือมให้ทว่ั ทั้งช้นิ งาน
5. กาจดั ความเครยี ดในเนอ้ื งานก่อนการเชือ่ ม

รูปที่ 3.59 แสดงลักษณะการบิดงอของชน้ิ งานหลังการเชื่อม
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)

7.9 รอยเชอื่ มไมเ่ ปน็ แนว (Poor Appearance)

เป็นขอ้ บกพรอ่ งท่ไี ม่สามารถควบคมุ ใหเ้ ป็นแนวเช่อื มทั่วไปได้ เช่น แนวเชื่อมนูนมาก แนวเช่ือม
เว้ามาก แนวเชือ่ มกว้างมาก แนวเชื่อมแคบมาก และเกล็ดแนวเชื่อมไม่สม่าเสมอ เป็นต้น โดยมีสาเหตุ
มาจาก ใช้กระแสไฟเชื่อมสูงหรือต่าเกินไปทาให้แนวเช่ือมนูนหรือเว้า การเคลื่อนลวดเช่ือมเร็วและช้า
ไม่สัมพันธ์กับการส่ายลวดเช่ือม ระยะอาร์กไม่คงท่ี ความร้อนสะสมในช้ินงานมากเกินไป ใช้ลวดเชื่อม
ไม่เหมาะสมกับวัสดุชิ้นงาน การส่ายลวดเช่ือมไม่เป็นรูปแบบเดียวกัน เป็นต้น สาหรับแนวทางในการ
แกไ้ ขมีดงั น้ี

1. ปรับกระแสไฟเช่ือมใหเ้ หมาะกบั ขนาดของลวดเชอ่ื ม
2. เลอื กชนิดของลวดเชอื่ มใหเ้ หมาะสมกับชิ้นงาน
3. ไมค่ วรเช่อื มต่อกนั เป็นแนวยาว แตค่ วรหยดุ เช่อื มเป็นชว่ งๆ
4. ขณะเคล่อื นลวดเชื่อมควรรกั ษาระยะอาร์กให้คงท่ี และส่ายลวดให้สมา่ เสมอ

118

5. ปรับมุมลวดเช่อื มให้เหมาะสม

รูปที่ 3.60 แสดงลกั ษณะของแนวเชื่อมไม่เป็นแนว
(ที่มา : ปราโมทย์ อทุ ัยวัฒน์, 2558)

3.10 การโก่งงอ (Warping)

เป็นข้อบกพร่องที่ช้ินงานภายหลังจากการเช่ือมตามแนวยาว ซึ่งเป็นผลมาจากแรงหดตัวของ
รอยเชอื่ มกับแรงต้านภายในเนอื้ โลหะงาน ทาให้ชิน้ งานผดิ รูปร่างโก่งงอไม่ไดศ้ นู ย์ โดยมสี าเหตุมาจากการ
หดตัวของรอยเช่ือม ความร้อนสะสมที่จุดใดจุดหน่ึงมากเกินไป การเตรียมรอยต่อไม่ดี การยึดช้ินงาน
ไม่ถูกตอ้ งและใชเ้ ทคนคิ การเชื่อมไมเ่ หมาะสม เป็นต้น สาหรับแนวทางในการแก้ไขมดี งั นี้

1. เลอื กใชล้ วดเชือ่ มที่มีขนาดเลก็ ลงและมีการซมึ ลึกปานกลาง
2. ใช้เทคนิคการเชือ่ มทเี่ ร็วขน้ึ
3. ลดระยะเว้นชอ่ งหนา้ ฐานลง
4. หาวิธีการจับยดึ ชนิ้ งานใหถ้ ูกตอ้ ง
5. ใชก้ รรมวธิ ที างความรอ้ นหลงั การเช่อื มมาชว่ ย ได้แก่ การอบคืนตัว การทาให้ชิ้นงาน
เย็นตัวลงอยา่ งช้าๆ และการเคาะคืนตวั เป็นต้น

รูปที่ 3.61 แสดงลกั ษณะของการโกง่ งอของชิน้ งานหลงั เช่อื ม
(ทม่ี า : ปราโมทย์ อทุ ยั วฒั น์, 2558)

8. อันตรายและความปลอดภัยในงานเช่อื มอาร์กลวดห้มุ ฟลกั ซ์

8.1 อันตรายทีเ่ กิดจากการเชื่อมไฟฟ้า

อนั ตรายที่อาจเกิดข้นึ จากการเชอื่ มาอาร์กลวดหุ้มฟลักซแ์ ละวิธกี ารป้องกันมีดังนี้
1. อันตรายจากกระแสไฟฟ้า ไดแ้ ก่ ไฟฟ้าร่ัวไหลท่ีผู้ปฏิบัติงานไปสัมผัสโดยตรงกับส่วน

ใดส่วนหนึ่งที่ไม่มีฉนวนหุ้ม เช่น เครื่องเช่ือม หัวจับลวดเชื่อม สายเชื่อม สายดิน ช้ินงานหรืออาจยืน
เชอ่ื มในบรเิ วณพน้ื เปียกแฉะทาให้กระแสไหลครบวงจรผ่านตัวผ้ปู ฏบิ ัติงานและทาให้ไฟฟา้ ดดู เปน็ ตน้

สาหรับแนวทางในการป้องกันอันตราย คือก่อนปฏิบัติงานให้ทาการตรวจสอบสภาพของ
เคร่ืองมืออุปกรณ์ ได้แก่ เคร่ืองเช่ือม สายเช่ือม สายดิน หัวจับลวดเช่ือมและคีมจับสายดิน เป็นต้น

119

หากเคร่อื งมอื อุปกรณด์ ังกล่าวอยู่ในสภาพที่ไม่สมบูรณห์ ้ามใชโ้ ดยเด็ดขาด และแจ้งให้ครูผู้ควบคุมทราบ
เพ่อื แกไ้ ข และในการประกอบ ติดตั้งเครื่องมือ อุปกรณ์ ต้องขันยึดให้แน่น เช่น การประกอบสายเชื่อม
เข้ากับหัวจับลวดเช่ือม การประกอบสายดินเข้ากับคีมจับสายดิน และการประกอบสายเช่ือมกับเครื่อง
เชอื่ ม เป็นต้น

(ก) การประกอบสายเชื่อมเขา้ กบั เคร่อื งเชอ่ื ม

(ข) การประกอบสายเช่อื มเข้ากับหวั จบั ลวดเชื่อม (ค) การประกอบสายดินเขา้ กบั คมี จับสายดิน
รปู ที่ 3.62 แสดงการตรวจสอบการประกอบ ตดิ ตัง้ เครื่องเชือ่ มและอปุ กรณ์
(ท่มี า : ปราโมทย์ อุทัยวฒั น,์ 2558)
2. อันตรายจากรังสีที่เกิดจากการอาร์ก ขณะเชื่อมจะมีรังสีท่ีเกิดจากการอาร์กซ่ึงเป็น

อันตรายอย่างรุนแรงต่อผิวหนังและดวงตา รังสีแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือรังสีอัลตราไวโอเลต (Ultra
Violet Rays) รังสีช่วงแสงสว่าง (Visible Light Rays) และรังสีอินฟราเรด (Infrared Rays) โดยรังสี
แตล่ ะชนดิ เปน็ อันตราย ดังน้ี

2.1 รังสีอัลตราไวโอเลต ทาให้นัยน์ตาอักเสบเน่ืองจากผนังดวงตาถูกเผาไหม้ แล้วเกิด
อาการระคายเคือง เจ็บปวด ขัดขวางการไหลเวียนของโลหติ โดยสงั เกตได้จากดวงตาเป็นสีแดงคล้ายกับ
มเี มด็ ทรายเข้าตา และเม่ือผนังดวงตาเกิดการอักเสบจะทาให้ต่อมน้าตาเกิดการอักเสบด้วย มีน้าตาไหล
มาก ซง่ึ เกดิ จากมีแสงเข้าตานาน ในการลดการเจ็บปวดของดวงตาอาจทาได้โดยใช้ยาหยอดตาและใช้ผ้า
เยน็ ปดิ ตาไว้ นอกจากน้ีผิวหนงั อักเสบเนอ่ื งจากเส้นเลอื ดใต้ผิวหนังจะเกิดการขยายตัวทาให้เกดิ อาการคัน
และอักเสบ ถา้ ได้รับรังสีเปน็ เวลานานอาจทาใหม้ อี าการแพบ้ นผวิ หนังและเกดิ มะเรง็ ผวิ หนังได้

2.2 รงั สีชว่ งแสงสว่าง เปน็ รงั สที ี่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เมื่อถูกรังสีจะทาให้ตามัวและ
มดื ไปพักหน่ึง ทาให้ประสาทตาระคายเคอื งและอาจทาให้ตาบอดได้

2.3 รังสีอินฟราเรดทาให้ตาดาขุ่นและอาจเกิดต้อกระจกความร้อนจอภาพของนัยน์ตา
ตายและอาจทาให้ตาบอดได้ นอกจากนี้ยังทาให้ผิวหนังไหม้อย่างเฉียบพลันคือสีผิวหนังเปล่ียนไปเกิด
อาการคนั และอกั เสบ เป็นตน้

120

รังสีทุกชนิดที่กล่าวมานี้จะเกิดทุกคร้ังท่ีมีเช่ือม ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและลด
อนั ตรายให้น้อยลงตอ้ งสวมใสอ่ ุปกรณ์ป้องกันอันตรายสว่ นบุคคลทุกครง้ั

รังสจี ากการเชื่อม
รูปท่ี 3.63 แสดงลกั ษณะของรังสที ่ีเกดิ จากการเช่ือม
(ทม่ี า : ปราโมทย์ อทุ ยั วัฒน์, 2558)

3. อันตรายท่ีเกิดจากไอระเหย ขณะเชื่อมจะมีไอระเหย (Fumes) เกิดขึ้นเน่ืองจาก
โลหะช้ินงานและลวดเชื่อมได้รับความร้อนสูงจนกระท่ังหลอมละลาย ไอระเหยเหล่านี้ประกอบด้วยไอ
ระเหยที่มองเห็นได้ เช่น ควันที่อยู่ในรูปของออกไซต์ของโลหะ แลไอระเหยท่ีมองไม่เห็นที่อยู่ในรูปของ
แก๊สซ่ึงเกิดจากกระบวนการเช่ือม แก๊สท่ีใช้ในกระบวนการเช่ือม ชนิดของโลหะชิ้นงาน (ส่วนผสมทาง
เคมี และสารเคลอื บบนผวิ ชิ้นงาน) และชนิดของลวดเชอื่ ม (ส่วนผสมทางและเคมชี นดิ ของฟลกั ซ์)

ไอระเหยจากการเช่ือม

รปู ท่ี 3.64 แสดงลกั ษณะของไอระเหยท่เี กดิ จากการเชอ่ื ม
(ทมี่ า : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)

4. อันตรายจากแก๊ส ขณะเชื่อมจะเกิดแก๊สคาร์บอนมอนออกไซด์และออกไซด์ของ
ไนโตรเจน ซึง่ ถา้ หายใจเข้าไปอาจก่อให้เกิดการอักเสบของปอด นา้ ท่วมปอด ปอดบวม มนี า้ สะสมในปอด
ทาให้ปอดสูญเสียการยืดหยุ่นและหลอดลมอักเสบเรื้อรัง เป็นต้น และถ้าเชื่อมในที่อับอากาศอาจ
ก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ ทั้งน้ีเพราะก๊าซเหล่านี้จะเข้าแทนที่แก๊สออกซิเจนทาให้เกิดสภาวะขาด
อากาศหายใจฉบั พลัน

121

5. อันตรายท่ีเกิดจากควัน ละอองหรือฝุ่นโลหะ ขณะเช่ือมจะเกิดจากการเผาไหม้ของ
ธาตุในเน้ือโลหะช้ินงาน สารเคลือบผิวโลหะชิ้นงาน และสารเคมีท่ีผสมอยู่ในฟลักซ์ ธาตุต่างๆ ได้แก่
โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว สังกะสี แคดเมียมและฟลูออรีน แล้วแปรสภาพเป็นควัน ละออง ฝุ่นและแก๊ส
ขึ้นมา ถ้าหายใจเอาควันเหล่าน้ีเข้าไปจะเกิดผลกระทบกับผู้ปฏิบัติงานเชื่อม เช่น ก่อให้เกิดการระคาย
เคือง ทาให้เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคปอด ทาให้เน้ือเยื่อปอดเกิดการระคายเคือง
อักเสบ พังผืดข้ึนในปอด สมรรถภาพในการทางานของปอดลดลงทาให้เกิดอาการเหนื่อยง่าย หอบ
น้าหนักตัวลด เจ็บหน้าอกหายใจลาบาก หายใจถี่และไอ เป็นต้น นอกจากนี้การสัมผัสละอองหรือฝุ่น
โลหะเมื่อถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองขึ้นและส่งผลให้ผิวหนังแตก แห้ง ผิวหนังพุพองจนเกิด
เปน็ แผลเรื้อรังได้ เปน็ ตน้

ควนั จากการเชื่อม

รูปที่ 3.65 แสดงลกั ษณะของควันทเ่ี กิดจากการเช่ือม
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อทุ ยั วฒั น์, 2558)

6. อันตรายจากความร้อนและการเผาไหม้ ขณะเช่ือมจะเกิดการเผาไหม้และมีความ
รอ้ นที่มีอุณหภูมสิ ูง การกระเดน็ ของเมด็ โลหะร้อน หรือสะเก็ดโลหะขณะทาการเช่ือม รวมถึงการเคาะส
แลกในขณะชิ้นงานยงั ร้อนจะมผี ลทาให้การเผาไหม้โดยตรงต่อผิวหนังและส่วนต่างๆ ของร่างกาย อีกทั้ง
สามารถก่อให้เกิดเพลิงไหมข้ ้ึนไดห้ ากมีการตดิ ไฟในวัสดุท่ีเป็นเช้ือเพลิง ดังน้ันก่อนปฏิบัติงานเช่ือมควรมี
การตรวจสอบอุปกรณ์ และบริเวณปฏิบัติงานเชื่อมว่ามีความปลอดภัยจากการเกิดเพลิงไหม้หรือไม่
อกี ทง้ั ตอ้ งสวมชุดปอ้ งกนั ความรอ้ น ไดแ้ ก่ เส้อื หนัง ปลอกแขน ถุงมือ หน้ากากและรองเท้าหนงั เปน็ ต้น

122
8.2 ความปลอดภยั ในการเช่อื มอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์

1. การเตรยี มการกอ่ นปฏบิ ตั งิ าน ต้องเตรียมเครื่องมือท่ีจาเป็นในงานเช่ือมที่สาคัญ เช่น
คีมจับงานร้อน ค้อนเคาะสแลก แปรงลวด และอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (ถุงมือ เสื้อหนัง
ปลอกแขน รองเทา้ และหน้ากากเชอื่ มพร้อมด้วยป้องกันแสง) ใหพ้ รอ้ ม

รูปท่ี 3.66 แสดงการเตรียมการกอ่ นปฏบิ ัตงิ านเชอ่ื ม
(ท่มี า : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)

2. สวมใสช่ ุดปฏบิ ัตงิ านและอปุ กรณ์ป้องกันอันตราย ก่อนปฏิบัติงานทุกคร้ังต้องสวมใส่
ชุดปฏบิ ตั งิ านและอุปกรณ์ป้องกันอันตรายให้ครบถ้วน ได้แก่ หน้ากากเชื่อม เส้ือคลุม ปลอกแขน ถุงมือ
และรองเท้า เปน็ ตน้

รูปท่ี 3.67 แสดงชดุ ปฏิบตั งิ านเชื่อมอารก์ ลวดหมุ้ ฟลักซ์
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อทุ ัยวัฒน์, 2558)

123

3. การจับลวดเช่ือมเข้ากับหัวจับลวดเช่ือมจะต้องสวมถุงมือทุกคร้ัง เพ่ือป้องกันความ
รอ้ นหรอื อันตรายจากกระแสไฟฟ้าดดู

ลวดเชือ่ ม

คมี จบั ลวดเชอ่ื ม

รปู ท่ี 8.68 แสดงลักษณะของการจับลวดเชอื่ มเขา้ กบั ด้ามจบั ลวดเชือ่ ม
(ที่มา : ปราโมทย์ อทุ ยั วฒั น์, 2558)

4. การเคาะสแลกออกจากแนวเชื่อมให้หันหัวค้อนออกด้านนอกเพ่ือให้ทิศทางการ
กระเด็นของสแลกหา่ งออกจากลาตวั ของผู้ปฏิบตั งิ านและสวมแว่นนริ ภยั ทุกครัง้

ทศิ ทางเคาะสแลก คีมจบั งานรอ้ น
ช้นิ งาน

สแลก แนวเช่อื ม

รูปที่ 3.69 แสดงลักษณะของการเคาะสแลกออกจากแนวเชื่อม
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)

5. ห้ามใช้ถุงมือจับชิ้นงานขณะร้อนโดยตรง หากมีความจาเป็นให้ใช้คีมจับช้ินงานเพื่อ
ป้องกันไมใ่ หค้ วามรอ้ นถูกร่างกาย

คีมจบั งานร้อน

ช้นิ งาน

รปู ที่ 3.70 แสดงวิธีการใชค้ ีมจบั งานรอ้ นหลงั การเชอ่ื ม
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)

124

6. การเจียระไนตกแต่งแนวเชื่อมหรือช้ินงานให้สวมแว่นตานิรภัยทุกครั้ง เพ่ือป้องกัน
สะเก็ดของโลหะกระเด็นเขา้ ตา

สวมแวน่ ตานิรภัย

รปู ท่ี 3.71 แสดงลักษณะของการสวมแว่นตานริ ภัยขณะเจียระไนชนิ้ งาน
(ทม่ี า : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)

7. หา้ มเชือ่ มในบรเิ วณทใี่ กล้กบั วตั ถุไวไฟ เช่น นา้ มันและทินเนอร์ เพราะสะเก็ดไฟจาก
การเช่อื มอาจกระเดน็ ไปถูกวัตถไุ วไฟทาใหเ้ กิดการลุกไหมห้ รือระเบดิ ได้

ถงั บรรจุเชอ้ื เพลงิ
หรอื วตั ถุไวไฟ

รูปท่ี 3.72 แสดงลักษณะของการปฏบิ ตั งิ านใกลถ้ งั บรรจแุ กส๊ เช้อื เพลงิ ทีต่ ดิ ไฟไดง้ า่ ย
(ท่ีมา : http://www.welovesafety.com, วันเขา้ ถงึ 12 มกราคม 2559)
8. ห้ามปฏิบัติงานเช่ือมในขณะท่ีสภาพของร่างกายยังไม่พร้อม เช่น ง่วงนอนหรือ

ออ่ นเพลยี เพราะจะทาให้เกดิ อนั ตราย เช่น พลดั ตกจากทสี่ ูงและเกิดอนั ตรายจากกระแสไฟฟ้า เปน็ ต้น
9. การจัดสถานท่ีปฏิบัติงานเชื่อมต้องมีอากาศถ่ายเทได้สะดวกหรือใช้เคร่ืองดูดควัน

ฝุ่นละออง และไอระเหยทีเ่ กดิ จากการเช่ือมออกไปจากบริเวณการปฏบิ ัตงิ าน

125

10. หา้ มเชื่อมในสถานที่คับแคบหรือสถานที่อับอากาศ แต่หากจาเป็นต้องเชื่อมจะต้อง
ใช้เครื่องดูดควันพิษ ฝุ่นละอองและไอระเหย เพราะจะทาให้ขาดอากาศหายใจเป็นอันตรายถึงขั้น
เสยี ชวี ิตได้

รูปท่ี 3.73 แสดงลักษณะของการใชเ้ ครือ่ งดูดควันพิษท่เี กดิ จากการเชอ่ื มขณะปฏบิ ตั ิ
(ท่ีมา : http://www.millionwelding.com, วันเขา้ ถงึ 12 มนี าคม 2559)
11. หลีกเลี่ยงการเชือ่ มในพ้นื ทเี่ ปียกแฉะ แตห่ ากมีความจาเปน็ ต้องทางานเชื่อมในพื้นท่ี

ดังกล่าว ควรหาวิธีป้องกันไฟฟ้าดูดโดยใช้ผ้าฝ้ายหรือหนังเทียมท่ีแห้งและเป็นฉนวนรองพื้นบริเวณ
ปฏบิ ัติงาน แต่ห้ามปฏิบัติงานเชื่อมขณะฝนตกเพราะจะทาใหไ้ ฟฟ้าลดั วงจรได้

วสั ดทุ ี่เปน็ ฉนวนไฟฟา้

รปู ที่ 3.74 แสดงลกั ษณะของการใชว้ สั ดทุ ีเ่ ปน็ ฉนวนรองพนื้ บรเิ วณปฏิบตั ิงาน
(ท่มี า : อานาจ ทองแสน, 2558, น. 227)

126

12. สถานท่ีปฏิบัติงานเชื่อมจะต้องไม่มีวัสดุหรือสารที่ติดไฟง่าย มีอากาศถ่ายเทได้
สะดวกหรือมีเคร่ืองดูดไอระเหย เช่น ควันพิษ ฝุ่นละออง ฟูมและก๊าซพิษออกจากบริเวณเช่ือม
นอกจากนี้ต้องมีการติดต้ังอุปกรณ์ดับเพลิงท่ีพร้อมใช้งานได้ทันที เพราะขณะปฏิบัติงานอาจเกิดการ
ลุกไหม้จากความร้อนและเพื่อป้องกันเหตุการณ์ฉุกเฉิน รวมท้ังติดป้ายคาอธิบายวิธีการใช้อุปกรณ์
ดบั เพลิงนน้ั อยา่ งชัดเจน

รปู ที่ 3.75 แสดงลักษณะของสถานทป่ี ฏิบัติงานเชือ่ มทม่ี อี ากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อุทยั วัฒน์, 2558)
คาอธิบายวธิ ีการใชง้ าน
ของอปุ กรณด์ บั เพลิง

อปุ กรณ์ดับเพลิง
รปู ท่ี 3.76 แสดงลักษณะการติดต้งั อปุ กรณ์ดบั เพลิงใกลส้ ถานที่ปฏิบตั ิเช่ือม

(ที่มา : ปราโมทย์ อุทัยวฒั น์, 2558)

127

แบบฝกึ หัดทา้ ยบทเรียน

จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี (90 คะแนน)
1. จงเขียนเครื่องหมายถูก () หรือเครื่องหมายผิด () ลงในช่องว่าง (............) ด้านหน้าหมายเลข

ทางซา้ ยมอื ดงั ต่อไปนี้ (25 คะแนน)
............... 1.1 การเช่ือมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์ คือการเช่ือมด้วยไฟฟ้าในลักษณะที่ทาให้เกิดการ
อารก์ และไดร้ บั ความร้อนจากการอารก์ ระหว่างลวดเชอื่ มชนิดเปลือยกบั ชนิ้ งาน
............... 1.2 สารพอกหุ้มบนลวดเช่อื มเม่ือละลายจะทาหนา้ ทเ่ี ป็นเกาะปอ้ งกันบรรยากาศ
............... 1.3 ลวดเช่อื มทาหน้าท่ีเป็นโลหะเติมลงในแนวเชือ่ ม
............... 1.4 การตอ่ วงจรเช่ือมแบบ DCEP ใหล้ วดเชอื่ มเปน็ ข้ัวบวก (+) และตอ่ ช้นิ งาน
เปน็ ขั้วลบ (-)
............... 1.5 การต่อวงจรเชื่อมแบบ DCEP กระแสไฟฟ้าไหลจากลวดเช่อื มไปยงั ชิ้นงาน
............... 1.6 การต่อวงจรเชือ่ มแบบ DCEN ใหล้ วดเชื่อมเปน็ ขวั้ บวก (+) และตอ่ ชิ้นงาน
เป็นขัว้ ลบ (-)
............... 1.7 การตอ่ วงจรเชื่อมแบบ DCEN กระแสไฟฟ้าไหลจากลวดเชื่อมไปยงั ช้ินงาน
............... 1.8 หวั จับลวดเชื่อม คืออุปกรณท์ ่ีเปน็ ตวั นากระแสไฟฟา้ จากสายเชอื่ มผา่ นไป
สู่ลวดเชอ่ื ม
............... 1.9 การเชอื่ มช้นิ งานด้วยลวดเชือ่ มขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลาง 3.2 มลิ ลเิ มตร
ควรใชก้ ระจกกรองแสงเบอร์ 12
............. 1.10 สารพอกหุ้มทาหนา้ ที่ป้องกนั ไม่ให้เกดิ สแลกฝงั ใน
............. 1.11 ลวดหุ้มฟลกั ซ์ E6013 มคี ่าความตา้ นทานแรงดงึ 6,000 ปอนด์ต่อตารางนว้ิ
............. 1.12 ลวดหุ้มฟลักซ์ E6013 หมายเลข 1 คือตาแหน่งการเช่ือมหรือทา่ เชอ่ื ม
............. 1.13 การเช่ือมท่าราบ (Flat Position) คือ ตาแหน่งการเชื่อมท่ีวางช้ินงานในแนวตั้ง
แนวเชือ่ มขนานกับพ้นื
............. 1.14 รอยต่อชน (Butt Joint) คอื รอยต่อท่นี าขอบของช้นิ งาน 2 ช้นิ มาวางซอ้ นกนั
............. 1.15 มมุ เดินลวดเชือ่ ม (Travel Angle) คือมมุ เอยี งลวดเชอื่ มที่กระทากับชิ้นงาน
ในทิศทางเชือ่ มหรือการเคลอื่ นทขี่ องลวดเชอ่ื ม
............. 1.16 ถา้ ระยะอาร์กมากจะทาให้เกิดการแตกกระเดน็ ของน้าโลหะเชื่อม (Spatter)
............. 1.17 การเชื่อมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์โดยท่ัวไปมีระยะอาร์กประมาณ 0.5 เท่าของขนาด
เสน้ ผา่ นศนู ย์กลางของลวดเช่ือม
............. 1.18 การเรมิ่ ต้นอาร์กมี 2 วธิ ี คือวิธกี ารเคาะและวธิ กี ารแตะลวดเช่ือม
............. 1.19 การต่อแนวเช่ือมควรเร่ิมต้นอาร์กห่างจากแอ่งหลอมเดิมไปทางด้านหน้า
ประมาณ 1/2 นวิ้ เมื่อเกิดการอาร์กแล้วจงึ เคลื่อนลวดเช่อื มมาทีป่ ลายแนวเช่ือม

128

............ 1.20 โพรงอากาศฝังในแนวเชื่อม (Porosity) มีสาเหตุมาจากแก๊สที่เกิดข้ึนจากปฏิกิริยา
ของส่ิงสกปรก หรอื ความช้ืนไม่สามารถจะลอยตัวออกนอกผิวหน้าแนวเช่ือมได้ทัน
ก่อนการแขง็ ตวั ของโลหะ

............ 1.21 รอยแหว่งขอบแนว (Undercut) มีสาเหตมุ าจากการใช้กระแสไฟเชือ่ มตา่ เกินไป
............ 1.22 รอยเกย (Overlap) คือเนื้อโลหะเช่ือมที่ย่ืนเลยออกไปกองอยู่บนขอบของแนว

เช่ือม
............ 1.23 รอยร้าวขณะร้อน (Hot crack) เป็นการร้าวในเม็ดโลหะท่ีเกิดขึ้นในขณะท่ีชิ้นงาน

เย็นตวั ลงมาใกลเ้ คียงอุณหภูมหิ ้อง
............ 1.24 การบิดงอ (Distortion) เกิดจากช้ินงานได้รับความร้อนเฉพาะจุดน้อยเกินไป

เน่อื งจากใช้กระแสไฟเชื่อมตา่ เกินไป
............ 1.25 การโก่งงอ (Warping) มสี าเหตุมาจากการหดตัวของรอยเช่อื ม

2. จากรูป จงอธิบายหลักการของการเชอื่ มอารก์ ลวดหมุ้ ฟลักช์ พรอ้ มระบชุ อื่ ตามหมายเลขที่กาหนดให้
(10 คะแนน)

หลักการเชอื่ มอารก์ ลวดหุ้มฟลักช์
....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................

2.1 หมายเลข 1 ...................................................................................................................................................
2.2 หมายเลข 2 ...................................................................................................................................................
2.3 หมายเลข 3 ...................................................................................................................................................
2.4 หมายเลข 4 ...................................................................................................................................................
2.5 หมายเลข 5 ...................................................................................................................................................
2.6 หมายเลข 6 ...................................................................................................................................................
2.7 หมายเลข 7 ...................................................................................................................................................
2.8 หมายเลข 8 ...................................................................................................................................................

129

3. จากรูป จงบอกและหน้าท่ีของเครื่องมือ อุปกรณ์ท่ีใช้ในการเช่ือมอาร์กลวดหุ้มฟลักซ์ตามหมายเลข
ท่ีกาหนดให้ (8 คะแนน)

3.1 หมายเลข 1 ชื่อ .............................................................หนา้ ที่ .................................................................
3.2 หมายเลข 2 ชอ่ื .............................................................หนา้ ที่ .................................................................
3.3 หมายเลข 3 ชอ่ื .............................................................หนา้ ที่ .................................................................
3.4 หมายเลข 4 ชอ่ื .............................................................หนา้ ที่ .................................................................
3.5 หมายเลข 5 ชื่อ .............................................................หนา้ ที่ .................................................................
3.6 หมายเลข 6 ชื่อ .............................................................หนา้ ท่ี ................................-................................
3.7 หมายเลข 7 ช่ือ .............................................................หน้าที่ .................................................................
3.8 หมายเลข 8 ช่ือ .............................................................หนา้ ที่ .................................................................
4. จากรปู จงบอกชื่อของรอยตอ่ ดงั ตอ่ ไปนี้ (6 คะแนน)

4.1 .............................................. 4.2 .............................................. 4.3 ..............................................

4.4 .............................................. 4.5 .............................................. 4.6 ..............................................

130

5. จากรปู จงบอกชอ่ื ของตาแหนง่ ท่าเชือ่ มดังตอ่ ไปนี้ (5 คะแนน)

5.1 .............................................. 5.2 .............................................. 5.3 ..............................................

5.4 .............................................. 5.5 ..............................................
6. มมุ ในการเชอ่ื มโดยท่วั ไปแบง่ ออกเป็นก่ลี ักษณะ อะไรบ้างจงอธบิ ายมาพอสงั เขป (3 คะแนน)

............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
7. การเรม่ิ ตน้ อาร์กมีกวี่ ิธอี ะไรบ้าง (3 คะแนน)
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
8. จงอธิบายวิธีการเชอื่ มต่อแนวในกรณีท่ีแอง่ ปลายแนวเช่อื มยงั ร้อนมาพอสงั เขป (5 คะแนน)
..........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

131

9. จงบอกลกั ษณะของข้อบกพร่อง สาเหตุและแนวทางแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของงานเช่ือมดังต่อไปน้ี

(25 คะแนน)

ข้อบกพร่อง สาเหตุ แนวทางแกไ้ ข

9.1 .................................................. 1. ........................................................... 1. .....................................................
2. ........................................................... 2. .....................................................

3. ........................................................... 3. .....................................................

1. ........................................................... 1. .....................................................
9.2 .................................................. 2. ........................................................... 2. .....................................................

3. ........................................................... 3. .....................................................

9.3 .................................................. 1. ........................................................... 1. .....................................................
2. ........................................................... 2. .....................................................

3. ........................................................... 3. .....................................................

9.4 .................................................. 1. ........................................................... 1. .....................................................
2. ........................................................... 2. .....................................................

3. ........................................................... 3. .....................................................

9.5 .................................................. 1. ........................................................... 1. .....................................................
2. ........................................................... 2. .....................................................

3. ........................................................... 3. .....................................................

132

แบบทดสอบทา้ ยบทเรียน

คาชแี้ จง : จงเลือกคาตอบข้อทถ่ี ูกต้องท่สี ดุ (66 คะแนน)

1. เครอื่ งเชื่อมแบง่ ตามลักษณะของต้นกาลงั ทผี่ ลิตออกไดเ้ ป็นกช่ี นดิ
ก. 1 ชนดิ
ข. 2 ชนดิ
ค. 3 ชนิด
ง. 4 ชนิด

2. เครอ่ื งเช่ือมแบบขบั ดว้ ยมอเตอร์ไฟฟา้ จดั เปน็ เคร่ืองเชือ่ มชนดิ ใด
ก. เครื่องเช่อื มไฟฟา้ กระแสตรง
ข. เคร่ืองเชื่อมไฟฟ้ากระแสสลบั
ค. เครอ่ื งเชอ่ื มไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลบั
ง. เครอ่ื งเชือ่ มอนิ เวอรเ์ ตอร์

3. เจนเนอเรเตอรข์ องเคร่ืองเชอื่ มแบบขบั ด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า ทาหนา้ ที่อะไร
ก. ปรับกระแสไฟฟา้
ข. ปรบั ความตา้ นทานไฟฟ้า
ค. จา่ ยไฟฟา้ กระแสสลับ
ง. จ่ายไฟฟา้ กระแสตรง

4. เครอื่ งเชื่อมแบบขบั ดว้ ยเครื่องยนตเ์ หมาะกบั งานเช่ือมในลกั ษณะใด
ก. งานทมี่ ีสภาพเปียกแฉะซงึ่ อาจทาให้กระแสไฟฟา้ รัว่ ไหล
ข. งานสนามท่ไี มส่ ามารถหากระแสไฟฟา้ ได้
ค. งานซอ่ มบารงุ ภายในโรงงานท่วั ไป
ง. ใช้ได้ทุกสภาพงาน

5. ชุดแปลงกระแสของเครอ่ื งเชอื่ มทาหนา้ ทอ่ี ะไร
ก. แปลงไฟฟ้ากระแสสลับใหเ้ ป็นไฟฟา้ กระแสตรง
ข. ปรบั แรงเคลอื่ นของกระแสฟ้าใหล้ ดลง
ค. ปรบั แรงเคลอื่ นของกระแสฟ้าให้เพิ่มขึน้
ง. ขับเพลาเจนเนอเรเตอร์เพือ่ นากระแสไฟฟา้ ไปใชใ้ นการเชื่อม

6. ชดุ แปลงกระแสไฟฟ้ามอี ย่ใู นเครือ่ งเช่อื มชนิดใด
ก. เครื่องเชอ่ื มแบบปรบั กระแส ขดลวดตวั ปรบั เรยี งกระแส
ข. เครอ่ื งเช่ือมแบบขบั ดว้ ยมอเตอร์ไฟฟ้า
ค. เครื่องเชอ่ื มแบบขับด้วยเคร่อื งยนต์
ง. เคร่ืองเชอื่ มแบบเรียงกระแส