อิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมต่างประเทศที่มี ต่อ ดนตรีในวัฒนธรรม ไทย

´¹µÃÕã¹Ç²Ñ ¹¸ÃÃÁÍÔ¹à´Õ • วัฒนธรรมด)านดนตรีของอินเดียจะสัมพันธ7กับเทพเจ)าตามรากฐานและ แนวคดิ ที่เกย่ี วกบั ศาสนาพราหมณ7-ฮนิ ดู • บทบาทของดนตรีจะมีความสำคัญตHอการบวงสรวงเทพเจ)า ชาวอินเดียเชื่อ วHาเสียงดนตรีสามารถใช)สื่อสารกับเทพเจ)าได) ขณะเดียวกันดนตรียังมี อิทธิพลตHอวิถีชีวิตของผู)คน ทั้งใช)บรรเลงในงานพิธีกรรมตHาง ๆ ทางสังคม และใช)สร)างความร่นื เรงิ ในลักษณะตHาง ๆ • รูปแบบของดนตรีอินเดีย นอกจากจะพัฒนาในวงวัฒนธรรมของตนแล)ว ยัง รับเอาวัฒนธรรมอิสลามและตะวันตกเข)ามาผสมผสาน ทำให)ดนตรีและ เพลงของอินเดียมีความหลากหลาย โดยเครื่องดนตรีของอินเดีย นอกจากมี ใช)ในอินเดียแล)ว บางชนิดก็แพรHกระจายไปยังประเทศเนปาล ประเทศพมHา ประเทศไทย ประเทศกัมพชู า ฯลฯ

à¤ÃèÍ× §´¹µÃÍÕ ¹Ô à´Õ·¤Õè ÇÃèŒÙ Ñ¡ ซตี าร& ตับบลา/ • ประเภทเครอ่ื งดีด • เปYนกลองชุด 2 ใบ มขี นาดเลก็ • เดมิ มีสายจำนวน 3 สาย ใหญHแตกตHางกัน ตอH มาพัฒนาใหม) จี ำนวน • ตอ) งใช)เทคนคิ การตีเพ่อื ใหเ) กิด สายเพ่มิ เปYน 20 สาย เสียงในลกั ษณะตHาง ๆ • ได)รบั ความนิยมจาก ชาวตHางชาติ เชหไ& น • ประเภทเครื่องเปา\\ • รบั อิทธพิ ลจากอาหรับ • ลักษณะเปYนป^ล] นิ้ คHู • รูปรHางคล)ายป]^ชวาของ ไทย

´¹µÃãÕ ¹ÇѲ¹¸ÃÃÁ¨Õ¹ • ดนตรีของชาวจีนมีทั้งที่เปYนของราชสำนักและของราษฎรทั่วไป สำหรับดนตรีของราชสำนักจักรพรรดิจีนทุกราชวงศ7 ให)การ สนับสนุน รวมทั้งชนชั้นสูงตHางมีคHานิยมในการศึกษาและบรรเลง ดนตรี • ลัทธิขงจื๊อที่มีอิทธิพลอยHางมากตHอสังคมจีน ได)ให)ความสำคัญอยHาง สูงกับดนตรี โดยมีการนำดนตรีมาบรรเลงประกอบในพิธีกรรมของ ราชสำนัก และพิธีสำคัญๆ หรือใช)ประกอบพิธีกรรมบวงสรวงเซHน ไหว)เทพยดาฟeาดินตามลทั ธคิ วามเชื่อ • ประเภทของเครื่องดนตรีจีน จัดแบHงออกเปYน ๘ หมวดหมูH ตามวัสดุ อุปกรณ7ที่นำมาใช)ทำ เครื่องดนตรี คือ โลหะ หิน ไม) ดิน หนัง ไม)ไผH นำ้ เต)า และไหม เคร่อื งดนตรีของจีนทค่ี วรรจ)ู ัก เชHน

à¤Ã×Íè §´¹µÃÕ¨¹Õ ·Õ¤è ÇÃèŒÙ ¡Ñ กเู2 จิง ผีผา • เครอ่ื งสาย รปู ทรงคลา) ยพิณ • ประเภทเครอ่ื งดดี กลอH งเสยี งทำด)วยไม) • โดดเดHนในการบรรเลงเดี่ยว • มนี มพาดตามจำนวนสาย มี 16 สาย • เครอ่ื งดนตรีสำคญั ท่ีขาดไมไH ดใ) น • เปYนเคร่ืองดนตรีโบราณทไี่ ด)รบั ความ วงดนตรีจีนปจm จุบัน นิยมอยาH งแพรHหลาย • สามารถบรรเลงเดย่ี ว ,บรรเลงรHวมกับ หยางฉน่ิ เครื่องดนตรีชนิดอ่นื หรอื รวH มกับการขับ • ประเภทเคร่ืองสาย รปู ทรง ร)องได) ประกอบด)วยกลอH งเสียง มีหลกั หรอื หลอH งรองรับสายคน่ั • ใช)ตีประกอบการแสดงอปุ รากร รHวมกบั วงเครอ่ื งสาย • ไทยเรยี กหยางฉิน่ วHา “ขิม”

´¹µÃÕã¹ÇѲ¹¸ÃÃÁ¡ÁÑ ¾ÙªÒ • ดนตรีของกัมพูชามีบทบาทเดHนในฐานะที่นำมาใช)ประกอบพิธีกรรมตาม ความเชื่อพิธีกรรมทางศาสนา สร)างความบันเทิง และใช)บรรเลง ประกอบการแสดงโขน หนงั ใหญH ละคร และฟeอนรำ • ประเภทของวงดนตรีกัมพชู า เชนH วงพิณเพียต เปYนวงดนตรีพิธีกรรมที่ใช)ทั้งในราชสำนัก ในวัด ใน งานพธิ ีกรรมท่วั ไป วงอารัก เปYนวงดนตรีที่ใช)ประกอบในงานพิธีกรรมที่เกี่ยวข)องกับ การติดตHอทางวิญญาณ วงการ7 นยิ มใชบ) รรเลงในงานมงคลสมรส และ วงมโหรี วงอำไย วงเจรียงจเปย ใชส) ำหรับงานร่นื เรงิ บันเทิงทั่วไป • อิทธิพลของศาสนาพราหมณ7 - ฮินดู เปYนปmจจัยที่เปYนรากฐานสำคัญของ วัฒนธรรมดนตรีกัมพูชา บรรดาเครื่องดนตรี ที่เกี่ยวข)องกับศาสนา พราหมณ7 - ฮินดูก็ถูกนำมาใช)ในงานพิธีกรรมทางศาสนาของกัมพูชาด)วย เชHน สังข7 กลอง เปYนตน)

à¤ÃèÍ× §´¹µÃÕ¡ÑÁ¾ªÙ Ò·Õ¤è ÇĄ̃٠ѡ เปย< ออ • หรอื ป=>อ;อ กระแสมูย • ทำจากไม)รวกปล)องเดียว • ลนิ้ ทำดว) ยไมอ) อ) เหลาจนบางลงและบบี • หรือพิณนำ้ เต;า • การบงั คับเสยี งของกระแสมยู ทำได)โดย ให)แบบประกบกนั ในลักษณะลน้ิ แฝด • ลกั ษณะเสียงแหบทม)ุ และกงั วาน การควยคุมการเปดn – ปnด ของกะโหลก พิณทต่ี )องแนบระดับหนา) อกขณะดีดให) สมั พนั ธก7 บั จังหวะ

´¹µÃãÕ ¹Ç²Ñ ¹¸ÃÃÁàÇÕ´¹ÒÁ • ผลงานนับตั้งแตHยุคสำริด คือ การสร)างกลองโลหะสำริด ขนาดใหญH ที่เรียกวHา “มโหระทึก” ใช)ในพิธิกรรมทาง การเกษตร โดยเฉพาะพิธขี อฝน หรอื บอกสญั ญาณในการสู) • เครื่องดนตรีเวียดนาม มีลักษณะคล)ายกับเครื่องดนตรีจีน เนือ่ งจากได)รับอทิ ธพิ ลจากวัฒนธรรมจนี กลองมโหระทึก วัฒนธรรมดองซอน สรา5 งขึน้ ตง้ั แตย; คุ สำรดิ

à¤ÃèÍ× §´¹µÃàÕ ÇÕ´¹ÒÁ·Õ¤è ÇĄ̃٠ѡ ดาE นตาม • ประเภทพิณ • ปGจจุบนั นิยมนำไปประสมในวงดนตรีออรเL คสตราของเวยี ดนาม

´¹µÃÕã¹ÇѲ¹¸ÃÃÁ¾Áҋ • มีทั้งดนตรีแบบแผนที่เปGนของราชสำนัก ดนตรีของ ราษฎรและดนตรีของกลุ;มชาติพันธุLต;างๆ บทบาทของ ดนตรีจะถูกนำมาใช5ในการประกอบพิธีกรรมต;างๆ เพื่อ ความรน่ื เริง ตลอดจนใช5ประกอบการแสดงดว5 ย • วงดนตรีที่สำคัญ คือ วงซายวาย เปGนวงดนตรี ถือเปGน วงดนตรีประจำชาติ ใช5บรรเลงในงานพิธีของทาง ราชการ งานต5อนรับอาคันตุกะของรัฐบาล งานท่ี เกี่ยวข5องกับพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ตลอดจนใช5 ในงานพธิ กี รรมของราษฎรอีกดว5 ย

à¤Ã×èͧ´¹µÃ¾Õ Á‹Ò·Õ¤è ÇÃÃٌ¨Ñ¡ ปเ>= นหL • เปYนป]^ที่มีลำโพง กำพวดป]^ ลิ้นป]^ทำด)วยใบตาล เลาปม]^ รี ู ๗ รู สำหรบั เปลี่ยนระดบั เสียง • มีหลายขนาด ทง้ั ขนาดเล็กและขนาดใหญH ซองเกาะ • เปนY พณิ พมาH ที่มคี วามสวยงามเปนY เอกลักษณข7 องดนตรพี มHา • เปYนเครื่องดนตรีของราชสำนักและชนชั้นสูง ศิลปะการเลHน ซองเกาะไดร) บั การพัฒนามาอยาH งตอH เนือ่ ง • เดิมซองเกาะจะมีสายเพียง ๓ สาย แตHนักดนตรีพมHาได)เพิ่ม เปนY ๑๖ สาย ดงั ทปี่ รากฏใหเ) ห็นในปจm จบุ ัน • นิยมนำมาบรรเลงในงานสำคัญตHาง ๆ ของทางการ สามารถ นำมาใช)ในการบรรเลงเดยี่ วและบรรเลงประกอบการขบั รอ) ง

à¤Ã×èͧ´¹µÃ¾Õ Áҋ ·èÕ¤ÇÃÃٌ¨Ñ¡ มองซาย • มลี ักษณะเหมอื นฆ)องของประเทศไทย • จุดกำเนิดเสียงอยูHที่การนำเอา “ลูกโหมHง” ท่ี พมHาเรียกวHา “มอง” ซึ่งเปYนโลหะทองเหลืองท่ี ถูกตีขึ้นรูปให)กลมและแบนบางอยHางถาด มีปุ\\ม นูนขึ้นเปYนจุดกระทบตรงกลางมาประกอบติดกัน เปYนจำนวน ๓ ราง จากนั้นนำไปร)อยเชือกผูกไว) ในรางไม) ซึง่ พมHาเรยี กวHา “ซาย” สำหรบั ใช)ไมต) ี • หนึ่งชุดจะมีลูกโหมHงจำนวนทั้งหมด ๑๗ - ๑๘ ใบ ไลHเรียงขนาดจากใหญไH ปเล็ก • นยิ มนำมาใช)ในวงซายวายของพมHา

´¹µÃÕã¹Ç²Ñ ¹¸ÃÃÁÍ¹Ô â´¹Õà«ÂÕ • ได)รับอิทธิพลเครื่องดนตรีสำริดมาจากวัฒนธรรมดองซอน ประเทศเวียดนาม นอกจากมโหระทึกแล)วก็มีการสร)างฆ)อง แผHนตีสำริดขนาดตHาง ๆ สำหรับใช) เปYนเครื่องตี รวมทั้งมีการสร)างเครื่องดนตรีอื่น ๆ อีกหลายชนิด และสามารถ นำมาประสมวงเปYนวงดนตรีขนาดใหญไH ด) เรยี กวHา “วงกาเมลัน” • ความสัมพันธ7ระหวHางดนตรีอินโดนีเซียกับดนตรีไทย มีปรากฏมาตั้งแตHสมัย อยุธยา โดยประเทศไทยได)นำเอาป]^ชวา กลองแขกมาบรรเลงในการรำอาวุธ ใช)บรรเลงในขบวนแหHพยุหยาตรา มีการนำวรรณกรรมของชวามาแตHงเปYน บทละครเรื่องอิเหนาและเรื่องดาหลัง ใช)สำหรับแสดงละครใน มีการนำกลอง แขกของชวามาตีเข)ากบั ป]ช^ วา • ในสมัยรัตนโกสินทร7 หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ยังได)นำ เครื่องดนตรีอังกะลุงเข)ามาในประเทศไทย และมีการแตHงเพลงไทยให)มี สำเนียงชวา สำหรับใชใ) นการบรรเลงองั กะลงุ อีกด)วย

à¤ÃèÍ× §´¹µÃÕÍԹⴹÔà«Õ·è¤Õ ÇÃÃٌ¨Ñ¡ ซารอน • เครอื่ งดนตรีประเภทเครอื่ งตี รือบับ • มีแผHนโลหะจำนวน ๕ - ๗ ชิ้น มีลักษณะคล)ายกับ • เครื่องดนตรปี ระเภทเคร่ืองสายทใี่ ชค) นั ชกั อสิ ระ • โดยทวั่ ไปมี ๒ สาย บางถ่ินมี ๓ สาย แผHนระนาดเหล็กของไทย ตั้งเรียงโดยมีหลักโลหะปmก • ลกั ษณะคล)ายกับซอสามสายของไทย หัว - ท)าย • ใช)บรรเลงเดี่ยวและบรรเลงประกอบการขับร)องทั้งใน • มีรางทำดว) ยไม) เพื่อเปYนกลHองเสียงใช)ไม)ตีที่ทำด)วยเขา ควาย วงกาเมลันและในวงดนตรขี องชาวบ)านท่วั ไป

ดนตรีมีอิทธิพลต่อสังคมไทยได้อย่างไร

1. ดนตรีให้ความสนุกสนาน ผ่อนคลายความเครียด ปลุกเร้าอารมณ์และจิตใจให้มีความสุข มี สุขภาพจิตดี 2. ดนตรีช่วยเสริมสร้างความสามัคคีของคนในสังคมให้มีความรักชาติ ทาให้ชาติเป็นสังคมที่สงบ สุข เช่น เพลงปลุกใจ เพลงชาติไทย

ดนตรีไทยได้รับอิทธิพลมาจากประเทศใดบ้าง

ดนตรีไทย เป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทย ได้รับอิทธิพลมา จากประเทศต่างๆ เช่น อินเดีย, จีน, อินโดนีเซีย และอื่นๆ เครื่องดนตรีมี 4 ประเภท ดีด สี ตี เป่า ดนตรีไทย ถือว่าเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าของชนชาติไทยมาตั้งแต่ครั้งโบราณซึ่งดนตรีไทยได้มีการพัฒนามาเรื่อยๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งจะขอแบ่งยุคของดนตรีไทย เพื่อให้สะดวก ...

ดนตรีตะวันตกมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมทางดนตรีไทยอย่างไร

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ดนตรีตะวันตกได้เพิ่มอิทธิพลขึ้นในประเทศไทย ดนตรีจากสหรัฐอเมริกาผ่านสื่อแบบต่างๆ เช่น วิทยุและเครื่องเล่นจานเสียง เยาวชนไทยได้หันเหไปสนใจการร้องเพลงและการเต้นรำด้วยลีลาอารมณ์แบบตะวันตก จึงเกิดเพลงไทยสากลตามรูปแบบฝรั่งขึ้นมากมาย รวมทั้งเพลงแจ๊ส เพลงเต้นรำประเภทร้อนแรงจนถึงสมัยของเพลงร็อกในราวปี พ. ...

อารยธรรมของชนชาติใดที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมดนตรีไทยมากที่สุด

แนวคิดที่ ๑ สันนิษฐานว่า ดนตรีไทย ได้แบบอย่างมาจากอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ ที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก อารยธรรมต่าง ๆ ของอินเดียได้เข้ามามีอิทธิพล ต่อประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชียอย่างมาก ทั้งในด้าน ศาสนา ประเพณีความเชื่อ ตลอดจน ศิลปะ แขนงต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านดนตรีปรากฏรูปร่างลักษณะ เครื่องดนตรี ของประเทศ ...