สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาชิก

1. ���ѭ-ç. (ʹ.) �Դ��Һ��ا����ʹ����Ѻ  (��͹�ѡ��������)

-����Թ    50    ��ҹ�ҷ/��

-�Թ����  50     �֧         100  ��ҹ�ҷ/��

-�Թ����  100   �֧         200  ��ҹ�ҷ/��

-�Թ����  200   �֧         500  ��ҹ�ҷ/��

-�Թ����  500   �֧      1,000  ��ҹ�ҷ/��

-�Թ����  1,000  �֧    1,500  ��ҹ�ҷ/��

-�Թ����  1,500  �֧    2,000  ��ҹ�ҷ/��

-�Թ����  2,000  ��ҹ�ҷ/��     

2,000

2,000

2,000

2,000

2,000

2,000

2,000

2,000

1,000

2,400

4,800

6,000

8,000

10,000

15,000

20,000

1,000

2,400

4,800

6,000

8,000

10,000

15,000

20,000

750

1,800

3,600

4,500

6,000

7,500

11,250

15,000

800

1,200

2,400

3,000

4,000

5,000

7,500

10,000

250

600

1,200

1,500

2,000

2,500

3,750

5,000

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาชิก

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาชิก

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาชิก
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาชิก
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาชิก
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาชิก
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาชิก

  1. หน้าแรก
  2. กฎหมาย/กฎเกณฑ์
  3. สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

พระราชบัญญัติสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2530 และประมวลข้อบังคับ

ปีที่ประกาศใช้ พ.ศ. 2530

เนื่องจากในปัจจุบันการประกอบอุตสาหกรรมมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจและทำรายได้ให้แก่ประเทศชาติมากขึ้นกว่าเดิม ดังนั้น เพื่อเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมการประกอบอุตสาหกรรม ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ สมควรจัดตั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยขึ้นทำหน้าที่เป็นตัวแทนของผู้ประกอบอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ในการประสานนโยบายและการดำเนินงานระหว่างเอกชนกับรัฐ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้กำหนดรายละเอียดเพื่อบังคับใช้ภายใต้ของกฎหมายแบ่งออกเป็น ๖ หมวด ดังต่อไปนี้ หมวดที่ ๑ เรื่อง การจัดตั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้มีการกำหนดถึงสถานะการเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย การกำหนดวัตุประสงค์ ข้อห้ามกำหนดสถานที่การจัดตั้งของสำนักงานใหญ่ และรายได้ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หมวดที่ ๒ เรื่อง สมาชิก กรรมการ และพนักงาน ได้มีการกำหนดประเภทของสมาชิก คุณสมบัติของสมาชิก ประเภทและจำนวนของคณะกรรมการ ลักษณะข้อห้ามของผู้แทนสมาชิกสามัญ วาระของกรรมการ การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการการดำเนินการของคณะกรรมการ และอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ หมวดที่ ๓ เรื่อง การดำเนินกิจการของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้มีการกำหนดการจัดประชุม องค์ประชุม และการดำเนินการในการประชุมของสมาชิกสามัญรวมถึงของคณะกรรมการ หมวดที่ ๔ เรื่อง การควบคุมของรัฐ ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ หลักเกณฑ์ และวิธีการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อเป็นการควบคุมและกำกับดูแลสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยในการดำเนินกิจการให้อยู่ภายใต้วัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติฉบับนี้ หมวดที่ ๕ เรื่อง บทกำหนดโทษ ได้กำหนดโทษแก่สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ หรือผู้ใด ที่ได้กระทำการเป็นอันขัดขวางหรือฝ่าฝืนบทบัญญัติในพระราชบัญญัตินี้ หมวดที่ ๖ เรื่อง บทเฉพาะกาล เป็นการยกเลิกสมาคมอุตสาหกรรมไทยเดิมเพื่อให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ และหนี้ของสมาคมมาอยู่ที่สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยภายใต้พระราชบัญญัติฉบับนี้ ทั้งนี้รวมถึงการดำเนินการอื่นใดเมื่อพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ

สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่