หัวเมืองที่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวาย เรียกว่า

เมื่อต้นปี พ.ศ. 2517 (47 ปีมาแล้ว) ผู้เขียนถูกชักชวนให้ไปเป็นนักวิจัยในโครงการศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของสยามในสมัย ร.7 ของมูลนิธิฟอร์ด โดยทำหน้าที่หลักเป็นผู้ค้นคว้าเอกสารทางราชการของกระทรวงต่างๆ ในสมัย ร.6 - ร.7 ทางด้านประวัติศาสตร์เศรษฐกิจประจำหอจดหมายเหตุแห่งชาติซึ่งสมัยนั้นตั้งอยู่ในตึกแดงฝั่งทิศตะวันตกของสนามหลวง (ปัจจุบันคือตึกถาวรวัตถุ) ซึ่งเป็นงานที่สนุกตื่นเต้นมากสำหรับผู้เขียนที่ชอบสอดรู้สอดเห็นเรื่องราวในอดีตเป็นทุนอยู่แล้ว

ในช่วงเวลานั้นก็มีคนเข้าไปศึกษาค้นคว้าในหอจดหมายเหตุไม่กี่คน ส่วนใหญ่มักเป็นคนต่างชาติคือฝรั่งและญี่ปุ่นแล้วก็นิสิตระดับปริญญาโทประวัติศาสตร์จากจุฬาฯ บ้าง จาก ม.ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร บ้าง

ต่อจากนั้นผู้เขียนก็ถูกชักชวนไปสอนพิเศษช่วงวันสุดสัปดาห์ในวิชาประวัติศาสตร์อเมริกาที่มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จ.นครปฐม ซึ่งสมัยนั้นเรียกอย่างลำลองว่า “ทับแก้ว” จึงมีโอกาสได้รู้จักอาจารย์อาวุโสท่านหนึ่งซึ่งเดิมท่านทำงานอยู่ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติมาก่อนชื่อท่านอาจารย์ละม่อม โอชะกะ ซึ่งท่านเมตตาผู้เขียนมากมักจะได้พูดคุยกันอย่างถูกคอและเมื่อท่านทราบว่าผู้เขียนกำลังไปทำการค้นคว้าหาเอกสารอยู่ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติอยู่ ท่านจึงเล่าให้ผู้เขียนฟังว่าท่านเคยทำงานอยู่ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติมาก่อนในช่วง พ.ศ. 2500-2505 ซึ่งเป็นช่วงที่อังกฤษได้มอบเอกราชให้แก่ดินแดนมลายูเกือบทั้งหมดในวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2500 ภายใต้ชื่อว่า “สหพันธรัฐมาลายา” (Federation of  Malaya)

ซึ่งทางพิพิธภัณฑ์แห่งชาติของประเทศใหม่มาลายา ได้ทำหนังสือมาทางรัฐบาลไทยเพื่อขอความร่วมมือด้วยอยากทราบว่าต้นไม้เงินต้นไม้ทองหรือที่ทางมาลายูเรียกว่า “บุหงามาศ” ที่ทางหัวเมืองมาลายูอันได้แก่ ปะลิส, ไทรบุรี, กลันตัน และตรังกานู เคยส่งมาเป็นเครื่องบรรณาการทุกๆ สามปีในฐานะประเทศราชของกรุงรัตนโกสินทร์ยังมีอยู่หรือไม่ เพราะทางมาลายาอยากจะทำจำลองไว้เพื่อธำรงถึงงานศิลปะของชาติมาเลย์สืบต่อไป

ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ได้ปกครองหัวเมืองประเทศราช อันได้แก่ หัวเมืองมลายู, หัวเมืองล้านช้าง, หัวเมืองล้านนา, หัวเมืองเขมร และหัวเมืองกะเหรี่ยง ซึ่งประเทศราชเหล่านี้จะต้องส่งต้นไม้เงินต้นไม้ทองและเครื่องบรรณาการมาทุกๆ 3 ปี จนกระทั่งได้มีการปฏิรูปการปกครองขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2435 จึงยกเลิกหัวเมืองประเทศราชไปในสมัย ร.5 ธรรมเนียมการส่งต้นไม้เงินต้นไม้ทองเป็นบรรณาการทุกๆ 3 ปีจึงได้ถูกยกเลิกไป

ปรากฏว่าท่านอาจารย์ละม่อม โอชะกะ อาสาไปทำการค้นหาข้อมูลเพื่อตอบทางการมาลายาด้วยการค้นคว้าหาคำตอบเกี่ยวกับเรื่องต้นไม้เงินต้นไม้ทอง ซึ่งท่านอาจารย์ละม่อมไปค้นพบเอกสารในหอจดหมายเหตุเอง มีความดังนี้คือ

กราบทูลพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนสมมตอมรพันธุ์ ราชเลขานุการ ทราบฝ่าพระบาท

ด้วยประทานพระราชกระแสเรื่องเครื่องบรรณาการที่หัวเมืองทูลเกล้าฯ ถวายนั้น ได้ส่ง

มหาสมบัติฤากระทรวงวังเก็บไว้นั้น ได้ทราบเกล้าฯ แล้ว

เครื่องราชบรรณาการนั้น ถ้าเป็นทองรูปพรรณฤาทองแท่ง ซึ่งส่วนของหลวงได้นำส่งกรม

เก็บกระทรวงการคลังเสมอ ในที่สุดเมื่อค้นต้นไม้ทองเงินยุบหลอมแล้ว ก็นำเนื้อทองและเงินส่งกรมเก็บทุกคราว.......

ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้า

(ลงพระนาม) พิทยลาภ

นอกจากนี้ ท่านอาจารย์ละม่อมยังคัดลอกจากหนังสือ “คอร์ด” (ข่าวราชการ) พ.ศ. 2418 – 2419 กรมพระยาดำรงราชานุภาพเมื่อยังเป็นพระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร ทรงบันทึกรายละเอียดของต้นไม้เงินต้นไม้ทองที่ทาง ปะลิส ตรังกานู ไทรบุรี สตูล ส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการโดยบอกรายละเอียดที่ความสูงมีกี่กิ่ง มีใบกี่ใบ และมีดอกกี่ดอกด้วย

สรุปเป็นอันว่าเราไม่มีมีต้นไม้เงินต้นไม้ทองหรือบุหงามาศของหัวเมืองมาลายูที่ส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการในสมัย ร.5 เนื่องจากยุบหลอมหมดแล้วและไม่มีรูปภาพของบุหงามาศอยู่อีกด้วย แต่อย่างไรก็ตามปัจจุบันนี้ทางพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ก็สามารถสร้างบุหงาจำลองไว้ได้แล้ว

โหลดเพิ่ม

ขอขอบคุณ

ภาพ :พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย

หัวเมืองที่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวาย เรียกว่า

แท็กที่เกี่ยวข้อง

ต้นไม้เงินต้นไม้ทองเครื่องราชบรรณาการมาลายูมาลายาบุหงามาศเครื่องบรรณาการสยามร.5ข่าววันนี้ข่าวด่วนสังคมต่างประเทศ

��������� �����¡ó� �� ��Ҽ��˹�觼��㴡�зӤ����Դ�����ç��ͧ�� �����ê��Ե �ѧ�е�ͧ�Ժ��Ѿ���Թ�ء���ҧ�������� �����ǧ ������¡��� �ѷ��� �������¡�׹����ͧ�ȵ�ҧ���Өҡ�ͧ�Ӡ� ����͢ع�ҧ ����պ�ô��ѡ���������鹪��Ե���Ǡ ������ ����ִ��Ѿ���Թ�դ�Ҩҡ�ѵ�٤��ʧ����
���������
��������� ����¡�ا�����ظ�����Ҫ�ҹՠ ���˵ء�ó��ҧ����ʴ��֧�����ͧ���繨ӹǹ�ҡ� ��觵���ҡ����繸����������ླբͧ���������ѧ ������ҧ�蹠 ��Ѫ�������稾�����ҸԺ�շ�� � ���ô ������;�оط��ٻ������ �������ྪ��� ��д�ɰҹ���㹾���������ǧ� �Ѵ������-���ྪ�젠���� ��Ҵ�٧�ҡ��кҷ�֧�ʹ�������ՠ �� �Ҡ ��оѡ�����Ǡ �� �͡ ��С��ҧ � �͡� ������С��ҧ��� �͡�� �ͧ���Դ���������˹ѡ� ��,��� ��觠 �ͧ������˹ѡ ��� ��� ���� ���.� ���š���� ��ҧ˹���繷ͧ�����素 ��ҧ��ѧ�繷ͧ����ˡ������ ����ִ��Ѿ���Թ�դ�Ҩҡ�ѵ�٤��ʧ����
��������� ���ǹ�ͧ���ѭ���� ���յ�Ҵ��Ң�·ͧ� �ժ�ҧ�ӷͧ�ٻ��ó�������仠 �ҡ�� ��ä�Ң�·ͧ����ժ�ҧ�ͧ����ѹ���ҧ˹� ������ҹ ���ժ������¡�ҹ�繷�����ѡ�� �蹠 ��ҹ��ҷͧ��·ͧ����Ǡ� ��ҹ�Ѵ��Ъժ�ҧ �Ӿ�оط��ٻ�ͧ�Ӡ ��÷ӷͧ�ٻ��ó�������ظ�Ҫ�ҧ�ͧ���Ըա�÷Ӥ���¡Ѻ ��ҧ�ͧ��ҳ��⢷� � ���Ҩᵡ��ҧ�ѹ仺�ҧ� �Ըա������ҹ������ӡѹ����ҧ�ͧ������ظ���ժ������§�ҡ

หัวเมืองที่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวาย เรียกว่า

เครื่องราชบรรณาการ คือสิ่งของที่มีค่าที่เมืองประเทศราชต่างๆ ต้องส่งให้เพื่อแสดงความจงรักภักดี ต่อเมืองนั้นๆ ซึ่งเครื่องบรรณาการนั้นจะเป็น สิ่งของ เครื่องใช้ต่างๆ แก้ว แหวน เงิน ทอง จนไปถึง บุตรธิดา ของเจ้าเมืองนั้นๆ

ประเทศไทย นั้นได้การเครื่่องราชบรรณาการมาตั้้งแต่ สมัยสุโขทัย จนถึง กรุงรัตนโกสิน 

ซึ่งหนึ่งในที่ๆ ไทยเคยส่งเครื่องราชบรรณาการให้ ก็คือ จีน การส่งเครื่องราชบบรณาการให้กับจีนนั้นมี คำเฉพาะอยู่ คำหนึ่่ง คือคำว่า"จิ้มก้อง" จิ้มก้อง หมายถึง การเชื่อมความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศสองประเทศให้ เป็นมิตรที่ดีต่อกันโดยการ ส่งเครื่องราชบรรณาการ  จิ้มก้อง มาจากภาษาจีน คำว่า"จิ้นกง"

หัวเมืองใดที่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ

ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ได้ปกครองหัวเมืองประเทศราช อันได้แก่ หัวเมืองมลายู (ไทรบุรี, ปัตตานี, กลันตัน และตรังกานู), หัวเมืองลาวพุงขาว (ล้านช้าง), หัวเมืองลาวพุงดำ (ล้านนา), หัวเมืองเขมร (กัมพูชา) และหัวเมืองกะเหรี่ยง (ตะวันตกของพม่าในปัจจุบัน) ซึ่งประเทศราชเหล่านี้จะต้องส่งต้นไม้เงินต้นไม้ทองและเครื่องบรรณาการมาทุก ๆ สาม ...

เมืองที่ต้องส่งบรรณาการมาถวายตามเวลาที่กำหนดเรียกว่าอะไร

ประเทศราช (ปฺระเทดสะราด) น. เมืองที่มีเจ้าผู้ครองเมืองของตนเอง แต่อยู่ภายใต้อำนาจควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์ของอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งเจ้าเมืองประเทศราชนั้นมีหน้าที่ส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในเวลาเกิดศึกสงครามต้องเกณฑ์กำลังทหารเข้าร่วมกองทัพหลวงด้วย.

หัวเมืองใดต้องส่งเครื่องราชบรรณาการให้แก่เมืองหลวง

แบ่งออกเป็น “หัวเมืองนอกราชอาณาจักร" ได้แก่ สายบุรี ปัตตานี กลันตัน ปาหัง และไทรบุรี ต้องจัดส่งเครื่องราชบรรณาการ 3 ปีต่อครั้ง ส่วนเมืองที่เหลืออีก 7 เมือง เป็น “หัวเมืองในราชอาณาจักร” จัดส่งเครื่องราชบรรณาการปีละ 1 ครั้ง Page 2 98 ในช่วงเวลาที่สยามกำลังขยายอำนาจ โดยมีสุโขทัยและนครศรีธรรมราช

การส่งเครื่องราชบรรณาการคืออะไร

เครื่องราชบรรณาการ หรือ เครื่องปัณณาการ หมายถึงสิ่งของที่ผู้มีสภาพด้อยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน ในความหมายทางประวัติศาสตร์ของไทย หมายถึง สิ่งที่พระมหากษัตริย์หรือผู้ปกครองหรือเจ้าประเทศราช จัดส่งไปถวายแด่พระมหากษัตริย์อีกเมืองหนึ่งเพื่อแสดงไมตรีต่อกัน เช่น สมเด็จพระนารายณ์มหาราช จัดให้เจ้าพระยาโกษา ...