ขั้น ตอน การนำ เสนอ งานออกแบบสื่อ สิ่งพิมพ์ ออนไลน์

การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อผลิตงานโฆษณา

Description: การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อผลิตงานโฆษณา

Keywords: E-Book,วิทยาลัยการปกครอง หนังสืออีเล็กทรอนิกส์

Read the Text Version

No Text Content!

ห ้อ ง ส ม ดุ ^ 7 ;1 1 า ล ฃ ก ๆ ? ม ่ก ค ร อ ง การฮฮกแบบลอลงพมพ เพอ่ี ผลติ งานโฆษณ า .-- '/. .■'^'ไ^':.I-■ / ฐ น! ! . ? -• ร โ ่ ' - . . ^-โ^ ?ฝ11ฬ11^ ]\\16ลฬ 1) 68!^11 { 0 1 * V 6 ] 1 1 8 1 1 1 & ? 1 * 0 ฟ ้1 1 ๙ ! 0 1 1 *1ฒ พํข่วยศ1สด!ไาไฬ้ ค!.ศกยธ้ ฌ่ไมคี ^ พข้ 3่ ขศ1?1ต5111ฟ ถ !.ศ ก (เ^ ฌ 1่ 0ถ ี 1^0 คารออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อผลิตงานโฆษณา & 1)681^11 1^01* ^(1V ^1•ฬ 8I112 ?1-0(1น 011011 โดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารยด์ ร.สกนธค์ ู่งามดี ข้อยลู ทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ กรุงเทพ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกนธ์ ภู่งามดี การออกแบบสือ่ สงิ่ พิมพเ์ พอ่ื ผลติ งานโฆษณา. มายบุ๊คส์ พับลชิ ิง่ , 2554. 224 หนา้ . 1. การโฆษณา การออกแบบ. I. ช่ิณร่อื ง. 1รธ]^ 978-974-496-748-0 สงวนลขิ สทื ธ พ.ศ. 2554 โดยสำนกั พมิ พ์ มายบคุ๊ ส์ พบั ลชิ ง่ิ นา้ มลอกเลยี นแบบไมว่ ่าสว่ นหนึง่ สว่ นใดของหนังสอื เลม่ น้ี นอกจากได้รับอนญุ าต พมิ พท์ :ี่ นเรศการพิมพ์ 43-45 ถ.นเรศ แขวงสพี่ ระยา เขตบางรกั กรุงเทพฯ 10500 พมิ พ์ครัง้ ที่ 1 : เมษายน 2554 ราคา: 210 บาท กรรมการผจู้ ัดการสายงานธรุ กจิ สำนกั พมิ พ์ : พนดิ า ภ่งู ามดี บรรณาธกิ ารบรหิ าร : ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.สกนธ์ภู่งามดี พสิ ูจน์อกั ษร - ศลิ ปกรรม : สำนักพมิ พ์ มายบคุ๊ ส์ พบั ลชิ ิ่ง จัดพมิ พแ์ ละจำหน่ายโดย ะ สำนักพมิ พ์ มายบคุ๊ ส์ พบั ลชิ ่งิ 7/82 การเคหะคลองจนั่ ถ.สุขาภบิ าล 2 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรงุ เทพฯ 10240 โทรสัพท 0-2732-4471 ธ-!]!ฟ!: รฝ^[email protected]^^ฟ100.00111 คำนิยมสำนกั พมิ พ์ การออกแบบสือ่ สงิ่ พิมพในปีจธุบนั มเี ปแบบท่ีหลากหลายและความแปลกใหม่ ไร้ขอบเขตเปน็ อย่างยงิ่ แต่ไมว่ ่าการออกแบบนั้นจะมีรปู แบบท่หี ลากหลายหรอื แปลก ใหม่เพียงใดกต็ าม สิง่ สำคญั คือ การมีพืนฐานการออกแบบทส่ี ี น้นั หมายถึง ผอู้ อกแบบ ควรมีความเข้าใจและแมน่ ยำในเร่ืองแนวทางหลกั ๆ สำหรบั การออกแบบเสียก่อน ทงั นี เพอ่ื ทำให้การกา้ วไปสกู่ ารออกแบบทีแ่ ปลกใหม่หรอื อิสระไรข้ อบเขตน้นั เปน็ ไป โดยมีหลักเกณฑ์ทีถ่ กู ตอ้ งเปน็ รากฐานสำคัญ และสามารถทำให้ผลงานการออกแบบ สามารถสนองความต้องการของผ้บู ริโภคกลุ่มเป้าหมายไต้เปน็ อย่างดไี มว่ ่าจะเป็นความ ตอ้ งการตา้ นประโยชนใ์ ช้สอยหรือความตอ้ งการต้านความงามก็ตาม หนงั สอื การออกแบบสื่อส่ิงพมิ พเ์ พ่ือผลติ งานโฆษณาเลม่ นี้ ผ้เู ขียนมีความต้งั ใจ ในการสบื ตน้ ข้อยลู ทีท่ ันสมัยในแงข่ องการออกแบบสอ่ื ในโลกสมยั ใหมโ่ ดยมกี าร เชอ่ื มโยงกบั ขอ้ มลู ท่เี ป็นประวตั ิความเป็นมารวมทงั องค์ความร้เู รอ่ื งแนวทางหลกั ของ การออกแบบไต้เป็นอย่างดี ทีน่ า่ สนใจอกี ประการหน่ึงคือ ผู้เขียนนำเสนอภาพประกอบ จำนวนไม่นอ้ ยเพื่อชว่ ยให้ผู้อ่านเกดิ ความเขา้ ใจเนี้อหาไตเ้ ร็วข้นึ ดังนนั้ หนังสอื เล่มนี้ จงึ เหมาะสมสำหรับการนำไปใช้เปน็ ตำราประกอบการเรยี นการสอนวิชาทางการ ออกแบบสอื่ สงิ่ พมิ พ์หรอื วชิ าเกี่ยวกบั การวิเคราะห์สอ่ื ส่งิ พมิ พไ์ ต้เป็นอยา่ งดี หวงั เปน็ อย่างยิ่งวา่ หนังสอื เลม่ นี้ จะเอ้อื ประโยชน์ต่อนสิ ติ นักศึกษาและบุคคล ทั่วไปที่สนใจศกึ ษาหาความรู้เรือ่ งการออกแบบสง่ิ พิมพไ์ ต้ตามสมควร เร^^ั X^^ (พนิดา ภงู่ ามด)ี สำนกั พิมพ์มายบุ๊คส์ พับลชิ ื่ง เมษายน 2554 คำน ำ หนังสอื การออกแบบส่อื สิ่งพมิ พ์เพือ่ ผลติ งานโฆษณาเล่มน้ี เปน็ ผลงานของ ผเู้ ขยี นท่ีเกิดจากการตกผลึกทางความคดิ เกย่ี วกับการสร้างสรรค์สื่อส่ิงพิมพใ์ นการ ฟ้างานท่สี ง่ั สมมาหลายปี สงั่ ที่น่าสนใจในหนงั สอื เลม่ น้ี คือ เน้อื หาภายในเล่มที่นำเสนอเรอื่ งราวตั้งแต่ ประวตั ิความเป็นมา สู่พัฒนาการของการออกแบบ ไปยงั แนวทางหลักของการ ออกแบบในโลกสนัยใหม่ รวมท้ังยังกลา่ วถึงศลิ ปะภาพพมิ พท์ เี่ ป็นพนื้ ฐานของระบบ การพมิ พ์ ไปจนถึงการให้รายละเอยี ดเกยี่ วกับระบบการพิมพ์สมัยใหม่ นอกจากนี้ ผู้เขยี น ได้นำเสนอภาพประกอบจำนวนมากเพอื่ ใหผ้ ู้อ่านเกดิ ความเขา้ ใจในเนอ้ื หาได้ ง่ายและรวดเร็วขึน้ ที่สำคัญคอื ผู้เขยี นได้นำเสนอตัวอย่างการวเิ คราะหผ์ ลงานการ ออกแบบสั่งพิมพ์ประเภทต่างๆ ไวใ้ นบทสดุ หา้ ยดว้ ย ท้ังนี้ เพื่อเปน็ การสร้างแนว ทางการวเิ คราะหว์ จิ ารณ์เน้อื งดน้ สำหรบั ผู้อา่ นท่ีเป็นนิสิตนกั ศกึ ษาหรอื บุคคลท่วั ไปท่ี สนใจงานสื่อสง่ั พมิ พ์ ผเู้ ขียนขอขอบลณุ คณุ ธีรพล โลกวิรฬุ ท่ีให้การสนบั สบนุ ด้านการผลติ จน สง่ ผลใหก้ ารจัดฟา้ หนงั สือเลม่ นี้ ประสบผลสำเร็จตามท่ีสำนักพมิ พ์มายบุ๊คส์ พบั ลชิ ่ิง และผเู้ ขยี นตั้งใจไว้ หนงั สอื เลม่ นอ้ี าจมขี อ้ บกพรอ่ งไปบาง ซ๋งึ ผูเ้ ขยี นขออภัยไว้ ณ ท่ีนี้ และขอ ยืนยนั วา่ จะพฒั นาปรบั ปรงุ ให้เกิดผลงานวชิ าการท่ดี ยี ิง่ ขน้ึ ต่อไป ทั้งน้ี ผ้เู ขียน ขอขอบคณุ แหลง่ ขอ้ ยูลทกุ แหลง่ ที่มสี ว่ นฟา้ ใหห้ นังสือเล่มนม้ี คี วามสมบรู ณ์มากขน้ึ และสามารถออกสูส่ ายตาผอู้ า่ นได้อยา่ งราบรน่ื ในท่สี ุด (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สกนธ์ ภูง่ ามดี) ผเู้ ขียน เมบายน 2554 สารบัญ บททื่ หน้า 1 มลู ฐานการออกแบบ 1 ความหมายของการออกแบบ 1 ปอเกดิ ของการออกแบบ 4 ความเคลื่อนไหวของการออกแบบ 5 ความสำคญั ของการออกแบบ 21 ประเภทของงานออกแบบ 24 บทสรุป 27 หลักการออกแบบ 29 องคป์ ระกอบการออกแบบ 29 แนวทางหลักสำหรับการออกแบบ 35 บทสรุป 52 ระบบกริดและการประยุกตึใฟ้นงานออกแบบกราฟ?เก 54 ระบบกรดี 54 การจดั องค์ประกอบในงานกราฟ^กทสี่ ัมพันธ์กบั ระบบกร่ ีด 58 การทำต้นฉบับการพมิ พ์ในงานกราฟพัก 61 วสั ดุ เครื่องมอื และขัน้ ตอนการทำงานในการออกแบบงานกราพัก 65 บทสรุป 71 แนวทางหลักของการออกแบบส่ิงพมิ พ์ 72 72 ปีจจัยเบือ้ งต้นในการออกแบบสิ่งพมิ พ์ วัสดสุ ง่ิ พิมพแ์ ละเทคนคิ เฉพาะในการออกแบบส่ิงพิมพ์แตล่ ะประเภท 75 บทสรปุ 106 ระบบการพิมพ์ (?ฬ11บ118 8)^816111) สำหรบั สอื่ ส่งิ พิมพ์ 107 ระบบการพมิ พ์ท่ีสำคัญ 107 การเสือกระบบการพมิ พ์ 110 บทสรป 111 6 ศิลปะภาพพมิ พ์ : รากฐานสูร่ ะบบการพิมพส์ มยั ใหม่ เพอ่ื ประยูกฟช้ ในการผลติ งานนิ*ทศศิลป๋ 112 ความหมายของศลิ ปะภาพพมิ พ์ 113 ความเป็นมาของภาพพิมพต์ ้นฉบับ 117 ภาพพิมพอ์ น่ื ที่เกยี่ วข้องโดยตรงกบั ภาพพิมพต์ ้นฉบบั 120 กลวธิ ีการทำภาพพิมพเ์ พ่ือการผลติ งานภาพประกอบเรอ่ื ง 122 การพมิ พ์จากสว่ นร'องของแมพ่ มิ พ์ 132 การพิมพจ์ ากสว่ นพน้ื ราบของแม่พมิ พ์ 150 กไรพมิ พ์สมัยใหม่เพ่ือการออกแบบสื่อส่ิงพิมพ์ 159 บทสรปุ 161 7 การวิเคราะห์ตวั อยางผลงานสอ่ื ส่ิงพมิ พ์ในงานโฆษณา 162 ผลงานบัตรเชิญ (II1V1๒บ0ฑ0ฌ:(1) 162 ผดงานใบปะปีคโฆษณาหรือโปสเตอร์ (?0ร161) 164 ผลงานใบปลิว (บอ&บ®!) 165 ผลงานเอกสารแสดงรายละเอืยดสินคา้ หรอื โบรชวั ร์ (81-0011ง16) 166 บทสรุป 167 8 ตัวอยา่ งกรณศี ึกษาการสร้างสรรคผ์ ลงานการออกแบบสื่อสงิ่ พิมพแ์ ล2 การวิเคราะหผ์ ลงาน 168 การวเิ คราะหผ์ ลงานกลมุ่ ที่ 1 สือ่ ส่งิ พมิ พเ์ พื่อประชาสมั พันธ์ผลิตภณั ฑ์ของธนาคารกรงุ เทพ 169 การวเิ คราะหผ์ ลงานกล่มุ ท่ี 2 สื่อส่ิงพิมพเ์ พ่อื ประชาสมั พันธผ์ ลติ ภัณฑพ์ ระกร่งิ ร่นุ เหน่ยี วทรพั ย์ใน 7/ธ!.ธVธฬ 178 การวเิ คราะห์ผลงานกลมุ่ ท่ี 3 ส่ือส่ิงพิมพ์เพื่อประชาสัมพันธ์รัานบ๊ทู ส์และผลิตภณั ฑ์ท่เี กี่ยวรอ้ ง187 การวิเคราะหผ์ ลงานกลุ่มที่ 4 สอื่ สง่ิ พิมพเ์ พอื่ ประชาสมั พันธร์ ้าน ร\\Vธ1งรธ!งร และ ผลิตภณั ฑ์ทเ่ี กยี่ วข้อง 196 บทสรุป 202 บรรณานกุ รม 203 ประว้ดผิ ูเ้ ขียน 206 สารบญั ภาพ ภาพประกอบ หน้า 1 ตัวอยา่ งงานออกแบบของทรี่ ะลกึ งานเทศกาลเบยี ร์ 3 2 ตวั อยา่ งภาทเขียนบนเพดานและผนงั ในถํา้ ลาสโกซ์ 6 3 ตวั อย่างภาพเขยี นการอพยพของฝูงสัตวบ์ นผนงั ในถาลาสโกซ์ 6 4 ตวั อย่างตัวอกั ษรรปู ล่มิ (0น1161{0]1ะ1) ของสุเมเรียน 8 5 ตราประจำราชวงศช์ ิง 9 6 ตัวอยา่ งแผ่นศลิ าจารกึ โรเซตตา (11x6 11086ม31รเ๐!!6) 10 7 ตวั อย่างแผน่ ศิลาจารกึ ไรเซตตา (711ธ 110561๒ ร!๐06) ภาพท่ี 2 11 8 ตวั อย่างภาพส่วนหนึ๋งทป่ี รากฏใน“ หนงั สอื แหง่ ความตาย ” 12 9 อัมภรี ์ไบเปล็ ของกลมุ่ ครสี เดยื น เม่ือปี ค.ศ. 300 (^ .0 . 300) 13 10 ภาพโยฮนั กูเทนเบรก์ (ซ้าย} 15 ตวั เรียงพมิ พ์ท่ีกเู ทนเบรก์ คิดค้น (ขวา) 11 ตัวอย่างผลงานการออกแบบออกแบบโปสเตอร(์ ?0ร161-) 16 ของทลู ูสโลเทรค 12 ภาพแอนดี้วอร์ฮอศ(์ ^ 4 7 01)และผลงาน 19 13 ตวั อย่างการออกแบบส่ิงพิมพย์ ุคหลังสมยั ใหม่ 20 14 ตัวอย่างงานออกแบบแค้วน้าํ 25 15 ตวั อยา่ งการออกแบบทางทัศนศิลปี 26 16 ตวั อย่างการออกแบบโดยใชความสมดุลที่เหมือนอนั 36 17 ตวั อย่างการออกแบบโดยใซค้ วามสมดุลท่ตี า่ งลนั 37 โดยใช้การสรา้ งน้ําหนกั 18 ตัวอย่างการออกแบบโดยใชค้ วามสมดลุ ทตี่ า่ งกนั 37 โดยใช้การสรา้ งส่งิ ทีด่ ึงดดู ใจ 19 ตวั อย่างการออกแบบโดยใช้ความสมดุลท่ตี า่ งกันโดยใชก้ ารตัดกนั 38 20 ตวั อย่างการออกแบบโดยใช้ความเปน็ เอกภาพ โดยเนน้ ความสัมพนั ธต์ ่อเนื่อง 39 21 ตัวอย่างการออกแบบโดยใช้ความเปน็ เอกภาพ 39 โดยเน้นลักษณะเดน่ กักษณะด้อย 22 ตัวอยา่ งการออกแบบโดยใชส้ ัดสว่ นท่ตี า่ งกัน 40 23 ตัวอย่างการออกแบบโดยใชจ้ ังหวะลีลาท่เี นน้ ความช้ํากันของรูปรา่ งรปู ทรง 41 24 ตัวอยา่ งการออกแบบโดยใชจ้ งั หวะลีลาที่เน้น การสลบั ไปมาของรปู สเ่ี หล่ยี ม 41 25 ตวั อย่างการออกแบบโดยใช้จังหวะลลี าทเ่ี นน้ การออกแบบเพิม่ ขึ้นเรอื่ ยๆ 42 26 ตัวอยา่ งการออกแบบโดยใชจ้ ังหวะลีลาทเ่ี นน้ 42 ความลื่นไหลขององคป์ ระกอบ 27 ตัวอย่างการออกแบบโดยวิธกี ารตดั กันดว้ ยองค์ประกอบท่ีแตกตา่ ง มาจดั รวมกนั 44 28 ตัวอย่างการออกแบบโดยวิธีการตดั กันดว้ ยการ ใช้องคป์ ระกอบประเภทเดยี วกัน 44 29 ตัวอย่างการออกแบบโดยวิธกี ารรวมตัวเพอื่ สร้างความรู้สกึ ดา้ นขนาด 29 30 ตวั อยา่ งการออกแบบโดยวิธีการรวมตวั เพอื่ สรา้ งความรสู้ ึก สัมผัสทางดา้ นสแี ละลักษณะผิว (พระพทุ ธรปู ) 46 31 ตวั อยา่ งการออกแบบโดยวธิ กี ารรวมตวั (พื่อสร้างความรสู้ กึ สัมผสั ทางดา้ นสแี ละลกั ษณะผวิ (รปู ปีนตุ๊กตาจนี ) 47 32 ตวั อยา่ งการออกแบบโดยวิธีการรวมตัวเพื่อสรา้ งความรสู้ กึ สัมผัสทางดา้ นทศิ ทาง 48 33 ตัวอย่างการออกแบบโคยใชร้ ูปทรงธรรมชาตทิ เี่ นน้ การออกแบบใหเ้ รียบง่าย 49 34 ตัวอย่างการออกแบบโดยใช้รูปทรงธรรมชาติท่ีเน้น การประติษฐต์ กแต่ง 50 35 ตวั อยา่ งการออกแบบจานสีท่ีเน้นการใชร้ ปู ทรงอสิ ระ 51 36 ตัวอย่างการใช้รูปทรงเรขาคณิตในการออกแบบหลังคาโดม ของอาคารสมยั ใหม่ 52 37 ตวั อยา่ งตารางกรคิ ทป่ี รากฎในโปรแกรมตกแต่งภาพในคอมพวิ เตอร์ 37 38 ตวั อยา่ งคลงานแบบร่าง (110น.811 เกี่ยวลบั ภาพ ใบหน้าของการ์คูน 63 39 ตัวอย่างผลงานแบบรา่ ง (1101)^ร](ร๗!) ซึ๋งเป็นแบบรา่ งของปกหนงั สึอ 64 40 ตัวอยา่ งใบปลิว 76 41 ตัวอยา่ งซองจดหมายและกระดาษจดหมาย 78 42 ตวั อย่างไปรษณยี บตั ร 79 43 ตัวอยา่ งภาพในปฎทิ นิ ชุดวดั 80 44 ตัวอย่างปฏทิ ินแบบต้ังโต๊ะ 81 45 ตวั อย่างโบรชัวร์ 83 46 ตวั อยา่ งแคตาลอค 84 47 ตัวอย่างหนงั สือเล่มเลก็ 85 48 ตัวอย่างแผ่นพับ 87 49 ตวั อย่างหนังสอื คม่ ือ 88 50 ตัวอยา่ งสจู ิบัตร 50 51 ตวั อย่างใบปะปดิ โฆษณาหรอื โปสเตอร์ 94 52 ตวั อยา่ งปกหนงั สือนทิ านสำหรบั เด็ก 97 53 ตัวอยา่ งบตั รอวยพรพร้อมชอง 98 54 ตัวอยา่ งคปู องพรอ้ มชองใส่คปู อง 100 55 ตัวอย่างบรรจภุ ณั ฑ์หรือกล่องใส่สรุ ากล่ันของไทย 101 56 ตัวอย่างบรรจภุ ณั ฑใ์ ส่เคร่อื งดม่ื เบียร์ 102 57 ตวั อยา่ งปา้ ยโฆษณาภายในอาคาร 103 58 ตวั อย่างป้ายโฆษณาภายนอกอาคาร 103 59 ตัวอย่างภาพรถตู้ทมี่ กี ารตดิ สง่ิ พมิ พไ์ ว้รอบดา้ น 104 60 ตวั อย่างเสอื แจ๊คเก็ต 105 61 ตัวอย่างเส้อื ยดื 106 62 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเปดิ งานแสดงภาพพมิ พ์และวาดเสันนานาชาติ ครง้ั ที่ 2 116 63 งานภาพพิมา^พระหัตถ์ ชอ่ื ภาพ “เสอื หวิ ” โดยสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 116 64 ตวั อยา่ งผลงานภาพพิมพจ์ ากเทคนิคแกะได้ 125 65 ตวั อย่างผลงานภาพพิมพ์จากเทคนคิ แกะได้ (ภาพที่ 2) 125 66 ตัวอย่างผลงานภาพพมิ พจ์ ากเทคนิคการแกะได้สี 128 67 ตัวอย่างผลงานภาพิมพ์ทีใ่ ชเ้ ทคนิคภัคกรด 139 68 ตวั อย่างผลงานภาพพิมพท์ ี่ใช้เทคนิคแอควะทินด้ 144 69 ตวั อย่างผลงานภาพพมิ พ์ที่ใช้เทคนิคการพมิ พ์ภาพหนิ 153 70 ตวั อย่างผลงานภาพพิมพท์ ่ีใช้เทคนคิ การพิมพภ์ าพหนิ (ภาพที่ 2) 154 71 ตวั อยา่ งผลงานภาพมิ พ์ท่ีใชก้ ารพมิ พ์เทคนิคตะแกรงไหม 158 หรอื ชิลค์สกรนี 72 ตัวอย่างผลงานภาพิมพท์ ใ่ี ชก้ ารพิมพเ์ ทคนิคตะแกรงไหม หรือซลิ ค์สกรนี (ภาพท่ี 2) 158 73 ตวั อย่างบตั รเชิญการแสดงผลงานศลิ ปกรรม 163 74 ตวั อยา่ งใบปะปดิ โฆษณาหรอื โปสเตอร์งานแสคงภาพถา่ ย'คู'ด (ฬ11ส6) 164 75 ตัวอย่างใบปลวิ ของสนิ คา้ ]ฬ0 ซ0ฑฟ(1 165 76 ตัวอยา่ งโบรชวั ร์ ของร้านเช่าวิดีโอ 2 2 ^ V II)20 166 77 ผลงานการออกแบบคูปองสมมนาคุณของธนาคารกรุงเทพ 170 78 ผลงานการออกแบบกล่องหรอื หบี หอ่ สัาหรบั ใส่แก้ว ของธนาคารกรุงเทพ 171 79 ผลงานการออกแบบธงราวของธนาคารกรุงเทพ 172 80 ผลงานการออกแบบภาพโฆษณาในนติ ยสาร (1ฬ&ฐส2๒0 Xช.) ของธนาคารกรุงเทพ 173 81 ผลงานการออกแบบป้ายช้างรถ (ธนร ร!ชธ) ของธนาคารกรงุ เทพ 174 82 ผลงานการออกแบบปา้ ยแขวนของธนาคารกรงุ เทพ 176 83 ผลงานการออกแบบโปสเตอรข์ องธนาคารกรุงเทพ 177 84 ผดงานการออกแบบโปสเตอรส์ ำหรับประชาสัมพันธพ์ ระกรงิ่ 179 85 ผลงานการออกแบบคปู องสะสมคะแนนสำหรับประชาสมั พนั ธ์ พระกร่งิ 180 86 ผลงานการออกแบบธงราวสำหรบั ประชาสัมพนั ธ์พระกริ่ง 182 87 ผลงานการออกแบบป้ายชา้ งรถสำหรบั ประชาสมั พนั ธพ์ ระกร่ิง 183 88 ผลงานการออกแบบป้ายแขวนสำหรบั ประชาสมั พันธ์พระกริ่ง 184 89 ผลงานการออกแบบภาพเพือ่ พมิ พ์บนเสอ้ื สำหรบั ประชาสมั พนั ธ์ พระกริง่ 185 90 ผลงานการออกแบบแผน่ พับสำหรับประชาสัมพันธพ์ ระกรึง๋ 186 91 ผลงานการออกแบบป้ายแขวนของรา้ นบู๊ทส์ 188 92 ผลงานการออกแบบธงญี่ปน่ ของรา้ นบูท๊ ส์ 189 93 ผลงานการออกแบบปา้ ยข้างทางของร้านบุ๊ทสั 190 94 ผลงานการออกแบบภาพงานโฆษณาในหนังสอื พิมพข์ องร้านบูท๊ ส์ 191 95 ผลงานการออกแบบภาพงานพมิ พบ์ นกลอ่ งกระดาษชำระ ของรา้ นบ๊ทส 193 96 ผลงานการออกแบบป้ายข้างรถของรา้ นบูท๊ ส์ 194 97 ผลงานการออกแบบโปสเตอรข์ องร้าน^ทสั 195 98 ผลงานการออกแบบป้ายราวจับในรถไฟฟ้าเพ่ือประชาสมั พันธ์รา้ น รXVธ^ร51^8 197 99 ผลงานการออกแบบธงราวของร้าน รXVธ]Vโรธฬร 198 100 ผลงานการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ของร้าน รXVธ]4รธฬร 199 101 ผลงานการออกแบบป้ายหลังพนกั พงิ เก้าอใี นรถไฟฟา้ ของร้าน รXVธฬรธ]งร 200 102 ผลงานการออกแบบแผ่นรองจานและแผ่นรองแกว้ นำ ของรา้ น รXVธฬรธ!งร 201 การออกแบบลีอ่ ลิง่ พิมพเ์ พ่ือผลิตงานโฆษณา ^ เ^ บทที่ 1 มูลฐานการออกแบบ ท่ามกลางความซํ้าซาก ก็ตอ้ งมีความแตกต่าง วธิ ีการสรา้ งความแตกตา่ งอยา่ ง หนง่ึ เราเรียกวา่ “การออกแบบ” อันทจี่ รงิ คำวา่ การออกแบบ กค็ อื วิธกี ารสรา้ งสรรค์ ซงึ่ ในท่นี ีเ้ ราจะหมายถงึ การออกแบบในงานโฆษณา และเส์อเราออกแบบในทกุ ๆ อยา่ ง สุดทา้ ย กต็ ้องมกี ารประเม่ินความเสร็จของสง่ิ ที่ไต้ออกแบบไปแล้ว เพื่อทำให้เกิด แนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานทดีฃนึ กว่าเดมิ สำหรับการทำงานครงั ตอ่ ไป ความหมาุ ยฃองกใรออกแษ่บ คำว่า “การออกแบบ” (0651211) มีความหมายทห่ี ลากหลายเชน่ เดยี วกับคำวา่ “ศิลปะ” ทั้งนเ้ี นึอ่ งจากการให้คำจำกดั ความน้นั จะขึ้นอยู่กบั ทรรศนะส่วนตวั ผนวกกบั ประสบการณ์ของผ้ใู ห้คำจำกดั ความนนั้ ฉะนัน้ จึงขอยกตัวอยา่ งความหมายของ “การ ออกแบบ” เพ่ือให้ทราบถึงความหมายโดยรวม ตังนี คำว่า “0681211” มาจากศัพทล้ าดิน ซ่งึ มาจากคำว่า 0651211&1-6 หมายถึง กำหนด ออกมา หรอื เปึาหมายในการแสดงออกถึงสิ่งทอ่ี ย่ในความคิด (00ซร610นร) ซ่ึงเป็น โครงการ รูปแบบ หรอื แผนผังความคดิ ทีผ่ ู้สรา้ งผลงานกำหนดขึ้นตว้ ยการจดั องค์ประกอบต่างๆ เชน่ ท่าทาง ถอ้ ยคำ เลน้ สี รูปแบบ โครงสรา้ ง และวัสดตุ า่ งๆ โดย ใชห้ ลักเกณฑท์ างความงามหรือสนุ ทรยี ภาพ (^6ร1116ส6ุ ?ฑ1่ 1ผ1่ )16) ประดษิ ฐส์ ร้างสรรค์ การออกแบบสือสิงพมิ ใ4'เพอื่ ผลติ งานโฆษณา ขึน้ จากสิง่ ท่ีงา่ ยท่ีสุดไปหาสง่ิ ท่ียุง่ ยากซบั ซอ้ น ท้ังนกี้ ็เพือ่ เปา้ หมายในความสำเรจ็ ของ ชนิ งานทสี่ มบรู ณ์ การออกแบบ ไม่ใชก่ ารแสดงความงามให'ปรากฎเพยี งอย่างเดียวเท่านัน แตย่ งั มีอกื หลายสิง่ ทตี่ อ้ งพิจารณา การออกแบบยงั เปน็ กระบวนการสร้างสรรค์รูปแบบอนั เปน็ ประโยชน์ ตา่ งไปจากงานจิตรกรรมและประติมากรรมอนั สะทอ้ นถงึ ภาพและความ พีนสว่ นตวั ของศิลปนิ ผ้สู ร้างงาน การออกแบบเปน็ งานเพ ือ่ ชวี ิตจรงิ ในแง่ของ ป ระโยชน ใ์ ช้ส อย งาน ออกแบ บท ด่ี ี ต้องแส ด งออ ก ซ ง่ึ รูป แบ บ ท ีด่ ที สี่ ุด เพ ่ือ วัตถปุ ระสงค์อยา่ งใดอย่างหน่ึง ไม่วา่ จะออกแบบเพื่อขา่ วสาร (14655&ฐธ) หรอื เพ่ือการ สร้างสรรคผ์ ลิตภณั ฑ์ (?1-0(1นธ!) การออกแบบทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพทน้ั นกั ออกแบบต้อง คำนงึ ถึงสง่ิ ท่ดี ที ส่ี ดุ ทางต้านรูปแบบ การผลติ การสง่ หรอื การส่อื สาร การนำไปใช้ รวมทังความสัมพนั ธร์ ะหว่างผลิตภัณฑอ์ บั ส่ิงแวดล้อม ตงั น้นั การออกแบบจึงตอ้ ง พิจารณาท้ังเรือ่ งของความงาม เรือ่ งประโยชนใ์ ช้สอย และความนยิ มของผ้ใู ชผ้ ลิตภณั ฑ์ ตามชว่ งเวลาหนงึ่ ๆ อารี สุทธิพนั ธุ กลา่ วถึงเรือ่ งของการออกแบบไว้วา่ การออกแบบ หมายถึง การสรา้ งสรรค์สง่ิ ใหม่ เพ่อื ประโยชนแ์ ละความงามต้วยการนำสว่ นประกอบของการ ออกแบบมาใช้ (216111611! 0^ ๐ 651511) และหมายถงึ การปรับปรูงของเดิมท่มี ือยแู่ ลว้ ตัดแปลงใหเ้ หมาะสมย่ิงขนึ้ (01โ5ลฑ126 311ล 26015311126) (อารี สุทธพิ นั ธ์. 2528) น อ ก จ าก น ี้ ใ น พ จ น าน ุก ร ม ต ัพ ท ้แ ล ะ เท ค น ิค ท าง ศ ิล ป ะ ข อ ง ก ร ม ว ชิ าก าร กระทรวงศึกษาธกิ าร เม่อื ปี พ.ศ. 2540 ไตค้ ำนิยามไวว้ า่ การออกแบบ เปน็ การ เลือกสรรสว่ นประกอบต่างๆ ทางต้านศิลปะมาจดั เป็นรปู แบบตา่ งๆ ข้ึน รวมถงึ การ แสดงออกทางตา้ นแนวคิดของศลิ ปินในการจัดองคป์ ระกอบศิลปึ เชน่ การจดั ทิศทาง ขนาด รปู ร่างของเสนั มมุ รปู ทรงต่างๆ โดยคำนึงถงึ การจัดวางในบรเิ วณ ทีว่ า่ ง ความ ส ม ด ุล ท ้งั แบ บ ท ่สี อ งต้าน เท ่าก น้ แ ล ะท สี่ อ งต ้าน ต า่ งด ุล ยภ าพ ก นั และ ก ารจดั จังห วะล ลี าแล ะพ ล งั เค ล ื่อ น ไห ว สงิ่ เห ลา่ น ี เป น็ ส ่วน ป ระก อ บ ต่างๆ การออกแบบสือสง่ิ พิมพเ์ พอ่ี ผลติ งานโฆษณา ?ะ^? ของการออกแบบ ส่วนทไ่ี มไ่ คจ้ ัดอยูใ่ นส่วนประกอบของการออกแบบ ไค้แก่ สี พ้ืนผิว หรือเน้อื หาเรื่องราวนนั้ ส่งิ เหลา่ นเี้ ป็นตัวสอื่ ทีศ่ ิลปีนนำไปใช้ทำการออกแบบไค้เชน่ กัน (กระทรวงศึกษาธกิ าร.2540 : 248) ในมมุ มองของผูเ้ ขียน การออกแบบ หมายถงึ การตดั ทอน การคัดสรร องคัประกอบศลิ ปแึ ละการกำหนดรูปทรงทีเ่ หมาะสมกบั การใชง้ านเพ่อื ให้เกดิ คณุ ค่า คา้ นประโยชนใ์ ช้ สอยควบคูก่ บั คุณคา่ ทางความงามทีเ่ ออื้ ประโยชน์ ต่อสังคมรว่ มสมัย กลา่ วโดยสรุป การออกแบบ หมายถึง งานทมี่ นุษยส์ ร้างข้ึนชงึ่ เปน็ ความ พยายามในการสรา้ งให้เกิดความเปลี่ยนแปลงโดยการจดั องค์ประกอบตา่ งๆ ให้ ประสานกลมกลนื กัน โดยมงุ่ แกป้ ญี หา และสนองความตอ้ งการคา้ นประโยชนใ์ ชส้ อย ของผ้ใู ช้ผลิตภัณฑ์หรอื ผู้บริโภค ทังนี คุณสมบัติของนกั ออกแบบควรเปน็ ผมู้ ีความรู้ ความชำนาญ ตลอดจนประสบการณ์ และที่สา์ คัญคอื เปน็ ผ้มู ีความคดิ และจินตนาการที่ กวางไกล ภาพประกอบ 1 ตัวอยา่ งงานออกแบบของท่รี ุะลึก ซึ่งเป็นทเี่ ปิดขวดุ ทผี่ ผู้ ลิตเครอ่ื งดี่มเบยี รยหี่ อ้ หนึง่ จัดทำขึ้นเพ่อี แจกลกู ค้าในงานเทศกาลเบยี รเ์ ม่อื ปี พ.ศ. 2549 ของทรี่ ะเกดงั กล่าวแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความไร้ขอบเขตจำกดั ฃฉงการออกแบบ และสะทอ้ นถึงคุณคา่ ของการออกแบบไนเซิงประโยชนใ์ ช้ สอยและคณคา่ ทางความงาม การอ'อกแบบสอื สิงพมิ พเ์ พื่อผลติ งานโฆษณา ปอเกดิ ของการุ่ออทแบบ หากกล่าวถึงการออกแบบ สิ่งนี้เกดิ ขึน้ ตง้ั แตส่ มัยดกึ ดำบรรพ์ทีม่ นุษย์ ดำรงชีวติ ดว้ ยการพงพาธรรมชาตเิ ป็นหลัก โดยมนุษยจ์ ะนำส่ิงที่มใี นธรรมชาตมิ าเป็น ป็จจยั พนื้ ฐานการดำรงชวี ติ เชน่ การลา่ สัตว์เป็นอาหารจะมกี ารออกแบบอาวุธทท่ี ำจาก หนิ และไม้ การอาศัยอยใู่ นถ้ําก็มกี ารออกแบบแท่นทีน่ อนและผนังโดยรอบทีม่ ีการวาด ภาพต่างๆ เพอื่ สร'างขวญั กำลงั ใจสำหรบั การดำรงชีวิตทา่ มกลางความไม่แนน่ อนของ ธรรมชาติ รวมทัง้ การใชส้ ่วนตา่ งๆ ของพชื และหนังสัตวม์ าออกแบบเพอ่ื ทำ เครึ๋องนงุ่ หม่ และทำเปน็ อุปกรณ์ในพธิ ีกรรมต่างๆ เป็นดน้ การทม่ี นษุ ย์ดอ้ งพงื่ พา ธรรมชาตแิ ละปรบั ตัวเพื่อความอยรู่ อดท่ามกลางสภาพแวดลอ้ มน้นั ทำให้มนษุ ยม์ ี พัฒนาการทางความกิดท่ตี ้องปรบั เปลีย่ นไปตามสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปล่ียนไป เช่น พัฒนาการทางความคิดท่นี ำไปส่กู ารประดษิ ฐ์คิดด้นเคร่อื งมอื เครือ่ งใช้ต่างๆ เช่น เครอื่ ง นมุ่ ห่ม เครอื่ งประตับ วสั ดุอปุ รณเ์ พ่ือพิธีกรรม ซึง่ ผลงานการประดษิ ฐ์คิดดน้ นี้ถึอววา่ เปน็ การออกแบบท่ใี ชส้ ่งิ ของท่หี าไดใ้ นธรรมชาติมาสร้างสรรคเ์ ป็นชิ้นงานเพ่อื ประโยชน์ใชส้ อย เพอื่ ความงามเพมิ่ ความสะดวกสบาย รวมทง้ั การดำรงชีวติ ทีป่ ลอดภัย มากขึน เชน่ การเขียนลวดลายบนร่างกายเพอื่ พรางตวั ให้เช้ากับธรรมชาตสิ งิ่ แวดล้อม หรอื ทำให้แลดมู ีอำนาจนา่ กลัวจากมนุษยด์ ว้ ยกันและจากสัตวค์ วามคิดที่วา่ นถ้ี อื วา่ เป็น การเริ่มด้นของการออกแบบ ท้ังน้ี ความคิดท่ีเรียกได้วา่ เปน็ การออกแบบของมนุษย์ใน ยุคแรกตังกลา่ วมาน้นั มแี ด้ปญ้ หาท่เี กิดขึ้นและการทดลองควบคูก่ ันไปดว้ ย เช่น การ สงั เกตเหน็ ว่า เมื๋อนำหนิ มาถกู นั จะเกดิ ประกายไฟ สงิ่ ทีส่ งั เกตได้นี้ ทำให้มนษุ ยน์ ำไฟ ไปใชใ้ นการทำอาหารให้สุก และใชใ้ นพิธกี รรม นอกจากนี้ ยงั มกี ารนำไฟไปเผาไมใ้ ห้ เกดิ เปน็ ลวดลายซง่ึ ถอื ว่าเป็นการออกแบบอยา่ งหนึ่งเช่นกนั จากทกี่ ล่าวมา จะเหน็ ไดว้ า่ มนษุ ยเ์ ริ่มรู้จกั การออกแบบมานานแล้ว ความสามารถในการออกแบบของมนษุ ย์ ดังกลา่ วน้ีได้ถูกสบื ทอดมายงั มนุษยย์ ุคปีจชุบนั การออกแบบสอื สงิ พิมพ์เพอื่ ผลติ งานโฆษณา ศวาม*คลอื่ นไหวของการออ่สแบบ ส ิ่งท บ่ี ่งบ อกถึงความเคล่อื น ไห วของการออกแบบ ไดอ้ ยา่ งชัดเจน คอื ววิ ฒั นาการของงานออกแบบส่งิ พมิ พ์ การออกแบบสิง่ พิมพ์ดังกลา่ วนี้ มรี ากฐานจาก การสรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปกรรมและศิลปะภาพพมิ พ์ โดยมีหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ ทีเ่ ก่ียวโยงถงึ การพิมพ์ กลา่ วคือ ในยคุ แรกของมนุษย์มีการขูดขีด การเขียน การจารึก ร่องรอย เพ่ือบนั ทกึ เรอ่ื งราวตา่ งๆ ซึ่งปรากฎเปน็ รอยเล[่ นบนกระดกู งา และเขาของ สัตว์ ทมี่ ีอายุประมาณ 30,000 ปีกอ่ นครสิ คก์ าล เร่อื งราวที่มนุษยบ์ นั ทกึ น้ัน เช่น การ บันทกึ ทางจนั ทรคติ การเปล่ียนแปลงของฤดูกาล การอพยพของฝงู สตั ว์ การบนั ทกึ จำนวนของสัตว์ทลี่ า่ ได้ เป็นดน้ การบันทึกเร่ืองราวดงั กลา่ วน้ถี ือว่า เปน็ ศลิ ปะแหง่ การ สรา้ งสรรค์เพอ่ื ชว่ ยในการจำท่เี รยี กวา่ “เนโมนคิ ” (^[116๓01110) ดัวอย่างท่ีปรากฎให้เหน็ ในปจ็ จุบนั เชน่ ภาพเขยี นบนเพดานและผนงั ในถ้าํ ลาสโกช์ ในตอนใดข้ องฝรงั่ เศส ถา้ํ อัลตามีรา (^1๒11111-3 ^&V6) ทาง ตอนเหนอื ของเสปน ดัวอยา่ งภาพเขียนดังกล่าวนี้ มีลกั ษณะเปน็ ภาพเขยี นหยาบๆ ท่ี นำเสนอบางสว่ นของรูปร่างสัตว์ เช่น สว่ นหวั ส่วนเขา ส่วนขา เปน็ ดน้ นอกจากนี้ ใน ไทย ยงั มีภาพเขียนบนเพดานและผนงั ลำ ท่ีเรียกวา่ ภาพเขียนสกี ลุ่มผาแด้ม ในบรเิ วณ คูเขาหนิ ทรายเลียบรมิ ^งแมน่ ำโขงท่จี งั หวดั อุบลราชธานี ภาพเขยี นดงั กล่าวส่วนใหญ่ เปน็ สแี ดง โดยเขยี นเป็นภาพสตั ว์ เช่น ปลา ช้าง วัว เตา่ สุนัข นก ไก่ ขนาดใหญห่ รอื ขนาดเทา่ ของจริง โดยเฉพาะช้างและปลา ภาพสัตว์น้พี บประมาณ 30 ภาพ น้ังภาพคน และสตั ว์ ซึ่งมกั อยใู่ นอาการเคลอ่ื นไหวเกอื บทังส้ิน การออกแบบเอสง่ิ พมิ พ์เพ่อื ผลิตงานโฆษณา ภาพประกอบ 2 ตัวอยา่ งภาพเขยี นบนเพดานและผใXงในถํ้าลาสโก4 ทมี า : 1า11|ว;//VVVVพ.900916.00.■แา/I๓9Iลท^แท9?^1=^ล3^ลนx%20^^V6&Iฌ9นโI ภาพประกอบ 3 ตวั อย่างภาพเขียนการอพยพของ^งส์'ตว์บนผนังในถาํ้ ลาสโกซ์ ทมี า Iาแ[วะ//'/'™'™^.ฐ00^I6.^0.1;Iา/เ๓9I^ท^แท^?^1=แลร^^ษx%20^^V6&เ๓9นโ1 การออกแบบสื่อสงิ่ พิมพ์เพื่อผลติ งานโฆษณา เม่อื เวลาผ่านไป มนษุ ย์มกี ารพัฒนาการขดู ขีดหรือเขียนรปู มากข้ึน เชน่ การ เขียนภาพคน หรือสัตวเ์ ต็มตวั ในท่าทางต่างๆ รวมทงั้ รูปรา่ งของสงิ่ อ่นื ๆ เชน่ อาวธุ ท่มี ี ขนาดและรูปร่างลกั ษ!แะทีห่ ลากหลาย การพัฒนาท่ีวา่ น้ี นับว่าเปน็ การสรา้ งภาพ สญั ลักษณท์ ีใ่ ชแ้ ทนส่ิงต่างๆที่มอี ยู่ ณ เวลานัน ซ่ึงภาพเขียนทีป่ รากฎเปน็ หลักฐานใน ปจ้ จบุ ันเรียกว่า อักษรภาพ (?1๙อฐ]■ &?11) เนือ่ งจากเป็นอักษรทใ่ี ชภ้ าพสอื่ ความหมาย แทนคน ส่งิ ของ พืช สัตว์ ซง่ึ เป็นสภาพแวดลอ้ มของมนษุ ยผ์ ้สู รา้ งในสมยั นนั้ ในเวลาต่อมา อักษรภาพท่ใี ชม้ าตังแต่สมยั โบราณ ได้มพี ฒั นาการเพอื่ ใช้เป็น ส่ิอรองรบั ความคดิ ท่ีกวา์ งขนึ เพ่อื แทนส่งิ ทเ่ี ป็นนามธรรม ความร้สึก จินตนาการ มโน ทศั น์ เป็นด้น โดยมกี ารพฒั นารูปแบบภาพสรา้ งสัญลกั ษณส์ ิอ่ ความหมายแทนความคิด ขึนซ่งึ ดดั แปลงมาจากอักษรภาพ ด้วยการใชร้ ปู แบบหยาบๆ และใช้แทนความหมาย ไดม้ ากขึ้น เชน่ การเขียนภาพสัญลกั ษณ์ของเท้า ที่ใท้ความหมายมากกว่าอวัยวะหน่ึง ของร่างกาย โดยอาจมีความหมายกว้างขืน เช่น แทนการยนื หรือการเดินทางของมนษุ ย์ หรือการเขยี นสัญลักษณด์ วงอาทิตยด์ ว้ ยวงกลม ซ่งึ นอกจากจะหมายถึงควงอาทิตยแ์ ลว้ ยังอาจหมายถงึ วนั เวลาได้เชน่ เดียวลัน การพฒั นารูปแบบจากอกั ษรภาพไปสกู่ ารสรา้ ง สอ่ื สัญ ลกั ษณ ห์ รอื ภาพสญั ลกั ษณ ต์ ังกล่าวน นั เรียกวา่ อักษรแทน ความน กึ คิด (1(160ฐญ!)!1) หรอื ภาพกราฟพเิ ก ตัวอักษรทีม่ นษุ ยพ์ ัฒนาข้ึนนั้น เช่น ตัวอักษรไฮโรกลิพกั (11161:021x1)1110) ของชาวอยี ปิ ต์ ตวั อกั ษรรูปลิม่ (0น11616ว1ท1) ของสุเมเรียน อักษรกรีก (0x661: ^1!)11&๖60 อกั ษรอที รสู ลนั (ธเ11156311^|)1131160 อักษรโรมัน (11.0111311^1!)1131ว60 เปน็ ด้น การออกแบบสือสงิ พิมพเ์ พ'่ื อผลติ งานโฆษณา ภาพประกอบ 4 ตว้ อยา่ งตัวอกั ษรเปล่ิม (0นท0|1^0โฌ) ของสุฒเรยี น ทมี า : แI;1;[ว://V™™V.9009I6.^0.แา/I๓9!^^^^||ว9?^-^^“า6I1'0โ๓&I๓9นโI- 1า111ว:''6เ0-น51'.6(ะ1ฟ0แ931^ ทงั นี แม้แต่ในเขตอารยธรรมตะว’นออก กม็ ีการใชภ้ าพสญั ลักษณ์เพ่ือสื่อ ความคดิ ความเช่ือ ความรู้สกึ ความหมาย หรือความเป็นตวั แทนด้วยเชน่ ลัน เชน่ ในจีน เมอ่ื ประมาณปี ค.ศ. 225 ก่อนครึสตกาล มีหลกั ฐานเก่ยี วลบั การพิมพโ์ ดยเปน็ ผลงานการ แกะสลักตราบนแผน่ หิน บนกระดกู สตั ว์ และบนงา เพ่อื ใช้เปน็ ตราประทับบนข้ผี ้ึง หรอื ดนิ เหนียว โดยตราดังกลา่ วมที งั ตราประจำพระองคข์ องพระเจ้าแผ่นดนิ และตราประจำ ตระถูล ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นถึงความละเอยี ด และประณตี ของคนในสมยั น้นั การออกแบบสือส่งิ พมิ พ์เพื่อผลิตงานโฆษณา ภาพประกอบ 5 ตราประจำราชวง^ง ซึง่ เป็นราซวงฮ่องเต้พระองค์สุดทายท่ไี ดร้ ับการยอมรบั จากประชาซน ซง่ึ ไดแ้ ก่ จักรพรรดิผ่อู ๋ี แหง่ ราชวงต้ซงิ ทมี่ า Iาน^://1ก.ผIเ^I[ว6^I|ล.0โ3/ฬ่I^I/%ธ0%68% การสรา้ งสรรคภ์ าพสัญลักษณอ์ นั เกดิ จากความคดิ ของมนุษยเ์ พอ๋ึ ส่ือความเสกึ นกึ คิดดังกล่าวขา้ งตน้ นนั้ เป็นสว่ นหนง่ึ ท่กี ระต้นให้เกดิ ความเชือ่ และแนวคิดทแ่ี ยก ออกเปน็ ศาสตร์ต่างๆ จำนวนมากในเวลาต่อมา โดยมกี ารนำภาพสัญลักษณ์ท่มี นษุ ย์ คิดค้นขน้ึ นนั้ เปน็ ส่ือกลางในการเผยแพร่ความเช่ือหรือแนวคดิ นันใหม้ นุษย์ไต้รับรใ้ น วงกวา้ ง นอกจากนี้ สัญลักษณท์ ่ีมนษุ ย์สร้างสรรค์ขึน้ น้นั ยงั สมั พนั ธล์ ับการสร้างผลงาน ศลิ ปะสาขาต่างๆ โดยศลิ ปนิ ผสู้ ร้างผลงานจะใขภ้ าพสญั ลักษณ์หรอื ภาพกราฟทเิ กในการ สอ่ื สารความคิด ความเชอื่ ของมนุษย์ หรือเรื่องราวเกี่ยวกบั ศาสนาภายใตค้ วามสมดลุ ระหวา่ งการหยง่ั ร(ู้ 10ณ1ป011) และความเป็นเหตเุ ปน็ ผล (1.0^10) ดงั นนั จงึ เกดิ การ สอ่ื สารต้วยการออกแบบ โดยเฉพาะอย่างการออกแบบการพิมพ์ เพ่ือเปน็ สอ่ื ทาง ความคดิ สู่มนุษยโ์ ดยทีม่ ีการพฒั นาไปพร้อมกบั ความมเี หตุผลและแบบแผนแห่งการ รับร้ขู องมนุษย์ การออกแบบล่ือส่ิงพมิ พ์เพ่ือผลติ งานโฆษณา ะ' 3 ฒ 3 3 II ะ:; ® 6; ^ การออกแบบการพมิ พ์มีรากฐานมาจากพัฒนาการของรปู แบบตัวอกั ษร โดย การออกแบบการพิมพใ์ นยคุ กอ่ น เป็นการออกแบบตวั อกั ษรและการสรา้ งภาพประกอบ เร่อื ง (111นร1^11011) เปน็ สว่ นใหญ่ และมีการแกป้ ญี หาพรอ้ มทงั้ คดิ อันวธิ ีการสรา้ งผลงาน ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปตามกาลเวลาโดยใช้วสั ลหุ ลากหลายประเภท เช่น แผน่ หน แผ่นไม้ แผน่ ดินเหนยี ว แผ่นกระดาษ เป็นต้น ทง้ั น้ี มกี ารขดุ พบแผ่นศลิ าจารกึ โรเซตตา (ฑ!6 11056*๒ ร*0116) เม่ือปี พ.ศ. 2342 (ค.ศ. 1799) โดยชาวฝร่งั เศสช่ือ บรูชารด์ (61*0นรร&1-(1) ซง่ึ จารึกเป็นตวั อักษรแบบเดโมดิก (061๐0*16) 32 แถว ตวั อักษรแบบไฮโรกสพิ กิ 14 แถว และอกั ษรแบบกรกี 44 แถว ทังนี้ เร่ืองราวในศลิ าจารกึ ดงั กล่าวนน้ั เป็นบนั ทกึ การ สรรเสริญฟาโรพ์ ปโตเลมีที่ 5 (?113]'011 ?*0161๐7 V) ของชาวอียิปต์ ภาฺ พประกอบ 6 ตวั อย่างแผ่นศลิ าจารึกโรเซตตา (1*16 เ^030แอ 5*0ก6) ทีมา : Iา*เ|ว://VVV™.900910.^0.*Iา/Iฌ9I^ก^1Iท9?ฤ=I1า6 ศ036แอ ร*0ก6&เ๓9นโเ-เาแ}ว://แ0I09V■ *|I65.VV0โล[วโ653.ฒ ฌ การออกแบบสอื สิงพมิ พเ์ พ่ือผลิตงานโฆษณา ^ ภฺาพประกอบ 7 ตวั อย่างแผ่นสืลาจารึกโรเซตตา {71า6 ^056แล 5๒ท0) ภาพท่ี 2 ทีมา : 1าแ|ว:77ผผผ.900916.00.^/1โท913ท(:แก9?ชุ-11า0 ^036^3 รเอท©&เฌ9ผโเ“ เา1^ก-//!I0I09V■1ใ ช ! ว ๒ นอกจากน้ี ยงั มหี ลกฐานสำคญั อีกอย่างหนง๋ึ คือ หนังสือมว้ นกระดาษปาปรี สั (?31})™8 501๐115) ท่ีชอ่ื ว่า “ หนังสอื แหง่ ความตาย ” ('ฑ16 60อ1^ 0? ป!6 1)63ฟ้1) ซึ๋งเปน็ เรองราวเกย่ี วกบั ชีวิตหลงั ความตายของชาวอียิปตท์ ่ีมีอายุประมาณ 2,500ปกี อ่ น ครสิ ตก์ าล หนงั สือดังกล่าวเป็นการออกแบบโดยรวนคัวอกั ษรและภาพประกอบไว้ ดว้ ยกนั เปน็ ครง้ั แรก หงั้ นี้การด้นพบวธิ ีทำกระดาษจากดน้ กกปาปิรัสของชาวอยี ปิ ต์นน้ั ถอื วา่ เป็นสว่ นหนง่ึ ทท่ี ำใหเ้ กดิ พฒั นาการของการออกแบบการพมิ พ์ท่เี คล่ือนไหวไปได้ อย่างรวดเร็วเชน่ กัน เนื่องจากกระดาษปาปรัสเป็นสื่อวสั ลทุ ี่มนี ้าั หนกั เบาและสามารถ รองรบั การเขยี นและการบนั ทกึ เพือ่ ถา่ ยทอดความคัด ความเชือ่ และสามารถผลิตซาํ้ ได้ เรว็ กวา่ การใชว้ สั ดุประเภทลืน่ และในเวลาใกล้เคียงกัน ก็ฆกี ารคัดดน้ ส่อื วสั ดุและ การออกแบบสือสงิ พิมพเ์ พือ่ ผลติ งานโฆษณา อปุ กรณต์ ่างๆ สำหรบั การพมิ พ์ เพ่อื รองรบั การขยายตัวทางเศรษฐกิจ สงั คม การค้า ศาสนา และวฒั นธรรมทมี่ ีการเปลย่ี นแปลงตามกาลเวลา ภาพประกอบ 8 ตัวอยา่ งภาพส่วนหนงึ่ ท่ปี รากฏใน“หนังสอื แห่งความตาย’’ (11า6 ธ00เ^0! ![า6 ว6ฺ ลแา) ทีแ่ สดงรายช่อื เทพตา่ งๆ ทปี่ รากฏในห้องพพิ ากษาวญิ ญาณของเทพโอซริ ล ทมี า : ^า111ว://เ:Iา.VVแ^I[ว6^1เ8,0โ9/ผ1!^I/%ธป็% การออกแบบการพิมพ์มีบทบาทสำคญั ในฐานะเปน็ ส่ือกลางของทุกสาขา อาชีพ และมีพัฒนาการโดยตลอด เช่น ในยุคโรมันมีการพฒั นารปู แบบการเขยี น ตัวอกั ษรซง่ึ ทำใหเ้ กิดตวั อกั ษรแบบต่างๆ เชน่ แบบ 5811)^ 1^0111^11 แบบ 11นรเ108 แบบ รชนุ &!-© 0น1)1๒15 และแบบ ฆน0ณ1 นอกจากนี้ โรมันยังมีการพฒั นารูปแบบ หนังสือใหม่ทีเ่ รียกวา่ “คอเด็กซ”์ (^0{16x) ทพี่ ัฒนามาจากการเขยี นบนมวั นกระดาษ ปาปิรสั มาเป็นแผ่นหนงั สัตวัทีข่ ดั ผวิ หน้าเรยี บชง่ึ มคี วามคงทนในการเก็บรกั ษา โดย นำมาตัดใหม้ ีขนาดเท่าคัน แลว้ เยบ็ เปน็ เล่ม จึงทำใหอ้ า่ นง่ายขึ้น และทส่ี ำคญั คอื หนังสือ รูปแบบใหมน่ ี้ทำใหเ้ กดิ “ หนา้ หนงั สือ ” (?นฐธ) นับแตน่ นี้ มา การออกแบบสอื ส่งิ พิมพ!์ .พอ่ื ผสติ งานโฆษณา ภาพประกอบ 9 คัมภเี ไบเบิลของกลมุ่ คริลเตยี น เมือปี ค.ศ. 300 .อ. 300) ท่ีใช้หนงั สือรปู แบบ \"คอเดก็ ช’์ (^0^)0x) เป็นตน้ แบบ ทีมา : Iาแ|ว://ธท.VVแ^I|ว6^แ^.0โ9/ผ|1^I/ ^0^I6X ช่วงประมาณปี พ.ศ. 1043-1843 (ค.ศ. 500-1300) เป็นช่วงเวลาทเี่ รยี กวา่ ยุค กลาง (ฬ!ปป๒ /เ.ฐ©ธ) ซง่ึ เป็นชว่ งเวลาของการลม่ สลายของจักรวรรดโิ รมันตะวันตกใน ค.ศ. 476 ในช่วงเวลาดงั กลา่ ว บางคร้ังเรียกวา่ ยคุ มืด ธร) เน่ืองจากชนเผา่ เยอรมันกลุ่มต่างๆ เข้านาแทนทจ่ี กั รวรรดิโรมนั โดยอารยธรรมโรมนั คอ่ ยๆ สูญสลาย พรอมๆ กบั ภาวะบา้ นเมืองไม่มกี ฎระเบียบ การค้าขายและคุณภาพชวื ติ ของคนเรมิ่ เสอื่ ม ลง มเี พียงสถาบนั ศาสนาท่ียังคงดำเนนิ กจิ กรรมตอ่ ไปเพื่อเปน็ ท่ีพึง่ ของประชาชน ประกอบกับช่วงเวลาดงั กลา่ วมีการบันทึกและรวบรวมขอ้ สลู ทีเ่ ปน็ หลักฐานทาง ประวดั ิศาสตรท์ ่คี ลมุ เครือ ดว้ ยเหตทุ ี่สถาบันศาสนาเป็นเพียงสถาบันเดียวที่คงอย่ไู ค้ ดังน้ัน จึงมีการเผยแพร่ศาสนาและวฒั นธรรมอยา่ งกวา้ งขวาง ในช่วงเวลาน้ีเองจงึ ทำให้ การออกแบบการพิมพม์ บี ทบาทในการจดั ทำดัมภรื แ์ ละคำสอนศาสนา โดยเฉพาะอยา่ ง ยงิ่ ดมั ภีรห์ รอื หนงั สือเขียนขนาดใหญ่ (1ฬ[&หงรธฝฉเ) เพือ่ ใชในการเผยแพร่ศาสนาและ การออกแบบสอ่ื สงิ พมิ พเ์ พ่อื ผลติ งานโฆษณา 1::! 3 ฒฒ® คำสอนซง่ึ ตองเขยี นขนื ใหม่จากเดมิ และตอ้ งเขียนอย่างประณตี นอกจากนี้ การเขยี น อกั ษรและภาพประกอบตอ้ งคำนงึ ถงึ ความถูกต้อง ชัดเจน อ่านงา่ ย น่าสนใจ มกี าร ช่องไฟทคี่ ี มกี ารจัดแถวตัวอักษรและภาพประกอบเข้าต้วยกันอยา่ งกลมกลนื ตว้ ยเหลุนี้ จงึ เริ่มมีการจดั หนา้ หนังสือ การวางรูปแบบ และการใชต้ ารางกรดิ (0ฝ(1) เพอื่ กำหนด ความกวา้ งของบรรทดั ข้อความ และนำภาพประกอบมาสอดแทรกเพอื่ เพืม่ ความเข้าใจ ในการบรรยายมากขนึ้ นับต้งั แตเ่ วลาน้ีน การออกแบบการพมิ พเ์ ริ่มมคี วามสำคญั ขืนอย่างตอ่ เนองเม่ือมีการดคิ ต้น กระดาษและวิธีการพิมพแ์ บบต่างๆ ประกอบกบั สงั คมเริม่ มคี วามตอ้ งการสง่ิ พิมพม์ าก ขืนเพือ่ ตอบสนองตา้ นการเรียนรูฃองมนษุ ยท์ ่ีมมี ากขึ้นตามยคุ สมัย และเพ่ือเผยแพร่ ศาสนาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจที่ถกู ตอ้ งและรวดเรว็ คังน้ีน จึงเกดิ ความเคลอื่ นไหวของการ พมิ พท์ ี่ชัดเจนมากขนึ้ โดยในปี พ.ศ. 1993 (ค.ศ. 1450) ชา่ งพมิ พเ์ ยอรมันช่อื โยฮัน ถเู ทน เบร์ก (1๐113111168 0ฟ611๖612) ไต้ประดิษฐ์เครือ่ งพมิ พต์ ัวเรียงทีส่ ามารถนำตวั เรียงมาพมิ พ์ ไต้หลายครัง้ (^๐V3ผ^ X)ๆ16) ซึง่ การคดิ ตน้ นี้เปน็ ตน้ กำเนดิ ของระบบการพิมพเ์ ลตเตอร์ เพรส (1.6แ61|)1:6รธ ?1-0668ธ) และทำให้การผลิตหนงั สือและสงิ่ พิมพร์ ปู แบบตา่ งๆ สามารถทำไตร้ วดเรว็ งา่ ย และผลิตไตจ้ ำนวนมากในการพมิ พ์แตล่ ะครง้ั จนกระทง่ั ปี พ.ศ. 2042 (ค.ศ. 1499) อัลตัส มานูพอิ สั (./\\1(1น8 ]ฬ3๐นบนร) ช่าง พิมพช์ าวเวนสิ จากประเทศอิตาลี ไตจ้ ัดทำตัวพมิ พ์ให้มขี นาดเลก็ ลง ทำใหล้ ักษณะและ รปู เล่มของหนังสอื มขี นาดเล็กลงไปต้วย และนบั จากน้นี ก็มีพัฒนาการของการพมิ พ์ เกิดขน้ึ อย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในช่วงปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรมในยุโรปนบั ตงั้ แต่ ศตวรรษท่ี 17-19 ซึ่งพัฒนาการตงั กลา่ วรวมถงึ การคดิ ต้นเครื่องพมิ พ์ เคร่ืองจักรกล ตา่ งๆ มากมาย และเกิดองค์ความรูใหมๆ่ ตามมา สำหรับเรอ่ื งการออกแบบน้ีน ไตม้ ี พัฒนาการจนกระทั่งมกี ารต้ังโรงพิมพเ์ คล์มสกอ็ ตต(์ I^^1น1 ร60แ ?]:ธรร) เพอื่ ออกแบบ และจัดพิมพห์ นงั สือให้มีรปู เลม่ ท่ีสวยงามประณีตมากข้ึน นอกจากนี้ ศิลปินและนกั การออกแบบ^อสง่ิ พมิ พเ์ พื่อผลิตงานโฆษณา ประพันธช์ าวอังกฤษชอ่ื วิลเล่ยี ม มอธร์ ิส ไดอ้ อกแบบตวั อกั ษรแบบตกแต่ง (ซ6001^4ฝ6 3 แบบ ได้แก่ แบบ7]โ07 แบบ011สน061: และแบบ 001(1ฒ ภาพประกอบ10 ภาพโยฮ้นกเู ทนเบรก์ (ซ้าย)ตัวเรยี งพมิ ฟทีถ่ เู ทนเบรก์ คิดคน้ (ขวา) ทมา : Iาผ:Iว://6ก.VVแ^I[ว6^แ^.0โ9/VVแ^[/ช0Iา^ทท0ร.^น10ทIว6โ^ ในชว่ งเวลาตอ่ นา ประมาณปลายศตวรรษที่ 19 ได้เกดิ ความเคลอื่ นไหว ทางการออกแบบท่เี ร่มิ ในประเทศฝรัง่ เศส ซึง่ ถอื ว่าเป็นจุดเร่มิ ด้นของการออกแบบกไร พมิ พ์ทแี่ ด้จรงิ ความเคลอ่ื นไหวตังกลา่ วเป็นการผสมผสานรูปแบบของศิลปะยูโรปตับ ศลิ ปะการพมิ พข์ องญ่ปื น่ รวมทั้งเกิดแนวทางการสรา้ งงานทีเ่ รยี กว่า :^๐นVธ&น” ทง้ั นีน้ ักออกแบบการพมิ พค์ นสำคัญ เช่น เฮนรี่ ทลู สู โลเทรค (ช61บ1 1๐น10น86- 1.ฒ1160) โดยผลงานท่มี ชี อื่ เสยี ง ไดแ้ ก่ ผลงานออกแบบโปสเตอร์ (?0ร161:) ที่บรรยาย ชีวติ ยามราตรใี นฝรง่ั เศสซง่ึ ใช้รูปแบบทเ่ี คล่อื นไหว (ว5ๆ1ย1ฑ10 ? &แธฑ!) มาออกแบบ ภาพดว้ ยเทคนิคการพิมพ์และลีลาของเด้นคลา้ ยตับการพิมพ์ภาพของญี่ปน็ การ'ออกแบบลธ่ื ล่ิงพิมพเ์ พอ่ี ผลิตงานโฆษณา ภาพประกอบ 11 ตัวอย่างผลงานการออกแบบโปสเตอร{์ ก'อรแอโ)ที่บรรยายชีวิตยามราตรีในฝรง่ั เศส ของเอนรี่ ทูลูสโลเทรค (|-16กโ!10น10น86-แ8บ1;โ60) ผลงานน้ี ขี ่ อVโแปี ค.ศ. 1893 ทีมา : [าอ!ว://6ก.ฬ่๒เว6(:แล.0โ9/ผ!๒/ แ6ทท^่ 10น10นรธ-แลบ1โ60 แนวทางการสร้างงานแบบ /ฬ: Iง๐^^Vธ2เ^^เปน็ จุดสำคญั ของการพฒั นาทาง ศลิ ปะท่เี น้นการรกั ษาดลุ ยภาพระหวา่ งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและ ศลิ ปะในอดตี โดยการใช้รปู ทรงของธรรมชาตแิ ละลวยลายทว่ี นไปมาหรอื เก่ียวพนั กนั อยา่ งตอ่ เนือ่ งทแ่ี สดงถึงความออ่ นชอ้ ย อย่างไรก็ตาม ในช่วงต้นศตวรรษท่ี 20 ^ ]^0^^V6ล11กลบั ไมไ่ ต้รับความนยิ มเหมือนก่อน เนอื่ งจากมีความเคล่ือนไหวของศิลปิน กลุ่มตา่ งๆ เชน่ กล่มุ ศิวบสิ ต้ (0ษ๖!รเ) กล่มุ อนาคตนิยม (?นณ!18เ) กลมุ่ ดาดา (อ&ปสเธ!) กล่มุ เหนือจรงิ หรือเซอร์เรยี ลสิ ต์ (ธ11ฑ:ธลแรเ;) และกลมุ่ ลัทธเิ ต้าโครงแบบรัสเซีย (1111551311^01181!แ^11V^รเ) ซึง๋ กล่มุ ลัทธิเหล่านี ไตร้ บั อทิ ธพิ ลและแรงบนั ดาลใจจากความ รุนแรง ความสญู เสยี ความแรน้ แต้น ความวุ่นวาย และความแปรปรวนอันเกดิ จาก สงคราม การเมอื ง และสงั คม ผลจากแนวตดิ ในลทั ธติ า่ งๆ เหล่านีท้ ำใหก้ ารออกแบบ การออกแบบ^'อลิง่ พมิ พเ์ พ่ีอผลติ งานโฆษณา เปลีย่ นแนวทางตามไปด้วย โดยการเปลีย่ นแปลงอยา่ งหนง่ึ ไดแ้ ก่ การเกดิ สถาบันเบา แโาส์(6สฟ13นร) นำโดยวัลเทอร์ไกรปีอสุ ( ^ &แ61: 01-01)๒ร) ขึ้นทเ่ี มอื งไวมาร์ (^6111131)ในปี ค.ศ. 1919 สถาบนั แหง่ นี้ เน้นระบบการผลิตแบบอตุ สาหกรรมผนวกกบั ศลิ ปะ โดยแกใหผ้ เู้ รืยนทีม่ ีความนิยมในศลิ ปะควบค่กับความสามารถในการเปน็ นัก ออกแบบอตุ สาหกรรมได้พร้อมกนั ดังบัน อิทธิพล่ ของลทั ธิอนาคตนิยม (?นณฑร่ 0 และ ลัทธิเดา้ โครง (001181X1101๒18111) จงึ เป็นพนื ฐานหลกั ของการเรยี นการสอน ทั้งนี้ ผลงาน ที่เกิดข้นึ ด้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย และการหลีกเลยี่ งความส้นิ เปลืองด้านแรงงาน เวลา และวสั ดุบนพืนฐานของความมีเหตุผล นอกจากนี้ สถาบนั เบาเฮ้าส์ ยังพัฒนาการ พิมพ์ในรูปแบบใหม่นำโดย ลสิ ชิตกี (01รร11ร1ะ^^) ชาวรัสเซีย และโมโฮลี นากี (1ฬ01101}^ ๒ V) ชาวฮงั การี รูปแบบใหม่นม้ี ีการนำภาพถา่ ยมาเป็นภาพประกอบแทนภาพเขยี น จากแนวทางการสรา้ งงานออกแบบในระยะนี้ ทำใหศ้ ลิ ปะการออกแบบมีพฒั นาการ อย่างตอ่ เนึ่อง จนกระทง้ั เกิดแนวทางการออกแบบมมี าตรฐานทเ่ี นน้ ความสะอาด ความ เรยี บง่าย และสอดคลัองกับประโยชน์ใช้สอยอย่างเต็มที่ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950) การออกแบบการพมิ พ์ไดพ้ ฒั นาไปสู่การ ใช้รปู แบบตัวพิมพส์ ากล (11116]ๆ3^ฝ00^1 1}^0®1ย1)๒0ส1 ร๒๒) ซ่งึ หมายถงึ การนำ ตัวอกั ษรหรือตัวพิมพ์มาเปน็ องค์ประกอบหลกั ในการออกแบบ ทั้งน้ี ในเวลาไมน่ าน นกั ได้เกดิ การออกแบบตัวอกั ษรใหมแ่ ละเปน็ ทนี่ ยิ มมาก คอื ตัวอกั ษรแบบยูนิเวริ ์ส (ซ!!๒6)โ86) รวมทง้ั การออกแบบยงั มกี ารจัดอารต์ เวิร์ค (๒X1^0X10) ทม่ี ีการใชต้ ารางกรดิ (0X1^) เพอื่ ชว่ ยในการจัดวางภาพและจดั ข้อความให้มคี วามประณีตมากข้ึน รวมทัง้ นำ หลักการทางศิลปะมาใชด้ ว้ ย เช่น การจัดภาพสมดุลแบบอสมมาตร (^8}ใ1ข1เธ1ฝ031 ธ๒&!!06) และการจดั ขอ้ ความที่มีทัง้ การจดั เสมอหนา้ และเสมอหลงั เพอื่ หลกี เลยี่ งความ จำเจและดึงดูดความสนใจได้มากข้นึ การออกแบบสอ่ื สิ'งพิมพ์เพอ่ื ผลิตงานโฆษณา ฒฒฒ ฒ ในขณะดียวกัน ระหว่างทกี่ ารออกแบบมพี ัฒนาการอยา่ งต่อเน่ือง ไดเ้ กิดการ เปลี่ยนแปลงประการสำคัญ คอื ศนู ยก์ ลางทางศลิ ปกรรมของโลกท่เี คยยิง่ ใหญใ่ นทวีป ยโุ รป ไดเ้ ปลย่ี นไปอยู่ที่อเมรกิ า โดยศลิ ปนิ รวมทง้ั นักออกแบบชาวอเมรกิ ันได้ พัฒนาการสรา้ งสรรคง์ านศิลปะและการออกแบบให้มรี ปู แบบเฉพาะตัวท่เี นน้ ความ แปลกใหมแ่ ละกลา้ แสดงออกมากขน้ึ รวมทง้ั มกี ารคิดดน้ วิธกี ารและใชส้ ื่อวัสดท่ี หลากหลายมากข^ึน เช,่น ใช้การประทบั รอยดIว้ Iยว.ัสIดุท. ไม,ใ่1ช,่เพโียงพ,กู่1นั ชI งอาจเปI น็ เศ.ษ1ไ1ม้ หรือมอื แม้กระท่งั มีการใชว้ ิธีการฉืก ติด ทบั ช้อน ปะ หรอื อ่ืนๆ ที่หลดุ จากกรอบของ การใชเ้ พียงพู่กนั ระบายสี ซึง่ แนวคดิ ใหมน่ ีไ้ ด้รับการขนานนามว่าเป็น รปู แบบแนวคดิ ทางการออกแบบเพื่อแสดงพลงั อารมณ์ของอเมรกิ ัน (1ใ1ธ 5011001 0ก0ณ1)1110 5x1)1633101115111) ในเวลาเดียวกนั นักออกแบบลัทธปิ ระชานยิ ม (?อ1) ^ ) ได้สร้าง ผลงานท่สี ะทอั นให้เห็นถงึ ปญิ หาของสังคมและวิถีชวี ิตของชาวอเมริกันให้เหน็ ผา่ น ผลงานศิลปะ โดยมีแอนด้ี วอรฮ้ อค์ (7บ1(17 V 1:1101) เป็นศิลปนิ ที่โดดเดน่ ในลทั ธิ ตังกลา่ วแนวทางการสรา้ งงานแบบ ?01) ^ เช่น ปญี หาทางจิต การใชย้ าเสพตดิ การ เรียกร้องสทิ ธิสตรี ค่านยิ มกลุ่มบรโิ ภคนยิ ม ภาพดาราที่โด่งตังและตกเป็นข่าว เป็นดน้ ท้งั นี้ การออกแบบในชว่ งปี พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) มักนำเสนอรูปแบบของสัญลกั ษณ์ และคำขวัญเพือ่ สังคมอยา่ งมาก โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงนำเสนอในสง่ิ พิมพ์ประเภทโปสเตอร์ เพอ่ื โฆษณาประชาสมั พันธ์เหตกุ ารณท์ เ่ี กิดข้ึนในขณะทั้นหรือสนิ คา้ ที่ดอ้ งการนำเสนอ ไปส่กู ลมุ่ เป้าหมาย ท้ังนห้ี ากสังเกตเชิงเปรยี บเทยี บ จะพบว่า ผลงานการออกแบบใน ลกั ษณะ ?0เ) ^ จะมลี ักษณะคล้ายภาพถ่ายของยุคปจี จบุ ันท่ีมีการตกแตง่ ปรับสใี ห้จัด จ้านสดใสซึง่ หากมองในอีกมมุ หนืง่ งานลักษณะ ?01) ^ ในยคุ กอ่ นน้นั ยงั คงปรากฎ อยแู่ ละถูกนำมาใช้ในงานสอื่ สง่ิ พิมพใ์ นโลกปีจชบุ นั การออกแบบสือสิงพิมพ์เพ่อื ผลิตงานโฆษณา ภาพประกอบ า2 ภาพแอนดี้ วอร์ฮอล์ (/\\ท(:17ผลโเา0เ) พลิ ปินที่โดดเดน่ ในลทั ธปิ ระชานิยม {เะ'0[ว /^โ1) และผลงานภาพพิมพํซลิ ค์สกรีนรูปไมเคลิ แจ๊คลัน ทีว่ อร์ฮอล์สรา้ งขนึ้ ปี ค.ศ. 1984 ทมี า : 1า1เ|ว:77ผผผ.900918 00.11า71๓91ลทป1ก9?อุ“ ลก(:1^'ผลโก01&เ๓ฐนโเ ในช่วงเวลาเดยี วกัน เกดิ ความเคลอนไหวทางการออกแบบยคุ หลงั สมยั ใหม่ (?0ร!\"]ฬอลัธฒ 0681^11) โดยมีการรอ้ื ส์นรูปแบบการพมิ พ์สากลมาใชใ้ หมอ่ กี ครั้ง นอกจากนี การออกแบบ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การออกแบบส่งิ พมิ พ์นน้ั ไดข้ ยายขอบเขต ออกไปนอกเหนือจากวงการการพิมพ์ โดยการออกแบบการพิมพไ์ ดเ้ ช้าไปเกี่ยวชอ้ ง กระบวนการผลติ และออกแบบของศลิ ปะสาขาอื่นดว้ ย เชน่ ภาพยนตร์ การถา่ ยภาพ โทรทัศน์ เป็นดน้ ทงั นี เนือ่ งจากการออกแบบส่งิ พมิ พ์สามารถช่วยให้การผลิตสือ่ ตา่ งๆ เกดิ ประสิทธภิ าพในการสื่อสารกับกลุ่มเปาหมาย และสามารถกระด้นการรบั ร้ขู องผ้ชู ม ไดม้ ากขนึ กว่าการใชศ้ ลิ ปะสาขาเดยี ว ผนวกกบั เปน็ ช่วงเวลาทเ่ี ร่ิมมกี ารแข่งขนั ด้าน การคา้ การอุตสาหกรรมมากขนึ้ ดง้ นน้ั การโฆษณาเพือ่ ชักชวนใหผ้ ูค้ นสนใจสนิ ค้าหรือ บริการขององค์กรธรุ กิจในโลกยุคใหม่นันจึงเปน็ เร่ืองสำคัญ น้งั น้ั การโฆษณาดังกล่าว การออกแบบสือส'ิ งพมิ พ์เพอื่ ผลิตงานโฆษณา ย่อมต้องอาศัยการออกแบบซงึ่ รวมทงั การผนวกการออกแบบเข้าไปในศลิ ปะสาขาต่างๆ ดว้ ย ใ!^& ?0รใ^ 0 0 ๓ เแะ&0 1 ส ต ้® ผิ^!!(ส' 11^101^ ฟ ^ิ 1^ ภาพประฺ กอุ บ 13 ตัวอยา่ งการออกแบบลิงพิมพ์ยคุ หลังสมย้ ใหม่ (เ^081-แ0(ะเ6โก อ6รเ9ท} ทีเ่ นน้ สงิ่ ซง่ึ อยตู่ ่างขว้ั กนแต่สามารถอยู่รว่ มกนั ได้ ที่มา : Iา11[ว://VVผผ.^009!6.^0.1Iา/I๓9I^Iา^^^ก9?น-I^05^-^0^^6๓ อ6รเ9ท&เ๓ 9 บโเ จนกระทงถงึ ยุค!]จจุบนั การออกแบบมคี วามแปลกใหมแ่ ละหลากหลายมาก ข้ึน เนื่องจากเป็นยุคที่มเี ทคโนโลยีก้าวหบาั ไปมาก รวมท้ังความตอ้ งการความเชือ่ และ พฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคก็เปลย่ี นแปลงไปจากเดิมมากเช่นกนั ดังท้ัน การออกแบบจึง ต้องคำนึงถงึ ก้าวหน้าและความเปล่ียนแปลงท่ีเกดิ ขึน้ ตลอดเวลาด้วยเชน่ กนั ทัง้ นเ้ี พ๋อึ ให้ ผลงานการออกแบบสามารถตอบสนองความตอ้ งการของมนุษยใ์ นโลก!เจจุบัน และ เพือ่ ให้เปน็ แบบอย่างทีน่ า่ ศกึ ษาตอ่ ไปในอนาคต การออกแบบ^อสิงพมิ พเ์ พื่อผสิตงานโฆษณา ะ:::ะ’ -:;ะ ป ฒี ฒ ^: เะเะ ะ: :ะ ะ: 0 เข ^'3 ญ 2 IIะะ ะ' 0 3 ช \" 1 ะ:ะ:!::::3 ความส์ๅคญรเอุง่การุออกแษุบ การออกแบบท่ดี ีควรประกอบดว้ ยความสำคญั ดังน้ี การออกแบบท่ีดีจะชว่ ยพัฒ นาระบบสํอสารใหม้ ีประสิทธภิ าพมากขนึ้ เนอื่ งจากในระบบการสอ่ื สารนน้ี จะดอ้ งมี “ส่อื กลาง” ที่นำเสนอฃอ้ ยูลขา่ วสารไปสู่ ผ้ชู ม ผู้พงิ หรือผู้บรโิ ภค และการออกแบบนเี้ อง กจ็ ะเป็นกลวิธหี นื่งทีท่ ำให้ส่อื ท่วี า่ นั้นมี ความสมบรู ณแ์ ละสื่อสารได้อย่างมีประสิทธภิ าพ การออกแบบทดี่ จี ะชว่ ยให้ระบบการถ่ายทอดขอ้ มูลข่าวสารมปี ระสทิ ธิภาพ มากขนึ้ เน่ืองจากการออกแบบท่ดี ี ทำใหก้ ารสือ่ สารมงุ่ ตรงไปยงั เปา็ หมาย มีความฉับไว และมีเนอื้ หาสาระท่ีชดั เจนรดั กุม โดยในกระบวนการออกแบบนน้ั จะต้องศึกษาข้อมลู เกย่ี วคับประเภทของสื่อทเ่ี หมาะสม ลักษณะและศักยภาพของกลุ่มเป้าหมาย รวมทัง้ กลวธิ กี ารนำเสนอ เพ่อื นำทัง้ หมดทีก่ ล่าวมานี้ไปสกู่ ารปฏบิ ัตกิ ารในการออกแบบ ดังนน้ั หากเปน็ ผลงานออกแบบที่เสร็จสมบูรณแ์ ละมีคุณภาพแล้ว กจ็ ะเปน็ สือ่ ท่ีมคี วาม ครอบคลมุ ข้อความทีด่ อ้ งการส่อื สารอย่างรดั กุมชัดเจน รวมทง้ั ตรงกลมุ่ เปา้ หมาย และ ถูกนำเสนอสู่สายตาของกลุ่มเป้าหมายอยา่ งรวดเรว็ การออกแบบที่ดจี ะช่วยสนับสมุนการสรา้ งคา่ นิยมทางความงาม ค่านยิ มทาง ความงามในทน่ี ี หมายถงึ การมที รรศนะเก่ียวคบั ความงามท่ีควรจะเปน็ หรือควรเกดิ จาก การสร้างสรรคด์ ว้ ยความสามารถของผสู้ ร้างทนี่ ำองค์ความรเู ก่ียวคบั ความงามซง่ึ หมายถึงสนุ ทรียศาสตร์ มาผนวกคับศาสตรท์ างศิลปะ และการออกแบบ หรืออนื่ ๆ ท่ีจะ เป็นประโยชนต์ ่อการสร้างสรรคค์ วามงามในรปู แบบของการออกแบบส่อื ต่างๆ เนอื่ งจากการรับร้ฃู องมมุษยบ์ นั ส่วนหนื่งเกิดจากการกระตน้ โดยสิ่งเรา้ ซงึ่ สง่ิ เร้าทว่ี ่าน้ี ก็คือการนำเสนอ หากมีความสวยงาม ดึงดูดใจ หรือน่าสนใจ ก็จะทำให้ผูช้ มหรือ การออกแบบลื่อสิง่ พิมพเ์ พอื่ ผลิตงานโฆษณา ผ้บู รโิ ภคเกดิ การรบั รไู ดส้ ีกว่าเม่ือเปรยี บเทยี บกับส่งิ ทีไ่ ม่นา่ สนใจ ด้วยเหตนุ ี การ ออกแบบจงึ เป็นปีจจัยสำคญั ท่ดี ้องนำมาใช้เพ่ือทำให้เกดิ ผลงานทีม่ ีความงามดงึ ดดู ใจจน เป็นที่ยอมรับ และนำไปสกู่ ารสรา้ งคา่ นยิ มทางความงามได้ในทส่ี ุด การออกแบบที่ดจี ะทำใหผ้ ู้รบั ข่าวสารช้อยลู เกดิ อนิ ตนภาพไดด้ ี เน่อื งจากการ ออกแบบนัน จะนำแนวคิดเก่ียวกบั “ความงาม” ตามแนวทางของสนุ ทรียศาสตร์ และ องค์ความรูเกยี่ วกบั การสรา้ งสรรคง์ านศิลปะเชา้ ไปผนวกกับวิธีการออกแบบ ดงั นั้น ผลงานทีเ่ กิดฃึน นอกจากจะสามารถทำให้การส่อื สารมปี ระสทิ ธภิ าพแลว้ ยังทำใหผ้ ชู้ ม หรอื ผบู้ ริโภค เกดิ จินตนาการเกยี่ วกับสงิ่ ที่นำเสนอบนงานออกแบบและทำให้รับรถ้ งึ ความคิดทางการสร้างสรรคส์ ิง่ ใหมๆ่ อันเกิดจากการใช้องคค์ วามร้ทงั้ สามส่วนมา ประสานกันจนเกิดผลงานการออกแบบที่สีน่าสนใจใครต่ ิดตาม การออกแบบท่สี จี ะชว่ ยสนับสนุนความก้าวหน้าทางธุรกิจและอุตสาหกรรม ในฐานะท่กี ารออกแบบเปน็ กลวิธที ่ที ำให้ส่อื ชนิดต่างๆ เชน่ สอ่ื ส่งิ พมิ พ์ สามารถดงึ ดดู ความสนใจของกลมุ่ เฟ้าหมายอันจะนำไปสูพ่ ฤติกรรมการบริโภคตอ่ ไป นอกจากนี้การออกแบบยงั มีความสำคัญในแง'ของคุณค่าท่มี ีตอ่ มนษุ ย์ ดงั นี้ การออกแบบมคี ุณคา่ ตอ่ การดำรงชีวติ ในชวี ิตประจำวัน แม้ว่าโดยท่ัวไปแลว้ จะไม่สนใจงานออกแบบรอบๆ ตวั มากนัก แตล่ ้าหากส่ิงตา่ งๆ รอบตัว ไม่ได้รับการ ออกแบบ ปลอ่ ยใหม้ สี ภาพไม่นา่ ดู หรือไมน่ า่ ใช้สอย กส็ ามารถเกิดผลสะทอ้ นในทาง ลบเกยี่ วกบั คนในสังคมนั้นได้ โดยอาจสะทอ้ นได้วา่ คนในสงั คมน้ันมีความร้สกึ นึกคิด ทีห่ ยาบกระดา้ ง หรอื สะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ ในสงั คมน้นั มนี ักออกแบบที่ไรแ้ มือ และจะมี ผลต่อคนในสังคมโดยรวมที่จะรูส้ ึกหดหู่เนอ่ื งจากไม่ไดม้ องหรอื สมั ผัสความงามใดๆ ด้วยเหตุนิ การออกแบบจึงมีความสำคญั ทง้ นิ คณุ ค่าของการออกแบบกับการดำรงชวี ติ นัน ประกอบดว้ ยคุณคา่ ทางกาย คุณคา่ ทางอารมณ์ความรสู้ ึก และคณุ ค่าทางทัศนคติ การออกแบบสือสงิ พมิ พเ์ พ่อื ผลติ งานโฆษณา โดยแต่ละสว่ นมีสาระสำสัญทีส่ รุปไดด้ ังนี คุณค่าทางกาย หมายถึง คณุ คา่ ที่มีประโยชน์ ใช้สอยต่อชีวิตประจำวนั ของมนษุ ย์โดยตรง เชน่ เก้าอรื้ ปู แบบต่างๆ ท่ีมีประโยชนใ์ น การใช้นั่งเพ่ือทำงาน เพอื่ พักผ่อน หรือเพ่อื ตกแต่งสถานที่ คุณคา่ ทางอารมณค์ วามรสู้ ึก เปน็ คณุ ค่าทเ่ี นน้ ความหอใจ ความชอบ ความสุขใจ หรอื อ่นื ๆ ทีไ่ ม่มีผลเกย่ี วกับ ประโยชนใ์ ช้สอยโดยตรง เช่น งานออกแบบเครื่องเรอื นหรอื เฟอร์นเิ จอรพ์ งั นี การ ออกแบบท่มี คี ุณคา่ ทางอารมณค์ วามรสู้ ึกนน้ั อาจแอบแฝงในงานออกแบบทเ่ี น้นคณุ ค่า ทางกายดว้ ยเช่นกัน เชน่ การออกแบบเส้ือผ้า การออกทรงผม การออกแบบการระบาย สเี ล็บมือ เป็นดน้ คุณคา่ ทางทศั นคติ เปน็ การออกแบบที่เนน้ การสร้างทศั นคติอย่างใด อยา่ งหน๋งึ ใหเ้ กดิ แก่ผู้หบเห็น เชน่ การออกแบบอนุสาวรยี ท์ ี่สรา้ งทศั นคตใิ นการรักชาติ ความกลา้ หาญ ความดี เป็นดน้ การออกแบบมีคุณคา่ ตอ่ สงั คม การออกแบบ เปน็ ความพยายามของมนุษย์ท่ี ด้องการสร้างสรรคส์ งิ่ ใหมเ่ พอ่ื ใช้ประโยชนท์ งั ในแง'การใช้สอยทางกายและเพ่อื คณุ คา่ ทางความรู้สกึ นึกคิด น้งั น้ี การสรา้ งสรรคด์ ังกล่าวย่อมมเี ป็าหมายเพื่อสง่ิ ท่ีคกี ว่าและ เหมาะสมกว่าทงั ในแง่ของการเลือกวัสดอุ ุปกรณ์ในการผลิต กระบวนการผลิต สภาพ ทางเศรษฐกจิ และสังคม ประโยชน์ใชส้ อย การสรา้ งความนยิ มชมชอบ รวมนงั้ คุณคา่ ทางความงาม โดยในทีส่ ุดแล้วผลของการสรา้ งสรรค์ดังกล่าวจะเปน็ ปีจจยั หนึง๋ ที่ นำไปสกุ ารดำรงชวี ิตทด่ี ีในสังคม นอกจากน้ี การออกแบบ ยงั นบั วา่ เปน็ สิอ่ กลางความสัมพนั ธร์ ะหว่างมนษุ ย์ ตอ่ มนุษย์ และระหวา่ งมนษุ ยก์ ับวัฅลุอกี ด้วย จะเหน็ ได้จากงานออกแบบมีคุณค่าต่อ มนษุ ย์ตงั้ แต่สมัยหิน ไม่วา่ จะเป็นการออกแบบเครอ่ื งแตง่ กาย การออกแบบเคร่อื งมอื ตา่ งๆ เพ่ือล่าสตั ว์ เปน็ ดน้ จนป้จจุบนั งานออกแบบยงั คงเปน็ ส่อิ กลางทม่ี ีคณุ ค่า ซึง่ ตราบใดที่มนษุ ย์ยงั มคี วามด้องการด้านวตั ถุหรือความสะดวกสบาย การออกแบบกย็ ิง๋ จะ มีคุณค่ามากขึน้ ตามไปดว้ ย ' การออกแบบสือ่ สงิ พมิ พเ์ พ'่ื อผลติ งานโฆษณา เ::;: [ ฐ ฒ เ ช ^ 1::' ^^ 2 0 ® เ^; เ:า 0 [4 โ;: 3 โ:โ ;:ะ ? ^ ฒ ฒ โ:-; โ;:^ 3: เ;’ เ:.: น น-: โๆ อย่างไรกต็ าม หากตอ้ งการใหก้ ารออกแบบเอือประโยชนต์ ่อสังคมอยา่ ง แท้จริง ก็ต้องระมดั ระวงั การใชภ้ าษาหรอื ภาพท่ชี กั นำความรสู้ กึ นกึ คดิ ไปในทางลบ เช่น การยั่วยุให้เคดิ ความขัดแยง้ หรอื บิดเบือนความจรงิ ในทางตรงกนั ชา้ ม ควรเน์นการ ออกแบบท่ีนำไปสคู่ วามดงี าม เช่น การกระตนุ้ ให้สังคมตระหนักถงึ ความสำคญั ของการ ชว่ ยเหลือเพือ่ มนุษยต์ ้วยกนั การสรา้ งความรว่ มมือ การสร้างความสามคั คี การรกั ษา วัฒนธรรม เปน็ ต้น ประเภทฃอใ3ง่าน ^ การออกแบบ แบง่ เปน็ 3 ประเภทหลักๆ คงั นี้ งานออกแบบเพ่ือการสอ่ื สาร หรือเรยี กอกี อย่างหนง๋ึ วา่ การออกแบบส่ือสาร (001ฑ1ฑนฑ10ย!1011 1)681^) เป็นผลงานการออกแบบที่เนน้ การส่อื สารระหว่างกนั ดว้ ย ภาษาและภาพท่ีสามารถรับรู้ร่วมกนั ไตเ้ ป็นอยา่ งดีโดยไมจ่ ำกัดเฉพาะการออกแบบ สง่ิ พิมพ์เพยี งอย่างเดียว ทงั น้ี การออกแบบเพื่อการสื่อสารท่ที ำให้เคิดความรคู้ วามเช้าใจ ระหว่างกนั หรือเพ่ือโน้มนา้ ว ชกั ชวน และเรียกรอ้ ง ความสนใจจากกล่มุ ผู้บรโิ ภคน้นี ยกตวั อย่างเชน่ การออกแบบแผ่นปะปีดโฆษณาหรอื โปสเตอร้ หนงั สอื พิมพ์ นิตยสาร ใบปลิว งานโฆษณาทง้ั ทางสง่ิ พมิ พ์ วทิ ยุ โทรทศั น์ หรือแม้แต่งานโฆษณาชา้ งรถประจำ ทาง งานโฆษณาบริเวณบาิ ยรถเมล์ งานโฆษณาบนปา้ ยขนาดใหญ่ท่ีปรากฎบนอาคาร หรอื ริมทางต่วน เป็นต้น ท้งั น้ี การออกแบบเพื่อการสอ่ื สารตอ้ งอาศยั ความรเู้ ฉพาะ ตา้ น ซ่ึงนอกจากต้องเรียนรูเ้ รอื่ งคณุ ค่าทางความงามตามแนวคดิ ของสนุ ทรยี ศาสตร์ องล์ ความรู้ทางศิลปะ และการออกแบบแลว้ ยงั ตอ้ งเรยี นรูเ้ กย่ี วกบั จิตวิทยา เชน่ จติ วิทยา ผบู้ รโิ ภค จติ วทิ ยาการเรียนรูจ้ ติ วทิ ยาชุมชน จติ วิทยาเกย่ี วกับคนในวัยต่างๆ เป็นต้น รวมท้ังบิจจัยตา่ งๆ เกยี่ วกับมนุษย์ตามแนวทางของสงั คมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เชน่ ช้อกำหนดของศาสนาตา่ งๆ ที่สัมพนร์กับพฤติกรรมการบริโภค วัฒนธรรมของแตล่ ะ การออกแบบสอี่ สิง่ พิมพเ์ พอ่ื ผลิตงานโฆษณา ทอ้ งถิ่นท่มี ีผลตอ่ การตัดสนิ ใจในการซือและการบรโิ ภคทแ่ี ตกต่างกนั ของคนท้องถน๋ื ตา่ งๆ สภาพถ่นิ ทอ่ี ยู่ของคนในคูมิภาคต่างๆ ท่ีทำให้คนในพืน้ ทต่ี า่ งๆ เกิดความจำเปน็ ในการใชผ้ ลิตกัณฑ์หรอื สินคา้ ท่ีตา่ งกนั เปน็ ตนั งานออกแบบเพือ่ ประโยชน์ใชส้ อย (?1แ10ส011ฟ 0681^11) หมายถึง การ ออกแบบผลิตกัณฑ์ (?10(1110เ 0681^11) ทีเ่ นน้ ประโยชนใ์ ชส้ อยหรือประโยชนท์ างกาย เปน็ หลกั โดยจะผนวกกับการใช้คุณค่าทางความงามเป็น!เจจย้ ที่ทำใหง้ านออกแบบ สวยงามน่าสนใจควบคู่กับประโยชนใ์ ช้สอย ในปจ็ จุบนั การออกแบบมีความทนั สมัย และซบั ซอ้ นมากฃึน เนอ่ื งจากการเกิดเทคโนโลยแี ละวิทยาการต่างๆ ท่ีมีมากมายซ่งึ นัก ออกแบบตัองตดิ ตามและเรียน! แล้วนำมาผนวกกับการออกแบบทท่ี ันสมยั และเกดิ ประโยชน์สงู สุดตามความต้องการของผู้บริโภค ภาพประกอบ 14 ตวั อย่างงานออกแบบแก้วน้ําทเ่ี น้นประโยชนใ์ สอยหรือประโยซน์ทางกาย เปน็ หลกั โดยผนวกกบั การฬคฺณค่าทางความงามในการออกแบบดว้ ย การออกแบบสอ่ื ส'ิ งพิมพ์เพื่อผลติ งานโฆษณา งานออกแบบเพ่ือคณุ คา่ ทางความงาม ถือวา่ เปึนการออกแบบทางท้ศนศิคฟ้ (VIรน^! ^ วธร180) ทม่ี เี ปา้ หมายเฉพาะ โดยไม่เนน้ คณุ คา่ ทางกายหรือคณุ ค่าด้าน ประโยชนใ์ ชส้ อย แสจ่ ะเน้นใหผ้ ลงานการออกแบบสามารถเปน็ สื่อกลางทท่ี ำใหผู้ชม เกดิ ความชน่ื ชมในความงามและความนกึ คดิ ท่ีแฝงในผลงาน หรอื เนน้ ผลทางอารมณ์ รวมทังเนน้ คณุ คา่ ทางทศั นคติ และความรสู้ ึกสัมผสั ทางความงาม เชน่ การสร้างงาน จิตรกรรม ประตมิ ากรรม ภาพพิมพ์’ซึง่ ผลจากการชนื่ ชมนน้ั อาจทำให้ผชู้ มเกิดความสุข ใจ ผ่อนคลาย เบกิ บานใจ ประทบั ใจ เป็นด้น ภาพประกอบ 15 ตวั อย่างการออกแบบทางทศั นลิลป็ (VIรนอเ อ6ร19ท) ท่ไี มเ่ นน้ คุณคา่ ทางกาย ห่รอื คุณคา่ ดา้ นประฺ โยชนใ์ ช้สอยเปน็ หลัก แตจ่ ะเนน้ ใหผ้ ลงานการออกแบบสามารถเปน็ สอ่ื กลางที่ทำ ให้ผู้ซมเกดิ ความชื่นซมในความงาม {ผลงานจติ รกรรมสอี ะคริลิก ขนาด 30x25 ช.ม. ปี พ.ศ. 2552 จ!'?เงฟกิ นลั ฑ่งกฆคเี การดอกแบบเอสงิ พิมพ์เพอื่ ผลิตงานโฆษณา อยา่ งไรกต็ าม สำหรับงานโฆษณานัน มคี วามเกี่ยวขอ้ งกบั การออกแบบเพอ่ื การสือ่ สาร มากกว่าการออกแบบเพ่อื ประโยชน์ใช้สอย และการออกแบบเพอื่ คณุ ค่าทาง ความงาม เน่อื งจากงานโฆษณามเี ป็าหมายหลักเพอ่ื การสอ่ื สารขอ้ มูลเกี่ยวกับสินคาหรือ บริการต่างๆ ไปยังกล่มุ เปา็ หมายอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ส่วนการออกแบบเพ่ือประโยชน์ ใช้สอย จะมบี ทบาทสำคญั ในข้ันตอนการสรา้ งสรรค์ผลติ ภณั ฑ์ทเ่ี ป็นสนิ ค้าหรอื บริการ เพอื่ ใหผ้ ลติ ภณั ฑ ์นนั้ มคี ุณ ค่าดา้ นประโยชน์ใช้สอยท่ีตรงตามความต้องการของ กลมุ่ เป้าหมายมากท่ีสดุ และเมอื่ ผลติ ภณั ฑ์หนงื่ ๆ ไตร้ บั การออกแบบและเสร็จส้ิน กระบวนการผลติ แล้ว ผลิตภณั ฑ์ ์ดังกลา่ วจะตอ้ งอาศยั กิจกรรมตา้ นการโฆษณาเป็น ลำดับต่อไปเพอ่ื สร้างช่องทางการสอ่ื สารเก่ยี วกบั ขอ้ มลู คณุ สมบัติของผลิตภัณฑน์ ัน้ ส่งไปกล่มุ เป้าหมายอยา่ งท่วั ถึงและรวดเรว็ ในขน้ั ตอนนจี้ งึ เป็นหน้าทีข่ องการ ออกแบบเพือ่ การสอ่ื สาร ส่วนการออกแบบเพ่ือคณุ คา่ ทางความงามนน้ั มกั มีบทบาท สำคัญสำหรบั งานการสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะท่มี ูง่ นำเสนอผลงานสุผ่ ้ชู มเพอ่ื สร้าง ความสุขทางใจหรือความประทับใจในเชงิ สุนทรียศาสตร์ แตน่ ้ังน้ี ผู้ออกแบบสามารถ นำแนวทางการออกแบบเพอ่ื ประโยชนใ์ ชส้ อยผสมผสานกับการออกแบบเพือ่ คณุ ค่า ทางความงามได้น้ังนี้เพ่อื ใหเ้ กิดผลิตภณั ฑ์ทม่ี ีนัง้ คณุ ค่าดา้ นประโยชนใ์ ช้สอยและคุณคา่ ทางความงามควบคูก่ ันไป แต่อยา่ งไรกต็ าม เมอ่ื การผลติ ผลติ ภณั ฑ์ทม่ี ีทังสองคณุ ค่า ดังกลา่ วเสร็จสิ้นและมกี ารเตรียมการนำเสนอผลิตภัณฑ์น้นั ออกส่ตู ลาด ในขนั้ ตอนนี้ การออกแบบเพื่อการส่อื สาร กจ็ ะกลบั มามีบทบาทสำกัญอกี ครงั เน่ืองจากผลิตภัณฑท์ ี่ ตอ้ งการนำเสนอเขา้ สตู่ ลาดนนั้ ตอ้ งทำการโฆษณานนั่ เอง บทสรุป ตน้ กำเนิดของการออกแบบสบื เน่อื งจากความต้องการของมนษุ ย์ในการ ปรับตัวให้เช้ากับธรรมชาติทตี่ นต้องพื่งพา ต่อมา มนุษยต์ อ้ งปรบั เปล่ียนส่งื ที่เคยมีอยู่ เติมเพอ่ื สรา้ งสรรคส์ ่ิงใหม่เพ่อื การดำรงชีวติ ในสังคมและสง้ิ แวดลอ้ มทเี่ ปลย่ี นไปตาม การออกแบบสอื ส่งิ พิมพเ์ พ่อื ผลิตงานโฆษณา กาลเวลา จะเหน็ ไดวา่ การออกแบบมีความสำคญั ต่อมนษุ ย์เพียงใด โดยใน!เจจุบัน การออกแบบเปน็ วิธีการอย่างหนึง่ ที่ทำให'็ มนุษย์ได้ใชผ้ ลิตภณั ฑส์ ำหรบั การดำรงชวี ติ มี ความสะดวกสบายมากขึน้ เนอ่ึ งจากผลติ ภัณ ฑน์ ้ันๆ ถกู ออกแบบใหม้ ีคุณ ค่าด้าน ประโยชนใ์ ชส้ อย นอกจากน้ี ยงั ทำให้มนุษย์เกดิ ความรูส้ กึ ทีด่ ีเมอไดพ้ บเห็นสิ่งรอบตัว หรอื สิง่ ของเครื่องใช้มคี วามสวยงามควบค่คบั ประโยชน์ใชส้ อย ซง่ึ ผลติ ภณั ฑเ์ หล่านั้น จะเป็นทร่ี บั รู้ฃองมนุษยได้ กด็ ้องอาศยั การโฆษณาซ่งึ ถอื ว่าเป็นกิจกรรมท่เี กย่ี วชอ้ งกับ การออกแบบเพอ่ื การสือ่ สารโดยตรง ตังน้ัน การออกแบบจงึ มีความสำคัญต่อการ ดำรงชวี ิตของมนุษยน์ ับตั้งแต่อดีตจนถงึ !เจจุบนั และจะมคี วามสำคัญต่อไปไนอนาคต ดว้ ยเช่นกนั ตัวอยา่ งผลงานการออกแบบที่มตี ง้ั คุณ ค่าทางความงามและคณุ คา่ ด้าน ประโยชนใ์ ชส้ อยทเี่ ราสามารถพบเหน็ ไดใ้ นโลกปจี ธบุ ัน เช่น การออกแบบส่ือสิ่งพิมพ์ ทเี่ ป็นใบปะปดิ โฆษณาหรอื โปสเลอร์ (?0ร!61') ของภาพยนตร์ไทยหลายเรอ่ื ง เช่น ตำนานสมเดจ็ พระนเรศวร ชวั่ ฟ้าดนิ สลาย นางนาก สุริโยทํย หรืออนื่ ๆ ทสี่ ามารถ ออกแบบไดง้ ดงามอันเกิดจากการเถือกภาพประกอบ ตวั อกั ษร และเทคนิคการถ่ายภาพ ท่ดี ี จนทำใหเ้ กดิ ผลงานโปสเตอร์ที่นำเสนอชอ้ มูลเกีย่ วกับภาพยนตร์เรื่องนนั้ ๆ ไดอ้ ยา่ ง ครบถว้ น ควบคคู่ ับนำเสนอภาพท่ีสวยงามจนเปน็ ท่ดี อ้ งการของนกั สะสมส่ือสิง่ พิมพ์ เกีย่ วคับภาพยนตร์ การออกแบบสื่อสิงพิมพ์เพื่อผลิตงานโฆษณา บทท่ี 2 หลักการออกแบบ การออกแบบท่ีนำไปสผู่ ลงานทส่ี วยงามและสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ไค' สงู สดุ นัน เกย่ี วขอ้ งกบั !]จจยั สำคัญหลายประการ ปจี จยั สำคัญประการหน๋งึ คอื การแก ปฏิบัตจิ ริงเพื่อทำการลอง แม้วา่ เปน็ การลองผิดลองถูกเพ่ือสรปุ บทเรยี นท่ีไดแ้ ละ นำไปใช้ในการสรา้ งงานการออกแบบท่ีสมบรู ณต์ อิ ไป ท่ีกลาวเชน่ นี้ กเ็ พราะการศึกษา เพยี งภาคทฤษฎีต่างๆ เพ ยี งอยา่ งเดียวน น้ั เป ็น เพ ียงการศกึ ษ าห าความรทู ี่เป น็ แนวความคดิ พืน้ ฐานและหลกั เกณฑท์ ี่นักทฤษฎี ผรู้ ้ และนกั ปฏิบตั ริ ุน่ กอ่ นไดจ้ ดบนั ทกึ และนำออกเผยแพร่สสู่ าธารณชนเท่าน้นั แตน่ ัง้ น้ี หากไมม่ ีการนำแนวความคดิ พน้ื ฐาน และหลักเกณฑต์ ่างๆ ไปประยกุ ตใ์ ชแ้ ละปฏิบตั ิจริง องคค์ วามรภู าคทฤษฎีทศ่ี ึกษามา นัน้ ก็จะไมส่ ามารถทำให้เกดิ ผลงานการออกแบบทเี่ ปน็ ประโยชน์กบั ตนเองและสังคม องค์ประกอบของการออกแบบ องค์ประกอบสำคัญสำหรับการออกแบบนน้ั เปน็ องค์ประกอบท่ีคล้ายคลงึ กับ องค์ประกอบพ้ืนฐานชองศิลปะที่สามารถมองเห็นด้วยตา อยา่ งไรกต็ าม องคป์ ระกอบ ของการออกแบบจะมลี ักษณะเฉพาะที่ทำใหผ้ ลงานการออกแบบมคี ุณคา่ ทางความงาม ควบคกู่ ับคุณคา่ ด้านประโยชน์ใช้สอยอยา่ งลงควั องคป์ ระกอบคงั กล่าว มีคงั นี จุด (ซอนํ จดุ ท่ีใช้ในการออกแบนัน เป็นได้ทงั ส่วนท่ีเลก็ ทสี่ ุดหรอื ส่วนที่มี ขนาดใหญใ่ นการออกแบบ ซงต่างจาก “ จุด ” ในองคป์ ระกอบพ้ืนฐานของศิลปะที่ หมายถึงสว่ นท่ีเลก็ ท่ีสุดเทา่ นน้ั การใช้“จุดในงานออกแบบ” จะทำใหผ้ ลงานมีความ การออกแบบล่ึอส่งิ พมิ พ์เพื่อผลติ งานโฆษณา โดดเด่นสะดุดตาเก่ยี วกับขนาดต่างๆ ขององค์ประกอบยอ่ ยภายในผลงานท่ีสามารถ สรา้ งความดึงดดู ใจได นอกจากนี ในการออกแบบสามมิติ “ จดุ ” อาจมีปริมาตรได้ เชน่ กัน เช น่ “ จ ุด ” ท่ีใชใ้ นงานประตมิ ากรรมสมยั ใหมใ่ นลักษณะรูปปีนทรงกลมท่ี สามารถมองเห็นไดร้ อบดา้ น เลนั (บ1116) เลนั ท่ใี ชใ้ นการออกแบบ จะเป็นองค์ประกอบที่ไมจ่ ำกดั ขอบเขต และมอี สิ ระท้งั ในความยาว ทศิ ทาง หรือขนาดของเลนั ซึ่งด่างจาก “เลันทีเ่ ปีน องคป์ ระกอบพนื ฐานของศลิ ปะ” และ “เสนั ในการเขียนแบบ” โดยเสนั ทีเ่ ป็น องค์ประกอบพนื ฐานของศลิ ปะ เน้นว่า เสัน คือ ธุดท่เี รียงตอ่ กันโดยมีทิศทางการ เคลื่อนไหวของเสนั จากจุดหนึ๋งสูอ่ ีกจดุ หนงึ่ ส่วน “เสนั ในการเขียนแบบ” คือ องค์ประกอบที่ใช้แบง่ พืนที่ แบ่งบริเวณว่าง และใช้กำหนดรูปทรงต่างๆ ในการเขยี น แบบหรืองานเรขาคณิตตา่ งๆ ท้งั นี้ เสันสำหรบั การออกแบบ เปน็ องคป์ ระกอบทใ่ี ช้ สร้างความรส้ ึกตา่ งๆ ใหแ้ ฝงในผลงานการออกแบบ เช่น เสันโค้งทีท่ ำใหเ้ กิดความรูส้ ึก ถงึ ความอ่อนโยน อ่อนช้อย เสนั หยกั ทำใหเ้ กดิ ความรู้สึกถึงความต่ืนเต้น ความกระด้าง ความทาทาย ความกลาเป็นดน้ รปู รา่ งและรูปทรง (ร!!^!)6 ?๐1ท!) ในทางการออกแบบ รูปร่างนั้น (ร!!^15ธ) หมายถึง เสนั รอบนอกทตี่ ัดกบั บรเิ วณท่วี า่ งท่ีทำใหเ้ กดิ ลักษณะตา่ งๆ เชน่ รูปร่างสามเหลยี่ ม เปน็ ต้น ส่วนรูปทรง (?011ท)หมายถงึ องค์ประกอบทมี่ ีท้ัง 3 มติ ิ คือ มี ทังความกวา้ ง ความยาว และความลึก ซึ่งเปรียบได้กบั วัตลุท่มี ีสว่ นปลอ่ งหรอื พ้นื ที่ว่าง ภายในวตั ถุทนั ซึ่งสามารถเปน็ พืน้ ที่บรรจุอากาศหรือนัา้ ไดเ้ ชน่ เดยี วกับสง่ิ ของเครอ่ื งใช้ ต่างๆ เชน่ ขวดโหล แจกัน แคว้ นา้ี รวมทง้ั สงิ่ ต่างๆ รอบตัว ทสี่ ามารถมองเหน็ ได้ทกุ ดา้ น เชน่ ดน้ ไม้ ทง้ั นีร้ ปู ร่างและรูปทรง เปน็ องคป์ ระกอบทส่ี มั พันธ์กันสำหรบั การ ออกแบบ การออกแบบส่ือส่ิงพิมพเ์ พอื่ ผลิตงานโฆษณา มวลและปริมาตร (]ฬ&รร &]!(1 V01นฑ!ธ) ในการออกแบบ “มวล” (เฬ&รร) หมายถึง สว่ น ท ี่เป ็น เน ้ือท ั้งห มดของส ส ารห รอื วตั ถตุ ่างๆ เชน่ มวลของหนิ ท่ี ประกอบด้วยเนือแขง็ แนน่ มวลของฟองนื้า คอื สว่ นเนอ้ื ท่ีออ่ นนมุ่ และโปร่ง สว่ น “ปริมาตร” (\\^01น111ธ) หมายถงึ บรเิ วณท่แี ผค่ รอบคลุมเนอื ที่ในอากาศทงั หมดภายใน ของวัตถุ ดังนนั จึงเปรยี บเสมอื นรปู ทรงด้านในของวัตถทุ ่ีมีมติ กิ วา้ ง ยาว และหนา ท้ังน้ี มวลและปรมิ าตรจงึ รวนอยดู่ ้วยกนั เสมอ ลกั ษณะผวิ (16X1X116) หมายถึง สว่ นผวิ นอกของวัตถุทม่ี องเหน็ ไดห้ รือสมั ผสั ได้ เช่น ลักษณะผวิ ของหนิ ศลิ าแลงทห่ี ยาบและมรี ูพรุนซึ๋งเมื่อสัมผัสแลว้ จะรูสึกสากมือ สะดุดมอื ลักษณะผิวของเครอื่ งทองเหลอื งทีผ่ วิ มีความมันวาวเรยี บเนยี นซง่ึ เมื่อสัมผสั จะรู้สกึ ลน่ื มอื ไม่สะดดุ องคป์ ระกอบดังกล'าวนื้ ทำใหผ้ ลงานการออกแบบมีความ สวยงามและสามารถทำให้ผูส้ มั ผัสผลงานเกิดความร้สู ึกต่างๆ ได้ องคป์ ระกอบทว่ี า่ นื้ นักออกแบบสามารถนำไปใชใ้ นการสรางผลงานแบบสองและสามมิติได้ พ้ืนทีว่ า่ ง (ร1)^06) หมายถงึ ในการออกแบบน้นั พืน้ ทวี่ า่ ง (ร|)ย0ธ) เป็น องค์ประกอบเปน็ ผลจากการวางแผนเพอ่ื จัดวางองคป์ ระกอบอ่ืนๆ เช่น จดุ เสัน รปู รา่ ง รูปทรง ในบรเิ วณวา่ งอย่างเหมาะสมควบคกู่ บั การเว้นบริเวณว่างไว้อยา่ งเหมาะสม เช่นกัน ทงั นี บริเวณว่าง เปน็ องคป์ ระกอบหน่งึ ทท่ี ำให้ผลงานการออกแบบสวยงาม และทำให้ผู้ชมผลงานเกิดความรู้สึกตา่ งๆ ได้ เช่น การออกแบบที่จัดวางองค์ประกอบ ต่างๆ แบบหนาแนน่ และเหลือบริเวณว่างนอ้ ย กจ็ ะทำใหผ้ ูช้ มผลงานรสู้ ึกถึงความหนกั แนน่ จริงจงั ไมม่ ีความโปรง่ โล่งสบาย เป็นดน้ นา้ั หนักสี (Vฝนธ) หมายถงึ ความแตกตา่ งของสีในนาั้ หนักของสรี ะดบั ตา่ งๆ โดยผอู้ อกแบบสามารถกำหนดระดบั น้ัาหนักทแ่ี ปงเปน็ ชอ่ ง10 ช่อง เร่ืมจากชอ่ งแรก เปน็ สคี ำ ช่องต่อๆไป เปน็ สเี ทาเข้ม สีเทา สีเทาออ่ น จนช่องสุดทายเปน็ สขี าว นอกจาก การไล่ระดบั ความเขม้ ไปจนถงึ ระดับความอ่อนสดของสแี ลว้ การสร้างน้าั หนักยังเกิด การออกแบบสอ่ื ส่งิ พมิ พเ์ พื่อผลิตงานโฆษณา ไดจ้ ากความแตกต่างของน้ําหนกั สใี นวงจรสีทม่ี ีคสู่ ีตรงกันข้ามระหวา่ งกลุ่มแม่สขี น้ั ที่1 ซงึ่ จะตรงข้ามกับกล่มุ แม่สขี ัน้ ท2ี่ ซึ่งในวงจรสนี ้กี จ็ ะมสี ีท่ีมนี าหนกั ตา่ งกันและตดั กัน ดว้ ย ทั้งนี้ การใข้นาี้ หนกั ของสีในงานออกแบบเพ่ือทำให้งานมคี วามสวยงามและดงึ ดูด ความสนใจอย่างมากนีน้ ข้นึ อยกู่ บั การแกฝน ความชำนาญ และรสนยิ มของผ้อู อกแบบ แตล่ ะคน สี (001๐1) สี เป น็ อ งค ์ป ระก อ บ ท ี่ส ำค ัญ ใน ก ารอ อ ก แ บ บ เช ่น เด ียวก ับ องค์ประกอบอืน่ ๆทก่ี ลา่ วมาขา้ งดน้ เพ่ืองจากสสี ามารถสร้างความรสู้ กึ ตา่ งๆ ในผลงาน ได้ และสามารถเพม่ื คณุ คา่ ทางความงามใหแ้ ก่ผลงานไดอ้ ย่างมาก ท้งั นี้ การใชส้ ีตา่ งๆ ในแตล่ ะส่วนบนผลงานการออกแบบชิน้ หพ่งื ๆ ถือวา่ เป็นวธิ ีการแยกพนื้ ท่หี รอื เนน้ สัดส่วนบริเวณตา่ งๆ บนผลงานการออกแบบน้นี ๆ ในการออกแบบนน้ี ผูอ้ อกแบ บ ด้องรจู้ กั ใช้ป ระโยชน จ์ ากส เี พ อ่ื ส รา้ ง ความรสู้ ึกให้เกดิ ในผลงานตามทด่ี อ้ งการหรอื ทีว่ างแผนไว้ เช่น นักออกแบบตกแตง่ ภายใน (ณเฒอ่ ]: ซ6ร1^01-) ก็ด้องเลอื กสีให้ตอบสนองความตอ้ งการของผ้อู ยอู่ าศยั อาทิ เช่น ดอ้ งการอยใู่ นหอ้ งท่โี ลง่ สบาย กอ็ าจเลือกสขี าวหรอื สีครีมเปน็ สีสว่ นใหญ่ภายใน ห้องโดยเลอื กสเี คร่อื งเรอื นทส่ี ่งเสริมสสี ่วนรวมของหอ้ ง หรอื นกั ออกแบบเวทกี าร แสดง ก็ต้องเลอื กใช้สที สี่ ามารถสร้างบรรยากาศและอารมณค์ วามร้สู ึกทีด่ ้องการให้ผชู้ ม คลอ้ ยตามบรรยากาศของการแสดงนั้น หรือแมก้ ระทง้ั จติ รกรซ่งึ นับว่าเปน็ นกั ออกแบบ งานจติ รกรรมสร้างสรรค์ กต็ อ้ งเลอื กไข้กล่มุ สสี ำหรับระบายท่ีสามารถสื่ออารมณ์ ความคิด และจนิ ตนาการของตนใหส้ มบุรณ์ ความรู้สึกทไ่ี ด้จากสีเพอ่ื ใช้ในการออกแบบ มตี ัวอย่างตงั น้ี สีแดง ใหค้ วามรสู้ กึ อนั ตราย ร้อนแรง ไม่ปลอดภยั สีขาว ให้ความรูส้ ึกเรยี บร้อย สะอาด สุภาพ ไม่ต่นื เตน้ บริสทุ ธใิ จ โลง่ สบาย การออกแบบสอี ลิ่งพมิ พเ์ พ่ือผสติ งานโฆษณา สีดำ ใหค้ วามรูสึกเศร้าหมอง หด■ ศู่ เงยี บ ทบึ ตัน หรือบางคร้งั อาจลูสง่า สงบจรงิ จัง สมี ว่ ง ใหค้ วามรู้สึกลึกลับ มนี าํ้ หนัก หนักใจ กังวล นา่ สงสยั สสี มั ใหค้ วามรู้สึกสดใส คูดฉาด สว่าง กลา้ คดิ สเี ขยี ว ให้ความร้สู กึ พกั ผ่อน สดชืน่ งอกงาม เจริญเติบโต ขยายตวั สีเทา ใหค้ วามร้สู ึกภมู ฐิ าน หนกั แนน่ สงบ สนี ํา้ ตาล ให้ความร้สู กึ หนัก สงบเสงยี่ ม เกา่ แก่ อย่ใู นกรอบหรอื กฎเกณฑ์ สีนำเงิน ใหค้ วามรสู้ กึ ฃรมื สง่างาม จรงิ จัง เงยี บ นา่ เกรงขาม สีเหลือง ให้ความรูส้ ึก สวา่ ง ระมดั ระวัง สดใส นอกจากสีจะให้ความรสู้ ึกในผลงานการออกแบบแล้ว สยี งั แน่งเปนี ประเภท ซงประกอบดว้ ยสี 3 ประเภท คือ * สที ใี่ ช้เกย่ี วกับแสง สำหรบั นกั ออกแบบท่ดี ้องใช้สีของแสงเพือ่ สรา้ งผลงาน น้นั จำเป็นต้องเรยี นรูส้ ึประเภทนี้ โดยมีแมส่ ี 3 สี คอื ลม้ เขียว ม่วง น้งั นี้ เมือ่ นำแสงสี ลม้ ผสมกบั แสงสีเขยี ว ก็จะเกดิ แสงสเี หลอื ง หากนำแสงสีเขียวผสมกบั แสงสมี ่วงจะเกิด แสงสีฟา้ (0x^11) และล้านำแสงมว่ งผสมกับแสงสลี ้มกจ็ ะเกดิ แสงสชี มพูมว่ ง (1ฬสฐฒเ&) หรอื ลา้ นำแสงสลี ม้ ผสมกับแสงสีเขยี วและม่วง กจ็ ะเกิดแสงสีขาว การนำสีของแสงมาผสมกนั นเ้ี ป็นประโยชน์อย่างยิง๋ กับนกั ออกแบบเวทึ หรือ แม้กระทง่ั ผูท้ ท่ี ำงานเกีย่ วกบั การอัดภาพถ่ายสีทใี่ ชเ้ ครอื่ งอดั ภาพ (^11131261) ก็ต้องรจู้ ัก การผสมสีประเภทนเ้ี ชน่ กนั โดยเคร่ืองอดั ภาพดังกล่าว จะมฟี ้ลเตอร้ 3 สี คือ สีเขียว สี ล้ม และสมี ่วง ซงึ๋ จะสงั เกตไตว้ ่า สีของฟล้ เตอร้น้งั สามเปน็ สีข้นั ท่ีสองอันเกิดจากการ ผสมระหว่างสขี องแสงขน้ั แรก ทงั้ นสี้ ขี องฟ้ลเตอร้นงั้ สามจะเปน็ ตวั กลางใหแ้ สงผ่าน ไปสู่ฟ้ลม้ สแี ละผ่านไปยังกระดาษอดั ภาพ ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ คือ ภาพถา่ ยสีอันเกิดจาการผสม กันระหวา่ งสขี องแสง การออกแบบส'ื 'อสิงพิมพ์เพอื่ ผลิตงานโฆษณา * สืทีใ่ ช้เน้อื สีผสมกนั การใชส้ ีประเภทน้นื กั ออกแบบไม่เองคำนึงถงึ การ มองเห็นเกยี่ วกบั แสง โดยสีประเภทนม้ี แี ม่สี 3 สี คือ สแี ดง สนี ื้าเงิน และสีเหลือง เม่ือ นำแม่สซี ่ึงเป็นสขี ันแรกมาผสมกนั กจ็ ะไสสั ีขันท่ีสอง คือ แดงผสมนำเงนิ เป็นสีม่วง (?ณ:[)16) นำเงนิ ผสมเหลอื งเป็นเขียว (010611) และแดงผสมเหลืองเปน็ สมั (01ส11ฐธ) และ เมอ่ื นำสีข้ันทีห่ น่งึ ไปผสมกับสีขั้นที่สองตามลำดับในวงสี (00101 \\\\^661) กจ็ ะเกดิ สขี น้ั ที่สาม ไคแก่ เหลืองเขียว (Vธ1101^-01:6611) เหลืองสมั (V61101V-01^86) แดงสมั (116(1“ 01^2ธ) แดงมว่ ง (116(1-?ณ:1116) น้าื เงนิ มว่ ง (61ษ6-?ณว)1ธ) และเขียวนื้าเงนิ (01*6611-61110) ดังนืน้ สีในวงสจี ึงมีทงั้ หมด 12 สี * สที ่ใี ช้เนอื สีผสมและสัมพันธก์ บั แสง สปี ระเภทน้มื แี นวคิดสนบั สนุนท่ี นา่ สนใจ คอื แนวคดิ เรื๋องสบี นวัตถุ ที่เก่ยี วช้องกบั แสงในธรรมชาติ ซ่ึงค้นพบโดยไอ เซค นัวดนั (1รส^6 1^6\\ฬ011) หลกั ของแนวคิดนเี กิดจากการแยกแสงคว้ ยแทง่ แคว้ สามเหลยี่ มแล้วปรากฏสี 7 สี ที่เรยี กวา่ สเปกตรมั (ร1)66ส111ฑ) ซ่งึ ประกอบดว้ ย สีมว่ ง คราม นำเงิน เขยว เหลอื ง แสด แดง (?ณโ[)16, 1:1(1120, 61:16, 016611, ไ^61๒\\^, 01-&1126, 6.6(1) จากสีในสเปกตรัมทั้ง 7 สี นกั คดิ อกี ทา่ นหนึง่ คือ มันเซลล์ (]ฬณ1รธแ) ไดค้ ิดค้น เพิม่ เตมิ โดยการเลอื กสีม่วง นำเงนิ เขยี ว เหลอื ง แดง เปน็ แม่สี และคดั สีครามและแสด ออกไปเน่ืองจากเปน็ สที ีม่ องเหน็ ไมช่ ัดเจน ดงั น้นั จงึ เกิดแม่สี 5 สี ซง่ึ เปน็ สีขนั้ ท่หี นึ่ง ในวงสี และนำมาผสมกันตามวงสี ก็จะเกดิ สขี ้ันที่สองอีก 5 สี รวมเป็น 10 สี และเม่อื ทง้ั 10 สไี ปผสมกบั สีขาว เทา และดำ โดยกำหนดสเี ทาให้มีนั้าหนักต่างระดบั กนั กจ็ ะเกิดสี เพิ่มฃึนอีกมาก ซึง่ จะเป็นประโยชน์ต่อการออกแบบอยา่ งมาก นอกจากนี ยังมที ฤษฎสี ีของพ์รานล์ เกอธเ์ ทเชน (613118 0611118611) ท่กี ำหนด แมส่ ไี ว้ 3 สี คอื สฟี ้า สชี มพมู ว่ ง และสเี หลอื ง (03^311, :\\132ธ1113, Vธ110\\V) ท้งั น้ี หากนำ สมี าผสมกนั ตามลำดบั ด้วยฟ้ลเตอธ์หรือสีบนแผน่ พลาสตกิ ใส จะเกิดเปน็ สีนัา้ เงิน แดง และเขียว และสามารถผสมสีให้เกิดนำหนักต่างๆไดอ้ กี มากมาย การใชส้ ีประเภทนเ้ี ป็น ประโยชน์ต่อการพิมพภั าพสีด้วยระบบออฟเซต (01&61:) เช่น การพิมพัภาพสใี นหนงั สือ การ'ออกแบบสอื่ สิงพมิ พเ์ พ่อื ผลิตงานโฆษณา ในใบปะปิดโฆษณาหรือโปสเตอร์ (?0ร1;01-) เปีนตน้ ท้งั นี้ ในปช้ ธบุ ัน แมส่ ีหลักที่ใชใ้ น ระบบออฟเซท คอื สีฟ้า ชมพมู ว่ ง และเหลอื ง (03^^11, :\\1&ฐธ]!ณ, V ฝ10■ VV) นอกจากนไ้ี ต้ เพมิ่ สดี ำ (ธ๒ธ]^) เชา้ ไปในระบบเพ่อื ทำให้ภาพทีม่ คี วามคมชดั มากข้นึ ดงั นัน้ จงึ สรุปไต้ วา่ ในป้จจุบัน ระบบการพมิ พไ์ ต้นำแนวคดิ เร๋อื งสที ใี่ ชเ้ นือสผี สมและสัมพันธก์ ับแสง ซึ่งมีแมส่ ีรวมทงั ส้นิ 4 สนี ้ัน มาใชใ้ นการสร้างสรรค์ผลงาน แนวทางหลักสำหรับการออกแบบ แนวทางหลกั สำหรับการออกแบบนนั้ มหี วั ใจสำคญั ทีก่ ารนำองค์ประกอบ ตา่ งๆ ของการออกแบบมาร้อยต่อและจดั วางในลกั ษณะตา่ งๆ อย่างประสานกลมกลืน จนเคิดเปน็ ผลงานการออกแบบท่ีสวยงามน่าสนใจและสอดคลอั งกบั เป็าหมายตา้ น ประโยชนใ์ ชส้ อยไต้ตอ่ ไป ทงั นี แนวทางหลักสำหรับการออกแบบท่จี ะกลา่ วถึงในบท นจี้ ะต้องประกอบต้วยการใช้ความสมลลุ การใชค้ วามเปน็ เอกภาพ การใชส้ ดั สว่ น การสรา้ งจงั หวะลีลา การใชก้ ารดดั คัน การใชก้ ารรวมตัว และการใชร้ ปู ทรง รายล เอยี ด มีดังนี้ 1. ความสมดลุ (ธ^ไอบธธ) ความสมดลุ ในการออกแบบ คือ ความสมดุลตาม สภาพการมองเห็นหรอื การรบั รูเกี่ยวคบั นาี้ หนักและความมนั่ คงบนสน้ิ ราบ ท้ังน้ี ใน การออกแบบสามมิติ เช่น งานประตมิ ากรรม สถาปต้ ยกรรม งานโครงสรา้ งต่างๆ หรือ แม้แตง่ านบรรจุภัณฑน์ นั การปอ้ งคนั และแคัปญ้ หาเกย่ี วคับความสมดุลเปน็ ภารกจิ หลัก ของการออกแบบ โดยการใช้ความสมดลุ ใน การออกแบบนัน้ ต้องพจิ ารณ าให้ สอดคล้องคับการใชร้ ูปทรงควบคู่คนั ไป สว่ นงานสองมิติ การใช้ความสมดลุ ในการ ออกแบบกม็ คี วามสำคญั เช่นคนั เนอ่ื งจากทำใหผ้ ลงานมีความลงตวั ไม่ชัดตาผูช้ มผลงาน ความสมดลสำหรับการออกแบบแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ