แผนที่มาตราส่วน 1 ต่อ 25000 คือ

ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า ระยะบนแผนที่ คือ ระยะราบ (Horizontal Distance) เพราะแผนที่คือ การฉาย (Project) รายละเอียดภูมิประเทศจริงลงบนพื้นระนาบหรือพื้นราบ ฉะนั้นแผนที่จะมีมาตราส่วนเดียวกันหมดทั้งระวาง การหาระยะทางบนแผนที่จึงสามารถกระทำได้ 2 วิธีคือ

1. การหาระยะโดยอาศัยมาตราส่วนของแผนที่ เช่น เราวัดระยะบนแผนที่มาตราส่วน 1: 50,000 ได้ 3 เซนติเมตร เพราะฉะนั้นระยะราบในภูมิประเทศจริงคือ 3 X 50000 = 150,000 ซ.ม. หรือ 1,500 เมตร หรือ 1.5 ก.ม.2. การหาระยะโดยอาศัยมาตราส่วนแบบบรรทัด2.1 ให้กระทำโดยนำขอบบรรทัดหรือขอบกระดาษเรียบๆ วางทาบให้ผ่านจุดสองจุดที่ต้องการหาระยะทางบนแผนที่แล้วทำเครื่องหมายไว้ที่ขอบกระดาษแสดงตำแหน่งของจุดทั้งสอง2.2 นำขอบกระดาษไปวางทาบที่มาตราส่วนเส้นบรรทัด อันมีหน่วยวัดระยะตามต้องการแล้วอ่านระยะบนมาตราส่วนเส้นบรรทัด ระยะที่ได้จะเป็นระยะราบในภูมิประเทศจริง
3.หลักการย่อและขยายแผนที่3.1 การย่อและขยายแผนที่โดยยึดมาตรส่วนเป็นหลัก การย่อแผนที่ในกรณีนี้เราหาอัตราส่วนการย่อหรือขยายโดยคำนวณจากมาตราส่วน ซึ่งเราสามารถหาอัตราส่วนการย่อหรือขยายได้ โดยการใช้มาตราส่วนของแผนที่ใหม่หารด้วยมาตราส่วนของแผนที่เดิม3.2 การย่อและขยายแผนที่โดยยึดด้านกว้าง-ด้านยาวของแผนที่เป็นหลัก ด้านกว้างและด้านยาวเป็นสิ่งที่มีมิติเดียวเช่นเดียวกันมาตราส่วน ดังนั้นสักษณะการย่อและการขยายจึงทำได้เช่นเดียวกับวิธีการย่อและขยายโดยยึดมาตราส่วนเป็นหลัก3.3 การย่อและขยายแผนที่โดยยึดพื้นที่ของแผนที่เป็นหลัก การย่อและขยายแผนที่โดยยึดพื้นที่เป็นหลัก เราคำนวณอัตราส่วนการย่อ-ขยายได้โดยการหารพื้นที่ของแผนที่ใหม่ด้วยพื้นที่ของแผนที่เดิม
สูตรการหาระยะทาง         Scale    =    MDGDMD = ระยะทางบนแผนที่ (Map Distance)
GD = ระยะทางในภูมิประเทศจริง (Ground distance)ตัวอย่าง สมมุติว่าแผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000 วัดระยะระหว่างจุด ก. ถึง จุด ข. ได้ 3.5 เซนติเมตร จงหาระยะทางในภูมิประเทศจากสูตร

1

=3.5

50,000GDGD=50,000 X 3.5   =   175,000 เซนติเมตร=175,000

   =   1.75 กิโลเมตร100,000

ตอบ นั่นคือ ระยะในแผนที่ 3.5 เซนติเมตร แทนระยะทางในภูมิประเทศจริง 1.75 กิโลเมตร

อัตราส่วนเปรียบเทียบระหว่างระยะทางในแผนที่กับระยะทางในภูมิประเทศจริงเมื่อกำหนดให้ระยะทางในแผนที่เป็น 1 หน่วย

มาตราส่วน :

หมายถึง อัตราส่วนเปรียบเทียบระหว่างระยะทางในแผนที่กับระยะทางในภูมิประเทศจริง โดยกำหนดให้ระยะทางในแผนที่เป็น 1 หน่วย

เมื่อ มาตราส่วน 1 : 50,000 หมายความว่า ถ้าวัดระยะในแผนที่ได้ 1 หน่วย ระยะในภูมิประเทศจะเท่ากับ 50,000 หน่วย เช่น
ถ้าในแผนที่เท่ากับ 1 เซนติเมตร ในภูมิประเทศจะเท่ากับ 50,000 เซนติเมตร   ถ้าในแผนที่เท่ากับ 2 เซนติเมตร ในภูมิประเทศจะเท่ากับ 2  X  50,000 เซนติเมตร
หรือ 100,000 เซนติเมตร หรือเท่ากับ 1 กิโลเมตร

มาตราส่วนที่ใช้งานทั่วไปจะมี 3 ชนิด คือ

1) มาตราส่วนเศษส่วน เช่น  1 : 50,000   1: 100,000   1 : 1,000,000 เป็นต้น

2) มาตราส่วนคำพูด เช่น 1 เซนติเมตรต่อ 1 กิโลเมตร  1 นิ้วต่อ 2 ไมล์ เป็นต้น

3) มาตราส่วน รูปภาพหรือมาตราส่วนเส้นบรรทัด มาตราส่วนชนิดนี้จะเป็นเส้นตรงที่แบ่งส่วน ซึ่งจะมีตัวเลขบอกความยาวไว้

นโยบายเร่งด่วน มาตรการ/ผลการดำเนินงานที่สำคัญ 1) การแก้ไขปัญหาในการดำรงชีวิตของประชาชน ช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ด้อยโอกาส เช่น ดำเนินโครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 973 แห่ง 353,267 ราย และดำเนินโครงการบริหารจัดการที่ดินทำกินแก่เกษตรกรรายย่อยและผู้ด้อยโอกาส 25,479 ราย ดำเนินการได้เกินกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ร้อยละ 8.42 (เป้าหมาย 23,500 ราย) 2) การปรับปรุงระบบสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 2.1) โครงการสินเชื่อกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) เพื่อช่วยเหลือข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยแก้ไขปัญหาหนี้สินผู้ถูกฟ้อง            ร้องผู้มีหนี้สินวิกฤติ หรือมียอดเงินเดือนเหลือไม่ถึงร้อยละ 30 มีผู้ลงทะเบียนแล้ว 41,128 ราย รวมมูลค่าหนี้ 58 ล้านบาท
2.2) โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ โดยโอนเงินให้แก่ผู้มีสิทธิผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2564-31 สิงหาคม 2565 รวม 44,873.10 ล้านบาท
2.3) จ่ายเงินสวัสดิการสังคมและเงินอื่นผ่านระบบบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม (e-Social Welfare) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2564-31 สิงหาคม 2565 รวม 131,354.82 ล้านบาท 3) มาตรการเศรษฐกิจเพื่อรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ดำเนินโครงการ SME ปรับตัวรับมือ VUCA World ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (Volatility Uncertainty Complexity Ambiguity: VUCA) โดยสำนักงานส่งเสริม
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมดำเนินการลงพื้นที่ให้ปรึกษาเชิงลึก ณ สถานประกอบการ เพื่อให้ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) สามารถสร้างโมเดลธุรกิจบริการใหม่ หรือปรับเปลี่ยนธุรกิจให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้น 76 กิจการ และเข้าสู่กระบวนการพัฒนาปรับปรุงเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการแล้ว 5 ราย มีผลการดำเนินงานในภาพรวมร้อยละ 77.50 4) การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม 4.1) ยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้วยนวัตกรรมผลิตอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำสำหรับ         โคเนื้อและกระบือ โดยสนับสนุนทุนวิจัยให้แก่คณะวิจัยจากมหาวิทยาลัย เพื่อนำไปถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำสำหรับโคขุนและกระบือให้กับเกษตรกรทดแทนการซื้ออาหารสำเร็จรูป สามารถลดต้นทุนลง 2.60 บาท/กิโลกรัม หรือ 13,000 บาท/รอบการผลิต
4.2) ดำเนินโครงการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตร              เพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) เช่น พัฒนาที่ดินเพื่อสนับสนุน            การปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสมตาม Agi-Map จำนวน 67,290 ไร่             และส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิตพืชที่เหมาะสมตามแผนที่ Agri-Map จำนวน 2,670 ไร่
4.3) ดำเนินโครงการประกันภัยข้าวนาปี และโครงการประกันภัยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปีการผลิต 2565 ได้แก่ โครงการประกันภัยข้าวนาปีขั้นพื้นฐาน 1.912                  ล้านราย และภาคสมัครใจ 7,162 ราย เบี้ยประกันภัยรวม 2,891.22 ล้านบาท และโครงการประกันภัยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ขั้นพื้นฐาน 70,574 ราย และภาคสมัครใจ         7 ราย เบี้ยประกันภัยรวม 221.85 ล้านบาท 5) การยกระดับศักยภาพของแรงงาน 5.1) กำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ปี 2565 ตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้างเรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ (ฉบับที่ 11) ลงวันที่ 1 กันยายน 2565 โดยให้ปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำเพิ่มในอัตราวันละ 8-22 บาท เป็นอัตราวันละ 328-354 บาท โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นต้นไป
5.2) ขยายตลาดแรงงานไทย เช่น ส่งเสริมให้แรงานไทยไปฝึกงาน ณ ประเทศญี่ปุ่น
และส่งเสริมให้แรงงานไทยไปทำงาน ณ ประเทศซาอุดีอาระเบีย
5.3) ยกระดับทักษะแรงงานนอกระบบ โดยดำเนินการยกระดับทักษะฝีมือแรงานให้แก่แรงงานนอกระบบ เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวชายทะเลฝั่งอันดามันและกระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากในพื้นที่ตำบลทับปุด จังหวัดพังงา 6) การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต 6.1) ส่งเสริมการลงทุน โดยมีการยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนตั้งแต่เดือนมกราคม-สิงหาคม 2565 ในพื้นที่ “เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)” (Eastern Economic Corridor: EEC) (จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง)              315 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 170,383 ล้านบาท และในพื้นที่ “เขตเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ)”  (Special Economic Zone: SEZ) 3 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 2,277 ล้านบาท
6.2) โครงการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก เช่น              ปรับพื้นที่สำหรับก่อสร้างทางขับระยะที่ 1 และลานจอดของศูนย์ซ่อมบำรุง                อากาศยาน มีความคืบหน้าร้อยละ 93.67 และโครงการงานระบบไฟฟ้าและน้ำเย็นมีความคืบหน้าร้อยละ 76.40 7) การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 7.1) จัดงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำปี 2565                ในรูปแบบ Science Carnival และงาน “NST Fair Science Carnival Bangkok”
ภายใต้แนวคิด “วิทย์ปลุกชีวิต” เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนและประชาชนไทยเกิดความตระหนักรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
7.2) สร้างความรู้ความเข้าใจการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สื่อออนไลน์ และโครงข่ายสังคมออนไลน์ของคนไทย โดยเปิดตัวเว็บ www.คลิปหลุดทำไง.com รับแจ้งเหตุล่วงละเมิดทางเพศ สื่อลามกเด็กผ่านออนไลน์ตลอด 24 ชั่วโมง 8) การแก้ไขปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ 8.1) ปราบปรามยาเสพติด โดยมีการจับกุมคดียาเสพติด 23,564 คดี ผู้ต้องหา            23,330 คน และยึดของกลาง เช่น ยาบ้า 44.55 ล้านเม็ด ไอซ์ 930.73 กิโลกรัม และเฮโรอีน 52.93 กิโลกรัม
8.2) ดำเนินโครงการตำบลมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้และส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้  เช่น ปรับปรุงพื้นที่ปลูกข้าวให้มีความเหมาะสม ในพื้นที่ 2,983 ไร่ และให้บริการด้านการผลิตพืชแก่เกษตรกร โดยจัดทำแปลงขยายผลการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชให้กับ         เกษตรกรต้นแบบ 480 ราย 9) การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชน 9.1) พัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์การบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศระยะที่ 4 แล้วเสร็จ ทำให้ผู้หางานสามารถยื่นคำขอส่งเงินเข้ากองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทำงานในต่างประเทศได้ 2 วิธี คือ (1) ผ่านระบu e-Service เและ (2) ยื่นคำขอ ณ สำนักงานจัดหางานจังหวัด ทั้งนี้ กรณีคนหางานแจ้งการเดินทางด้วยตนเองเริ่มเปิดให้ใช้บริการตั้งแต่วันที่ 26 สิงหาคม 2565 เป็นต้นไป
9.2) อำนวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจให้แก่บุคลากรทักษะสูง/ผู้เชี่ยวชาญ นักลงทุน ผู้บริหาร และผู้ประกอบการวิสาหกิจเริ่มต้นที่ประสงค์จะเข้ามาทำงานหรือลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศผ่านวีช่าประเภทพิเศษ SMART Visa ตั้งแต่เดือนมกราคม-สิงหาคม 2565 มีผู้ผ่านการรับรองคุณสมบัติทั้งสิ้น                 268 คำขอ
9.3) จ่ายเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานครระหว่างวันที่ 1-31 สิงหาคม 2565 จำนวน 179 ครัวเรือน 508 คน แบ่งเป็น อัคคีภัย 154 ครัวเรือน 458 คน 3.60 ล้านบาท และวาตภัย 25 ครัวเรือน 50 คน 203,560 บาท ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2564-31 สิงหาคม 2565 ได้จ่ายเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติแล้ว 918 ครอบครัว  2,265 คน รวมทั้งสิ้น 15.39              ล้านบาท 10) การจัดเตรียมมาตรการรองรับภัยแล้งและอุทกภัย 10.1) จัดการน้ำท่วมอุทกภัย เช่น (1) โครงการบรรเทาอุทกภัยอำเภอหาดใหญ่ (ระยะที่ 2) จังหวัดสงขลา (งานปรับปรุงสะพานรถไฟ ความยาว 110 เมตร) มีผลการดำเนินงานร้อยละ 98.33 (2) โครงการคลองระบายน้ำหลากบางบาล-บางไทรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ขุดคลองระบายน้ำหลากพร้อมอาคารประกอบ) มีผลการดำเนินงานร้อยละ 26.63  และ (3) โครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองชัยภูมิ    จังหวัดชัยภูมิ (ระยะที่ 1) (ก่อสร้างคลองผันน้ำลำปะทาว-สระเทวดาพร้อมอาคารประกอบ) มีผลการดำเนินงาน ร้อยละ 18.26
10.2) ช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ระหว่างวันที่                          9 พฤษภาคม-7 สิงหาคม 2565 ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรด้านพืช ใน 24 จังหวัด เกษตรกรได้รับผลกระทบ 40,803 ราย พื้นที่เสียหาย 255,505 ไร่ ดำเนินการช่วยเหลือแล้ว 181 ราย ในพื้นที่ 561 ไร่ วงเงิน 0.93 ล้านบาท และกลุ่มเกษตรกรด้านประมง ใน 15 จังหวัด เกษตรกรได้รับผลกระทบ 2,513 ราย พื้นที่เสียหาย 2,146 ไร่ ดำเนินการช่วยเหลือแล้ว 335 ราย ในพื้นที่ 283 ไร่  วงเงิน 1.42 ล้านบาท

แผนที่มาตราส่วน 1 : 25,000 เป็นแผนที่ขนาดใด

1 แผนที่มาตราส่วนใหญ่ (Large scale map): คือ แผนที่มาตราส่วน 1:250, 1:500, 1:2,500, 1:4000, 1:5,000. 2 แผนที่มาตราส่วนกลาง (Medium scale map): คือ แผนที่มาตราส่วน 1:10,000, 1:20,000, 1:25,000. 3 แผนที่มาตราส่วนเล็ก (Small scale map): คือ แผนที่มาตราส่วน 1:50,000, 1:100,000, 1:250,000, 1:500,000, 1:1,000,000.

แผนที่มาตราส่วน 1 ต่อ 50000 เป็นแผนที่มาตราส่วนใด

ตัวอย่าง ในกรณีของแผนที่ภูมิประเทศระบุขนาดมาตราส่วนแผนที่เป็น 1:50,000 หน่วยบนพื้นภูมิประเทศจริง ถ้าหากการวัดระยะในแผนที่มีหน่วยการวัดเป็นเซนติเมตร ระยะทางซึ่งยาว 1 เซนติเมตรในแผนที่จะแทนขนาดความยาว 50,000 เซนติเมตร (หรือ 500 เมตร) ในพื้นที่ภูมิประเทศจริง

มาตราส่วน 1 : 150 000 บนแผนที่ หมายความว่าอย่างไร

มาตราส่วน 1 : 150,000 บนแผนที่ หมายความว่าอย่างไร ระยะ 1 ม. บนแผนที่ เท่ากับ 150,000 กม. บนพื้นผิวโลก ระยะ 1 ซม. บนแผนที่ เท่ากับ 50,000 ส่วน บนพื้นผิวโลก ระยะ 1 ส่วน บนแผนที่ เท่ากับ 150,000 ส่วน บนพื้นผิวโลก

มาตราส่วนของแผนที่มีอะไรบ้าง

มาตราส่วนท าให้ผู้ใช้แผนที่ทราบว่ามาตราส่วนในแผนที่นั้นใช้แทนระยะทางจริงบนพื้นผิว โลกเท่าใด มี3 ชนิด ได้แก่มาตราส่วนค าพูด มาตราส่วนแบบเศษส่วน และมาตราส่วนเส้น