สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า

��������ѹ�������ҧ���ҡѺ�� ��ǹ�˭��繡�����Է�Ծ���С�â����ӹҨ�֧������Դʧ�����ѹ��ʹ�� ���˵��Ӥѭ�Ҩҡ��÷����������˭��˹�ʹԹᴹ�ͭ������˭����� ������������ӹҨ������ѧ�ҳҨѡ���ظ�� ���Թ�Ѿ��ҹ�Թᴹ�ͭ�ҧ��ҹ���ѹ�����ͼ�ҹŧ�ҷҧ��ҹ�ҷҧ��ҹ�˹�� ��÷�����¡�Ѿ��ú�Ѻ��ظ�����¤����ʴ������繶֧������ͧ������˭�㹴Թᴹᶺ��� ��о��ҵ�ͧ������ҧ�������͡�Ҿ㹴Թᴹ�����¡���Ǻ�������������������˹���ѹ���ǡѹ ���ػ��ä�Ӥѭ�ͧ���Ҥ���ҳҨѡ���ظ�ҫ���ѡʹѺʹع���������������͵�ҹ�ӹҨ�ͧ�������� ����ִ��ͧ��ظ�Ҩ֧����ǹ�Ӥѭ㹡�����ҧ�������͡�Ҿ�ͧ���Ҵ���

��ҾԨ�óҴ�ҹ���Ի���Ȩ������Ҿ��ҡѺ��������ࢵᴹ�Դ��͡ѹ�µç �����ͭ�������ҧ��ҹ���ѹ�� ��ǹ�ҧ�˹�͡��մԹᴹ�ͧ���˭������ҹ�ҡ������ ���Ҩ֧��ͧ�����˭������ҹ�� ���͵��ͭ���͹����¡�ͧ�Ѿ�ҵ���

��͹�����ҨТ����ҳ�ࢵ������ѧ�Թᴹ�ͧ�� �������ʧ�����Ѻ�ͭ��������ӹҨ�ѹ���¤��� ����Ǥ�� ���ҵ�駵�����˭����������ͧ�ͧ�� ��ǹ�ͭ��������á��駵����˭����������ͧ˧��Ǵ� ����Ҿ��ҡѺ�ͭ���ʧ�����ѹ���¤��� �繼����������ͺ��ͧ�Թᴹ�ͭ����ǹ�˭� ����·������ҿ�����Ǣ���繡�ѵ�����ͭ���С�������Ҿ�ҡ��������� �.�. 1830

����Ҿ������������ͧ��ҧ�ͧ�ͭ ��������ͭ˹���������������ͧ��§��ҹ��觢������Ѻ�� ����¡�Ѿ���仵վ���ᵡ���¨ҡ���ͧ��§��ҹ �Ѻ���֡�����á�����ҧ�¡Ѻ���� ��������稾�����ҪҸ��Ҫ �����ҧ�á������;������ͭ�����ͧ���� �.�. 2082 ���� �������ᴹ�¡Ѻ�������ҳ�ࢵ�Դ��͡ѹ �繼ŷ�����¡Ѻ�����Դ�Ծҷ�ѹ��з�ʧ�����ѹ����ҵ����

���ҵ�ͧ������˭��˹����ظ�����ж�Ҿ������ӹҨ�˹�������� ������Ҫ�ͧ���� �� �ͭ������˭��������������ͧ��;��� ����;��ҵա�ا�����ظ����� �.�. 2112 ��е��������;�й���������Ҫ���ҵ��������� �.�.2127 ���ҡ��Դ�˵ء�ó����������� �ա������觤������˭��������� ��л�����Ҫ�ͧ���� �� �ͭ ���˭� ��ҧ���駵��������

�������ظ�� �¡Ѻ�������ʧ�����ѹ�֧ 24 ���� ��ǹ�˭���Ҩ�¡�Ѿ�ҵ��� ��¡�Ѿ仵վ����繡�õͺ�� ��� ��������稾�й���������Ҫ 2 ���� �����������稾�й���³�����Ҫ�ա 1 ���� �͡��鹾����繽��������·�����

��������ѹ�������ҧ�¡Ѻ���Ҩ֧���ѡɳФ�������ѹ��ҧ������ͧ��С�÷�ʧ������ͺ��ʹ����

�͡�ҡ��÷�ʧ���������¡Ѻ�����ѧ�ա�õԴ��ͤ�Ң�¡ѹ �������ͧ���Դ�����ͧ����Ӥѭ����Ѻ�Դ��ͤ�Ң�·ҧ��觷����ѹ���ѹ 㹺ҧ���駡�÷�ʧ���������ҧ���ҡѺ�������˵بҡ��÷���¨Ѻ��������Ңͧ���ҷ��令�Ң�·�����ͧ���Դ ��觢�й�������ͧ����Ӥѭ�ͧ�� ������������� ��Сͺ�Ѻ���ҵ�ͧ��â����ӹҨŧ�Ҩ�����觷����ѹ���ѹ���ͻ���ª��ҧ��ä�Ңͧ�� �������Ѻ��ظ�ҡ��ͧ��ä�ͺ��ͧ�Թᴹ�ͭ���ͻ���ª��ҧ��ä�Ң�ª�½�觷����ѹ���ѹ�蹡ѹ

สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า

ขณะที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของสยามนั้น มีการทำสงครามกับพม่าทั้งหมด 24 ครั้ง ดังนี้

ปี 2082 พม่ารุกรานเมืองเชียงกราน (ปะทะกันประปรายบริเวณชายแดน)
ปี 2091 พม่ารุกเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์ระหว่างที่เกิดการแย่งชิงราชบัลลังก์ในอยุธยา
ปี 2106 อยุธยาถูกโอบล้อมและยอมแพ้ หลังจากนั้นต้องยอมส่งเครื่องบรรณาการให้พม่า
ปี 2111 ราชธานีของกรุงศรีอยุธยาถูกพระเจ้ากรุงหงสาวดีเข้ายึดครอง
ปี 2127 สมเด็จพระนเรศวรทรงกู้อิสรภาพมาให้สยามประเทศ
ปี 2127 สยามสู้รบกับเจ้าเมืองพะสิม
ปี 2128 พม่าส่งอุปราชเมืองเชียงใหม่ไปต่อสู้กับชาวสยามที่บ้านสระเกศ
ปี 2133 พระมหาอุปราชแห่งพม่ายกทัพมาครั้งแรก
ปี 2135 สมเด็จพระนเรศวรทรงทำยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราช
ปี 2135 ชาวสยามยึดเอาเมืองทวายและตะนาวศรีของพม่าได้
ปี 2137 สมเด็จพระนเรศวรทรงตีเอาเมืองต่างๆ ของมอญได้
ปี 2138 สมเด็จพระนเรศวรทรงยกทัพบุกเมืองหงสาวดีเป็นครั้งแรก
ปี 2142 สมเด็จพระนเรศวรทรงยกทัพบุกเมืองหงสาวดีเป็นครั้งที่สอง
ปี 2147 เป็นสงครามครั้งสุดท้ายของสมเด็จพระนเรศวร พระองค์เสด็จสวรรคตระหว่างเคลื่อนทัพผ่านล้านนาเพื่อไปตีรัฐฉาน
ปี 2156 พม่าตีเมืองทวายและตะนาวศรี แต่ประเทศสยามสามารถกู้เมืองทั้งสองกลับคืนมาได้
ปี 2157 พม่าปิดล้อมและยึดครองเมืองเชียงใหม่
ปี 2205 พม่าเข้าโจมตีและยึดครองเมืองทวาย
ปี 2205 ประเทศสยาม (สมเด็จพระนารายณ์ฯ) ส่งเจ้าพระยาโกษาเหล็กเข้าปิดล้อมและยึดครองเมืองเชียงใหม่คืนระหว่างที่กรุงอังวะถูกจีนฮ่อโจมตี
ปี 2206 พม่าบุกมาทางด่านเจดีย์สามองค์เข้าสู่เมืองไทรโยกในอาณาเขตของสยามประเทศ
ปี 2207 ประเทศสยาม (สมเด็จพระนารายณ์) ตั้งกองทัพเป็น 3 ทัพเข้าโจมตีพม่า
ปี 2302 พม่ารุกรานและยึดครองเมืองท่าของมอญ และเข้าปิดล้อมกรุงศรีอยุธยา
ปี 2307 พม่ายึดเอาท่าเรือของมอญอีกครั้ง ตามด้วยเมืองมะริดและเข้าโจมตีเมืองต่างๆ ทางใต้ของสยาม
ปี 2310 กองทัพพม่าจากเมืองล้านนาเข้าปิดล้อม บุกเข้าพิชิตชัยและทำลายกรุงศรีอยุธยา

   

สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า
   

สงครามระหว่างอยุธยากับพม่า


ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าในเชิงคู่สงครามเป็นที่เข้าใจว่าพม่าสร้างความเสียหายต่อไทยเหลือคณา อย่างไรก็ตาม ในมุมมองของนักวิชาการที่มองผลกระทบจากสงครามกับพม่าที่มีต่อเสถียรภาพของอยุธยา หากมองอีกด้านก็ส่งผลต่อเสถียรภาพทางการเมืองในอยุธยาไม่น้อย

สงครามช้างเผือกเมื่อ พ.ศ. 2106 ก่อนหน้าการเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 2112 ในช่วงอยุธยาตอนกลาง แตกต่างจากสภาพของสงครามครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2310 กรมพระยาดำรงราชานุภาพอรรถาธิบายในหนังสือ “ไทยรบพม่า” เปรียบเทียบการเสียกรุงทั้งสองครั้งว่า การเสียกรุงครั้งแรก พม่ากวาดต้อนทรัพย์สินและเชลยศึกกลับกรุงหงสาวดีจำนวนมาก แต่ไม่ได้ทำลายพระนครยับเยินเหมือนครั้งหลัง เมื่อพิจารณาเหตุผลจากพระเจ้าหงสาวดี (บุเรงนอง) ซึ่งมาทำสงครามหมายมาเอาเมืองไทยเป็นเมืองขึ้น จับเชลยริบทรัพย์สินตามประเพณีสงคราม และปรารถนาปกครองบ้านเมือง

แต่สำหรับครั้งหลัง พระเจ้าอังวะ (พระเจ้าเซงพยูเซง หรือมังระ) ให้กองทัพยกมากวาดต้อนทรัพย์สินและเชลยศึกโดยไม่ได้หวังรักษาเมืองไทยเป็นเมืองขึ้น ตีเมืองไหนได้ก็เผาหมด ไม่ว่าจะเมืองเล็กหรือใหญ่ ความเสียหายจึงมากกว่าครั้งเสียกรุงสมัยพระเจ้าหงสาวดี

ศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ แสดงความคิดเห็นในหนังสือ “พม่ารบไทย ว่าด้วยการสงครามระหว่างไทยกับพม่า” ว่า สงครามกับพม่าในปี พ.ศ. 2106 และ 2112 ในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ส่งผลเชิงบวกต่อเสถียรภาพการเมืองภายในอยุธยา เมื่อดูจากหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา และบันทึกจากต่างชาติซึ่งมีทิศทางเนื้อหาสอดคล้องกันว่า ช่วงหลังการปฏิรูปการปกครองของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) กลุ่มผู้นำทางการเมืองอยุธยายังชิงอำนาจทางการเมืองกันหลายครั้ง อาทิ กรณีเจ้าอ้าย เจ้ายี่ เจ้าสามพระยา กรณีขุนวรวงศาหรือขุนชินราช และยังมีความขัดแย้งภายในระหว่างราชินิกูลของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิกับสมเด็จพระมหาธรรมราชา ที่ดำเนินเรื่อยมาตั้งแต่ พ.ศ. 2106 มายุติลงเมื่อ พ.ศ. 2112

ท่ามกลางการต่อสู้แย่งชิงอำนาจในผู้นำการเมืองชั้นสูง บทบาทของขุนนางชั้นผู้ใหญ่ก็เข้ามาเกี่ยวข้องกันมากมาย ครั้นสงครามกับพม่าเมื่อ พ.ศ. 2112 ผู้นำทางการเมืองสายสุพรรณบุรีถูกขจัดไปในสถานการณ์สงครามระหว่างไทย-พม่า

พระราเมศวร ถูกพม่านำตัวไปในสงคราม พ.ศ. 2106
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ สวรรคตก่อนเสียกรุงไม่นาน
สมเด็จพระมหินทร์ สิ้นพระชนม์ระหว่างทางขณะถูกพม่านำตัวไป

สถานการณ์ทำให้ผู้นำสายสุโขทัย ตามการเรียกขานของนักประวัติศาสตร์ขึ้นมามีอำนาจภายใต้การนำของสมเด็จพระมหาธรรมราชา ขณะที่ขุนนางผู้ใหญ่ที่สนับสนุนสายสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ถูกถอนรากตามไปด้วย อาทิ ออกญาราม ออกญาจักรี ทำให้พระมหาธรรมราชาสามารถแต่งตั้งคนของฝ่ายตนรั้งตำแหน่งสำคัญ

ความเปลี่ยนแปลงทางเสถียรภาพส่งผลเชิงประจักษ์ เมื่ออยุธยาต้านรับการรุกรานของราชอาณาจักรกัมพูชาหลายครั้ง ตั้งแต่ พ.ศ. 2113-2114, 2121, 2125 และ 2130 การวางรากฐานของสมเด็จพระมหาธรรมราชามาจนถึงสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทำให้ราชการสงครามในระยะต้นมีผลสำเร็จ

แต่สำหรับการเสียกรุงครั้ง พ.ศ. 2310 แตกต่างกันเนื่องจากพม่าทำลายพระนครและรากฐานอย่างยับเยินอันเป็นผลให้ผู้นำชั้นสูงของไทยเปลี่ยนทัศนะและนโยบายทางทหารต่อพม่า ปรับยุทธศาสตร์ตั้งรับศึกพม่า พยายามยึดครองพื้นที่ยุทธศาสตร์สำคัญที่พม่าเคยใช้เป็นฐานกำลังเมื่อครั้งเสียกรุงก่อนหน้านี้

สถานภาพของกษัตริย์ถูกขับเน้นออกมาในเชิง “ผู้ปกป้อง” ไม่ว่าสถานะนี้จะคงอยู่มาแต่เดิมก่อนการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ นักวิชาการไทยมองว่า สงครามและการเสียกรุงครั้งหลังผลักดันให้ผู้นำไทยสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้นต้องแสดงพระองค์พร้อมประกาศเจตนารมณ์อย่างแน่ชัดในอันที่จะทำสงครามต่อต้านพม่าผู้รุกราน

“ฐานะของพระมหากษัตริย์หรือผู้นำรัฐที่เป็น ‘ผู้ปกป้อง’ ภัยรุกรานจากภายนอกเพื่อประโยชน์สุขของพระพุทธศาสนาและไพร่บ้านพลเมืองได้กลายเป็นมรดกตกทอดในวัฒนธรรมการเมืองไทยเรื่อยมา ถึงแม้สงครามรบพม่าและการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะได้สิ้นสุดไปนานแล้วก็ตาม” (สุเนตร ชุตินธรานนท์, 2561)

อย่างไรก็ตาม ศ.ดร. สุเนตร ระบุว่า ผลสืบเนื่องที่ตามมาจาก “การปกป้อง” ผู้รุกราน นำมาสู่การพยายามตอกย้ำและสร้างภาพพม่าผู้รุกรานในลักษณะฝ่ายอธรรมและมารพระศาสนา พงศาวดารกรุงศรีอยุธยาที่ชำระในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้นยุคหลังกรุงแตกพาดพิงพม่าในแง่ตัวแทนความชั่วร้ายหลายรูปแบบ (อ่านเพิ่มเติม ทำไม “เจ้านายไทย” สมัยก่อนใช้ชีวิตกลางคืนตื่นบรรทม 6 โมงเย็นแม้ราชการใช้เวลาออฟฟิศแล้ว)

ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นผลสืบเนื่องในสังคมต่อกันมาหลายยุคสมัย ไม่ว่าจะในฐานะเครื่องมือการเมือง หรือการสร้างสำนึกหรือความเข้าใจบางอย่าง แม้รัฐบาลหรือคนในสังคมเริ่มตระหรักถึงความจำเป็นในการรักษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในยุคสมัยปัจจุบัน แต่นักวิชาการหลายท่านยังมองว่า ในทางปฏิบัติแล้วกลับไม่ได้สะท้อนถึงความตระหนักนั้นมากนัก

 


อ้างอิง: 

สุเนตร ชุตินธรานนท์. พม่ารบไทย ว่าด้วยการสงครามระหว่างไทยกับพม่า. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : มติชน, 2561

สงครามใด เป็นสงครามครั้งแรก ระหว่างอยุธยา กับ พม่า *

สงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ หรือ สงครามคราวเสียสมเด็จพระสุริโยทัย เป็นสงครามครั้งแรกระหว่างราชวงศ์ตองอูแห่งพม่ากับอาณาจักรอยุธยา และเป็นสงครามพม่า–ไทยครั้งแรกซึ่งจะดำเนินมาจนกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 สงครามนี้ขึ้นชื่อว่านำมาซึ่งการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นในภูมิภาค และขึ้นชื่อในประวัติศาสตร์ไทยว่าสมเด็จพระสุริโยทัยสมเด็จพระ ...

อาณาจักรอยุธยาทำสงครามกับพม่าทั้งหมดกี่ครั้ง

ขณะที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของสยามนั้น มีการทำสงครามกับพม่าทั้งหมด 24 ครั้ง ดังนี้ ปี 2082 พม่ารุกรานเมืองเชียงกราน (ปะทะกันประปรายบริเวณชายแดน) ปี 2091 พม่ารุกเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์ระหว่างที่เกิดการแย่งชิงราชบัลลังก์ในอยุธยา

สงครามครั้งสําคัญระหว่างไทยกับพม่าคือสงครามใด

การทาสงครามกับพม่าครั้งสำคัญๆ เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ตลอดรัชกาลนี้มีการทำสงครามกับพม่าถึง 7 ครั้ง ที่สำคัญและหนักหน่วงที่สุดคือสงครามครั้งที่หนึ่ง ใน พ.ศ. 2328 ซึ่งเรียกกันว่า “ศึกเก้าทัพ” ที่พระเจ้าปดุงของพม่ายกทัพเข้ามา 5 ด้านรวม 9 ทัพ ทำให้

พม่าทำสงครามกับใคร

สงครามพม่า-สยาม (พ.ศ. 2137-2148) (พม่า: ယိုးဒယား-မြန်မာစစ် (၁၅၄၈); อังกฤษ: Burmese-Siamese War (1594-1605)) สงครามการต่อสู้ระหว่าง ราชวงศ์ตองอู ของพม่าและ อาณาจักรอยุธยา ของ สยาม ผลของสงครามครั้งนี้สยามได้รับชัยชนะด้วยการเข้ายึดเมือง ทวาย และ ตะนาวศรี สงครามพม่า-สยาม