การประเมินคุณค่าของหลักฐานจะต้องพิจารณาดังนี้ ยกเว้นข้อใด ไม่ใช่

ประวัติศาสตร์ มีความหมายแบบกว้างๆ หมายถึง เหตุการณ์ในเกิดขึ้นในอดีต ซึ่งบางเหตุการณ์อาจไม่มีหลักฐานยืนยันที่ชัดเจน ทำให้นักประวัติศาสตร์ ศึกษาเรื่องราวเหล่านั้นผ่านกระบวนการที่เรียกว่า "วิธีการทางประวัติศาสตร์" โดยใช้ข้อมูลจากเอกสาร วัตถุ สถานที่ ฯลฯ ที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเพื่อประกอบการศึกษาวิเคราะห์ 

วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง?

วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการศึกษา วิเคราะห์ และตีความจากร่องรอยหลักฐานทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร และไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร แล้วนำมาเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ โดยใช้หลักเหตุผลอธิบายเหตุการณ์ และความเป็นมาต่างๆ ในอดีต ให้มีความใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด 

การศึกษาประวัติศาสตร์ ช่วยให้เราเข้าใจปัจจุบันมากยิ่งขึ้น วิธีการทางประวัติศาสตร์ จึงถูกใช้เป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยภูมิหลังในอดีต เพื่อให้ผู้ศึกษาพิจารณาหลักฐานอย่างรอบด้านก่อนสรุปผล อีกทั้งยังเป็นกระบวนการสร้างความน่าเชื่อถือให้กับชุดข้อมูลด้วย สำหรับวิธีการทางประวัติศาสตร์ 5 ขั้นตอน มีดังนี้

1. การกำหนดหัวข้อ
ถือเป็นขั้นตอนแรกที่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์จะต้องกำหนดเป้าหมาย และขอบเขตที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน ว่าต้องการศึกษาเรื่องอะไร เพราะเหตุใด อยู่ในความสนใจหรือไม่ แล้วจึงตั้งคำถามต่อสิ่งที่ต้องการศึกษา รวมถึงการประเมินเรื่องเวลา และทุนสำหรับวิจัย 

2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ตั้งสมมติฐานไว้สำหรับหัวข้อที่ต้องการศึกษา แล้วเริ่มค้นคว้าข้อมูล ความแตกต่างของการสืบค้นทางประวัติศาสตร์ ไม่สามารถใช้ชุดแบบสอบถามได้ แต่ต้องลงมือศึกษาหลักฐานต่างๆ ทั้งหลักฐานชั้นต้น และชั้นรอง เพื่อรวบรวมข้อมูลให้รอบด้าน และตรงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

3. ประเมินคุณค่าหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์จะใช้วิธีการประเมินคุณค่าของหลักฐานที่เรียกว่า การวิพากษ์ โดยพิจารณาว่าหลักฐานแต่ละชิ้นน่าเชื่อถือหรือไม่ สามารถนำมาใช้อ้างอิงได้หรือไม่ ตรวจสอบความแท้-เทียม อายุความเก่าแก่ ซึ่งบางครั้งอาจต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญทางโบราณคดี หรือใช้การพิสูจน์หลักฐานด้วยวิทยาศาสตร์

4. การตีความวิเคราะห์ข้อมูล
เมื่อคัดเลือกหลักฐานได้แล้ว ขั้นตอนต่อมาคือการตีความเจตนาที่แท้จริงของหลักฐาน ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ ขนาด รูปร่าง ลักษณะทางศิลปะ สภาพสังคม ฯลฯ วิเคราะห์ว่าหลักฐานและข้อมูลที่ได้รับแฝงคติความเชื่ออย่างไรบ้าง

5. การเรียบเรียงนำเสนอ
ขั้นตอนสุดท้ายของวิธีทางประวัติศาสตร์ เมื่อสรุปผลการศึกษาวิจัยได้แล้ว แบ่งออกเป็นการนำเสนอระดับพื้นฐาน เชิงบรรยาย งานเขียน และการนำเสนอระดับวิเคราะห์ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่ได้รับการฝึกฝนมาอย่างดี

ประวัติศาสตร์ทั้งกระแสหลักและกระแสรอง สามารถถูกปรับเปลี่ยนหรือถูกหักล้างลงได้ หากมีหลักฐานหรือชุดข้อมูลที่ใหม่กว่า น่าเชื่อถือกว่าปรากฏขึ้นมาสนับสนุน 

ทุกเรื่องราวประวัติศาสตร์ย่อมมีความเป็นมา และนัยที่ซ่อนไว้ในแต่ละยุคสมัย ทำให้การเขียนประวัติศาสตร์แต่ละฉบับ ย่อมมีจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน ประโยชน์ของวิธีการทางประวัติศาสตร์จึงเป็นการศึกษาวิจัยที่ช่วยให้เราเข้าสู่กระบวนการที่ "เข้าใกล้" ความจริงที่เคยเกิดขึ้นในอดีตมากที่สุดนั่นเอง

แบบทดสอบ

ตอนที่ 1 เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

1.  อะไรเป็นหัวใจสำคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์

     วิธีการทางประวัติศาสตร์

     ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์

     หลักฐานทางประวัติศาสตร์

      เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

2.     หนังสือพิมพ์ที่รายงานข่าวเป็นหลักฐานประเภทใด

             หลักฐานชั้นต้น

             หลักฐานชั้นรอง

             หลักฐานทุติยภูมิ

              หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

3.     ราชกิจจานุเบกษาเป็นหลักฐานประเภทใด

        ก     วรรณกรรม

             จดหมายเหตุ

             พระราชพงศาวดาร

              เอกสารปกครองหรือเอกสารราชการ

4.     ข้อใดไม่อยู่ในขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์

        ก     การกำหนดปัญหา

             การรวบรวมหลักฐาน

             การทดลองและบันทึกผล

              การเรียบเรียงและนำเสนอ

5.     แหล่งอารยธรรมของอินเดียอยู่บริเวณใด เป็นขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์

        ก     การกำหนดปัญหา

             การตีความหลักฐาน

             การเรียบเรียงและนำเสนอ

              การตรวจสอบและประเมินคุณค่าของหลักฐาน

6.     ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนในการตรวจสอบวิเคราะห์ และประเมินคุณค่าของหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์       

        ก     ค้นหาข้อมูลให้ได้มากที่สุด

             วิเคราะห์ความสำคัญของหลักฐาน

             ตรวจสอบหลักฐานว่าจริงหรือปลอม

              วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของหลักฐาน

7.     ขั้นตอนการตีความเพื่อตอบปัญหาของวิธีการทางประวัติศาสตร์ตรงกับขั้นตอนใดของวิทยาศาสตร์

        ก     การตรวจสอบสมมุติฐาน

             การกำหนดปัญหาหรือข้อสงสัย

             สรุปผลการทดลองเป็นข้อความรู้

              รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผลการทดลอง

8.  พระราชวังเดิมของกรุงธนบุรีมีวัดอะไร ขนาบอยู่ทั้ง 2 ด้าน

        ก     วัดแจ้ง วัดท้ายตลาด

             วัดแจ้ง วัดบางหว้าใหญ่

             วัดท้ายตลาด วัดบางหว้าน้อย

              วัดบางหว้าใหญ่ วัดบางหว้าน้อย

9. รัชกาลที่ 1 ทรงย้ายราชธานีจากธนบุรีไปยังฝั่งกรุงเทพฯ เพราะกรุงธนบุรีมีข้อสงสัยอย่างไร

             พื้นที่คับแคบ

             ค้าขายไม่สะดวก

             พื้นที่ใหญ่โตเกินไป

              เกิดภัยธรรมชาติบ่อย

10.  ผู้ที่มีอำนาจหน้าที่บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งด้านการทหารและพลเรือนคือใคร

        ก     จตุสดมภ์

             สมุหนายก

             กรมนครบาล

              สมุหพระกลาโหม

11.  กรมใดที่มีหน้าที่ดูแลเรื่องความยุติธรรมทั่วราชอาณาจักร

             กรมวัง

             กรมนา

             กรมคลัง

              กรมเมือง

12.  กฎหมายตราสามดวงมีขึ้นในรัชกาลใด

             รัชกาลที่ 1

             รัชกาลที่ 2

             รัชกาลที่ 3

              รัชกาลที่ 4

13.  การศาลในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีลักษณะสำคัญอย่างไร

        ก     ทุกกรมมีศาลของตนเอง

             เมื่อต้องการฟ้องร้องคดีต้องไปตีกลองวินิจฉัยเภรี

             ลูกขุน ณ ศาลหลวงมีหน้าที่ตัดสินคดีลงโทษผู้กระทำผิด

              ราษฎรมีสิทธิ์แต่งตั้งทนายความของตนได้ถ้าถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิด

14.  ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน

        ก     มีหน้าที่ดูแลทุกข์สุขของประชาชน ทั่วไป

             มีหน้าที่อบรมขุนนางให้ตั้งใจปฏิบัติงาน

             มีหน้าที่ดูแลข้าราชการให้ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่

              มีหน้าที่ถวายการปรึกษาเกี่ยวกับพระราชกำหนดกฎหมายต่าง ๆ

15. การปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลใด

             รัชกาลที่ 3

             รัชกาลที่ 4  

             รัชกาลที่ 5

              รัชกาลที่ 6

16.  ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

        ก     เศรษฐกิจตกต่ำ

             ได้รับแนวคิดจากตะวันตก

             อิทธิพลความคิดชาตินิยม

              ประชาชนไม่ได้รับการศึกษา

17. ข้อใดไม่อยู่ในหลัก 6 ประการของคณะราษฎร

       จะให้ราษฎรมีเสรีภาพ

       จะให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร

       จะรักษาความปลอดภัย ภายในประเทศ

        จะสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ

18. คณะรัฐมนตรีรัฐบาลพระยามโนปกรณ์ นิติธาดาเกิดความขัดแย้งกันในเรื่องใด

             การยกเลิกมณฑลเทศาภิบาล

             การงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา

             การสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7

              การพิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจ

19.  เค้าโครงการเศรษฐกิจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อะไร

        ก     สมุดปกเหลือง

             ระบบเศรษฐกิจ

             สมุดบันทึกการเมือง

              จดหมายเหตุการปกครอง

20.  หลัก 6 ประการของคณะราษฎรกล่าวถึงเรื่องอะไรเป็นเรื่องแรก

        ก     บำรุงเศรษฐกิจ

             ให้ราษฎรมีเสรีภาพ

             ให้การศึกษาแก่ราษฎร

              รักษาความเป็นเอกราช

21.  เพราะเหตุใดจอมพล ป. พิบูลสงครามจึงสิ้นอำนาจทางการเมือง

        ก     เกิดกบฏวังหลวง

             เกิดกบฏแมนฮัตตัน

             เกิดรัฐประหาร พ.ศ. 2494

              เกิดรัฐประหาร พ.ศ. 2500

22.  ใครที่ปกครองบ้านเมืองในระบอบเผด็จการทหาร

        ก     นายสัญญา ธรรมศักดิ์

             นายธานินทร์ กรัยวิเชียร

             จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์

              พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ

 23.  ข้อใดหมายถึงกลุ่มอนุรักษนิยม

             กลุ่มแรงงาน

             กลุ่มนักศึกษา

             กลุ่มเกษตรกร

              กลุ่มกระทิงแดง

24.  ในช่วงเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 มีการปกครองแบบใด

             เผด็จการ

             ราชาธิปไตย

             คอมมิวนิสต์

              ประชาธิปไตย

25.  การบริหารประเทศของนายธานินทร์ กรัยวิเชียรมีนโยบายที่เป็นขวาจัด หมายความว่าอย่างไร

        ก     เน้นทุนนิยม

             เน้นสังคมนิยม

             เน้นคอมมิวนิสต์

              เน้นประชาธิปไตย

26.  ใครคือหัวหน้าคณะรัฐบาลพลเรือนที่มาจากพรรคการเมืองและมาจากการเลือกตั้ง สมัยแรกหลังเหตุการณ์นองเลือด พฤษภาคม 2535

        ก     นายชวน หลีกภัย

             นายบรรหาร ศิลปอาชา

             นายอานันท์ ปัญญารชุน

              พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ

27.  ขุนนางในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นที่มี ศักดินา 30,000 มีบรรดาศักดิ์อะไร           

        ก     ขุน

             หลวง

             เจ้าพระยา

              สมเด็จเจ้าพระยา

28.  เงินค่าธรรมเนียมที่รัฐเรียกเก็บจากผู้ชาย ชาวจีนในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเรียกว่าอะไร

        ก     ส่วย

             พัทยา

             ค่าผูกปี้

              เกณฑ์เฉลี่ย

29.  การสูญเสียดินแดนของไทยครั้งใดถือเป็นครั้งใหญ่ที่สุด

        ก     เสียมณฑลบูรพา

             เสียแคว้นสิบสองจุไทย

             เสียดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขง

              เสียดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง

30.  สนธิสัญญาเบาว์ริงเป็นสนธิสัญญาที่ไทย เสียเปรียบในด้านใดบ้าง

        ก     ทำให้อังกฤษเป็นชาติอภิสิทธิ์

             ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต

        ค     ไทยถูกจำกัดให้เก็บภาษีขาเข้าได้ร้อยละ 3 ของสินค้า

              ถูกทุกข้อ

31.  ผลประโยชน์ที่ไทยได้รับจากการทำสนธิสัญญาเบาว์ริงคืออะไร

        ก     ได้เก็บภาษีเพิ่มขึ้นตั้งแต่ระยะแรกของ สัญญา

             ยังคงรักษาอำนาจอธิปไตยของศาล เอาไว้ได้เหมือนเดิม

             พืชผลทางการเกษตรและวัตถุดิบของไทยขายดีทำให้เศรษฐกิจ เจริญก้าวหน้า

              พ่อค้าอังกฤษสามารถติดต่อค้าขาย กันได้สะดวก สามารถทำกำไรได้ดี

32.  สนธิสัญญาฉบับใดที่ส่งผลให้ไทย

        เสียเปรียบอังกฤษมาโดยตลอด

             สนธิสัญญาเบาว์ริง

             สนธิสัญญาเบอร์นีย์

             สนธิสัญญาแวร์ซาย

              ไม่มีข้อใดถูก

33.  สนธิสัญญาเบาว์ริงส่งผลดีต่อประเทศไทย ในด้านใดมากที่สุด

        ก     การเศรษฐกิจ

             การต่างประเทศ

             การเมืองการปกครอง

              การรับวิทยาการใหม่ ๆ

 34.  ในสมัยรัชกาลที่ 5 กระทรวงใดมีหน้าที่ ดูแลการเก็บภาษีอากร

        ก     กระทรวงวัง

             กระทรวงมุรธาธิการ

             กระทรวงยุทธนาธิการ

        ง      กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ

35.  สงครามมหาเอเชียบูรพาเกี่ยวข้องกับข้อใด

        ก     สงครามเย็น

             สงครามโลกครั้งที่ 1

             สงครามโลกครั้งที่ 2

        ง      ถูกทุกข้อ

36.  ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ฝ่ายพันธมิตรคือใคร

        ก     ญี่ปุ่น

             อิตาลี

             อังกฤษ

              เยอรมนี

37.  ขมิ้นชันนำมารักษาอาการท้องอืด เป็นภูมิปัญญาด้านใด

             ด้านเกษตรกรรม

             ด้านการแพทย์แผนใหม่

             ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน

              ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

38.  การแกะสลักผักผลไม้ให้สวยงามเป็นภูมิปัญญาด้านใด

        ก     ด้านโภชนาการ

             ด้านภาษาและวรรณกรรม

             ด้านปรัชญา ศาสนา ประเพณี

              ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

39. ข้อใดไม่ได้อยู่ในโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ

        ก     โครงการแก้มลิง

             โครงการฝนหลวง

             การเพาะพันธุ์เลี้ยงปลานิล

              โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา

40.    ข้อใดคือประโยชน์อย่างที่ 4 แนวพระราชดำริ ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง

     เป็นไม้สำหรับใช้สอย

     เป็นไม้ผลรับประทานได้

     เป็นการอนุรักษ์ดินและน้ำ

      เป็นไม้สำหรับเป็นเชื้อเพลิง

41. บุคคลใดต่อไปนี้อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยไม่ถูกต้อง

     สุดาสอนกุ้งทำอาหารไทย

     มาลีพาน้องไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์

     มานะนำเศียรพระไปขายชาวต่างชาติในราคาสูง

      เภสัชกรนงค์นำสมุนไพรไทยมาพัฒนาบรรจุเป็นแคปซูล

42.  ข้อใดหมายถึงประเพณีชาวบ้าน

        ก     พิธีโล้ชิงช้า

             พิธีบวชนาค

             สวดภาณยักษ์

              การขึ้นบ้านใหม่

43.  ละครในที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นคือเรื่องอะไร

        ก     ไกรทอง

             รามเกียรติ์

             นิราศลอนดอน

              พระรามเดินดง

44.  ข้อใดไม่ใช่พระราชนิพนธ์ของ พระบาสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

        ก     เงาะป่า

             ไกรทอง

             ลิลิตนิทราชาคริต

              พระราชพิธีสิบสองเดือน

45.  ข้อใดเป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยผสมกับ  ตะวันตก

        ก     วัดเทพศิรินทราวาส

             พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

             วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม

              วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม

46.  สมัยรัชกาลใดที่นาฏกรรมเฟื่องฟูมาก

        ก     รัชกาลที่ 3

             รัชกาลที่ 4

             รัชกาลที่ 5

              รัชกาลที่ 6

47.  ทิศตะวันออกของทวีปออสเตรเลียติดกับ  อะไร

        ก     ทะเลติมอร์

             ทะเลคอรัล

             ทะเลอาราฟูรา

              มหาสมุทรอินเดีย

48. เศรษฐกิจของออสเตรเลียขึ้นอยู่กับอะไร

        ก     การประมง

             การเลี้ยงสัตว์

             การเพาะปลูก

              การเก็บของป่า

49.  แหล่งกำเนิดอารยธรรมที่เก่าแก่ของโลก  อยู่ในทวีปแอฟริกาคือบริเวณใด

        ก     ชายฝั่งอ่าวกินี

             ที่ราบลุ่มน้ำไนล์

             ที่ราบลุ่มน้ำไนเจอร์

              ชายฝั่งทะเลทางตะวันตกเฉียงเหนือ

50. ชาวยุโรปคนแรกที่เดินทางมาถึงแหลมกู๊ด โฮปคือใคร

     วัสโก ดา กามา

     บาร์โทโลมิว ดีอัส

     เฟอร์ดินันด์ มาเจลลัน

      เซบาสเตียน เดล กาโน

51.  อารยธรรมกรีกและอารยธรรมโรมันอยู่ใน ทวีปใด

             ทวีปยุโรป

             ทวีปอแฟริกา

             ทวีปอเมริกาใต้

              ทวีปอเมริกาเหนือ

52.  ข้อใดเป็นคริสต์ศาสนานิกายใหม่ที่เกิดขึ้น ในทวีปยุโรป

        ก     คาทอลิก

             ออธอดอกซ์

             โปรเตสแตนส์

              ไม่มีข้อใดถูก

 53.  คริสต์ศาสนานิกายใดที่แพร่หลายในยุโรป  ตอนเหนือ

        ก     คาทอลิก

             ออธอดอกซ์

             โปรเตสแตนส์

              ไม่มีข้อใดถูก

54.  ใครที่ค้นพบดินแดนทวีปอเมริกาเหนือ เป็นคนแรก

             อเมริโก เวสปุชชี

             คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส

     เฟอร์ดินันด์ มาเจลลัน

      เซบาสเตียน เดล กาโน

55.  คำว่า อเมริกา มาจากชื่อของนักสำรวจ  คนใด

        ก     วาสโก ดา กามา

        ข     อเมริโก เวสปุชชี

     เฟอร์ดินันด์ มาเจลลัน

      เซบาสเตียน เดล กาโน

56.  เมื่อสงครามกลางเมืองยุติลง อะไรที่ทำให้  สหรัฐอเมริกาเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว

        ก     มีกำลังคนมาก

             มีทรัพยากรมาก

             ผู้นำมีความสามารถ

              ประชาชนเชื่อฟังผู้นำ

57.  ทิศตะวันออกของทวีปอเมริกาใต้ติดกับ  อะไร

        ก     ช่องแคบเดรก

             ทะเลแคริบเบียน

             มหาสมุทรแปซิฟิก

              มหาสมุทรแอตแลนติก

58.  สงครามแย่งชิงทุ่งหญ้ากรันชาโกเป็น สงครามระหว่างใครกับใคร

        ก     อังกฤษกับฝรั่งเศส

             ปารากวัยกับโบลิเวีย

             อุรุกวัยกับเวเนซุเอลา

              อาร์เจนตินากับบราซิล

 59.  ข้อใดคือชาวเลือดผสมระหว่างชาวยุโรป กับคนผิวดำ

             เมสติโซ

             เอสกิโม

             มูแลตโต

              อินเดียน

60.  อารยธรรมใดที่เกิดขึ้นบริเวณลุ่มน้ำไทกรีส และยูเฟรทีส

             อารยธรรมกรีก

             อารยธรมอียิปต์

             อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

              อารยธรรมในเอเชียไมเนอร์

61.  ประมวลกฎหมายฮัมมูราบีเป็นของชนกลุ่มใด

        ก     สุเมเรียน

             อามอไรต์

             คาลเดียน

              อัสซีเรียน

62.  ชาวฮิตไทต์มีความชำนาญในด้านไหน

        ก     การค้า

             การรบ

             การเดินเรือ

              การปกครอง

63.  พระราชวังซาร์กอนที่คอร์ซาบัดเกี่ยวข้องกับชนกลุ่มใด

        ก     ฮิตไทต์

             อัสซีเรีย

             สุเมเรียน

              คาลเดียน

64.  ชาวอียิปต์ประดิษฐ์อักษรภาพเรียกว่าอะไร

        ก     ลิ่ม

             คูนิฟอร์ม

             ไฮโรกลิฟิก

              ไม่มีข้อใดถูก

65.  ชาวฮิบรูนับถือศาสนาอะไร

        ก     ยูดาห์

             อิสลาม

             พระพุทธศาสนา

              คริสต์ศาสนา

66.  กฎหมายสิบสองโต๊ะเกี่ยวข้องกับอารยธรรมใด

        ก     อารยธรรมกรีก

             อารยธรรมโรมัน

             อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

              อารยธรรมในเอเชียไมเนอร์

67.  ใครที่บุกเบิกเส้นทางเดินเรือจากทวีปยุโรป ไปยังทวีปเอเชียได้สำเร็จ

        ก     เจมส์ คุก

             วัสโก ดา กามา

             คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส

              เฟอร์ดินันด์ มาเจลลัน

68.  พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายด้านยกเว้นข้อใด

        ก     ด้านศิลปะ

             ด้านแนวคิด

             ด้านการศึกษา

              ด้านเทคโนโลยี

69.  ใครคือนักมนุษยนิยม

        ก     ราฟาเอล

             ฟรันเซสโก เปซาก

             เลโอนาร์โด ดา วินซี

              เกลันเจโล บูโอนาร์โรตี

70.  ข้อใดหมายถึงกลุ่มประเทศไตรภาคี

        ก     อิตาลี

             ฝรั่งเศส

             เยอรมนี

              ออสเตรีย-ฮังการี

71.  ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1

    ก         ลัทธิชาตินิยม

             ลัทธิสังคมนิยม

             การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม

    ค         ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน 

72.  ข้อใดเป็นผลของสงครามโลกครั้งที่ ด้านการเมือง

        ก     เกิดมหาอำนาจใหม่

             เกิดปัญหาชนพลัดถิ่น

             ทำให้เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก

              เกิดปัญหาคนบาดเจ็บทุพพลภาพ

73.  สาเหตุที่ทำให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 คือ อะไร

        ก     ลัทธิชาตินิยม

             ลัทธิจักรวรรดินิยม

             ความอ่อนแอของสันนิบาตชาติ

              ถูกทุกข้อ

74.  หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้เผชิญกับวิกฤตการณ์สำคัญในเรื่องใด

             เศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง

             การเรียกร้องเอกราชของเยอรมนี

             การสะสมอาวุธในดินแดนอาณานิคม

              การแบ่งแยกดินแดนของออสเตรีย ฮังการี

75. การที่เยอรมนีจมเรือซัสเซกของฝรั่งเศสมีผลอย่างไรตามมา

             ฝรั่งเศสยอมแพ้

    ข         สหรัฐอเมริกาเข้าช่วยฝรั่งเศส

             ฝรั่งเศสประกาศสงครามกับเยอรมนี

              สหรัฐอเมริกาประกาศสงครามกับเยอรมนี

76.  สงครามเย็นเกิดจากความขัดแย้งทางด้านใด

             ศาสนา

             เชื้อชาติ

             อุดมการณ์ทางการเมือง

    ง          ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ

 77.  ประเทศใดที่เป็นผู้ริเริ่มตั้งองค์การสันนิบาตชาติ

        ก     อังกฤษ

             ฝรั่งเศส

             เยอรมนี

              สหรัฐอเมริกา       

78.  องค์การใดที่จัดตั้งเพื่อความร่วมมือด้านนโยบายน้ำมันและช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจระหว่างภาคีสมาชิก

        ก     อียู

             นาโต

             โอเปก

              แกรตต์

79.  องค์การใดที่ให้เงินอุดหนุนสินค้าเกษตรที่ประเทศสมาชิกส่งออกไปจำหน่ายยังตลาดโลก

        ก     เขตการค้าเสรี

             องค์การการค้าโลก

             สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป

              เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ

การประเมินคุณค่าของหลักฐานควรพิจารณาจากสิ่งใด

การประเมินคุณค่าของหลักฐาน หรือการวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและ ข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดย ขั้นตอนทั้งสอง จะกระท าควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูล ภายในหลักฐานนั้น และในการวิพากษ์ข้อมูล ...

การประเมินภายในต้องพิจารณาเกี่ยวกับอะไร

2. การประเมินภายใน เป็นการประเมินสิ่งที่ปรากฏบนหลักฐาน อาทิ ตัวอักษร รูปภาพ ร่องจารึก ตำหนิ ว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด มีข้อความใดที่น่าสงสัย หรือกล่าวไว้ไม่ถูกต้อง ตัวอย่าง ปีที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงสร้างพระวิหารวัดจุฬามณี เมืองพิษณุโลก ในพระราชพงศาวดารฉบับต่างๆ ระบุไว้ตรงกันบ้างไม่ตรงกันบ้าง เช่น

การประเมินคุณค่าของหลักฐานมีกี่ประเภท

ในการตรวจหลักฐานว่ามีคุณค่าและความน่าเชื่อถือเพียงพอหรือไม่ก่อนที่จะนามาใช้ศึกษา ประวัติศาสตร์ วิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ 1) การประเมินภายนอก การพิจารณาจากลักษณะภายนอกของหลักฐาน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้รู้จักตัวหลักฐานนั้นเป็นอย่างดีรวมทั้งรู้ว่าเป็นหลักฐานจริงหรือปลอม สิ่งที่ควรพิจารณา ...

การประเมินคุณค่าภายนอกของหลักฐานคืออะไร

การประเมินหลักฐานภายนอกเป็นการประเมินตัวหลักฐานจากภายนอกว่าใครเป็นผู้บันทึก หลักฐานนั้น ผู้บันทึกหลักฐานมีสถานภาพใดในขณะนั้น บันทึกขึ้นโดยจุดมุ่งหมายใด มีความเป็นกลาง เพียงใด ทั้งนี้เพราะบางครั้งผู้บันทึกอาจบันทึกขึ้นโดยคำาสั่งของผู้มีอำานาจ หรือบันทึกจากอคติส่วนตัว โดยยึดผลประโยชน์และมุมมองของตนเป็นสำาคัญ

การประเมินคุณค่าของหลักฐานควรพิจารณาจากสิ่งใด การประเมินภายในต้องพิจารณาเกี่ยวกับอะไร การประเมินคุณค่าของหลักฐานมีกี่ประเภท การประเมินคุณค่าภายนอกของหลักฐานคืออะไร การประเมินคุณค่าของหลักฐาน ควรจะพิจารณาจากสิ่งใดมากที่สุด เพราะเหตุใด จึงต้องมีการประเมินคุณค่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ถ้านักเรียนสนใจศึกษาเรื่อง การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ ควรดำเนินการในข้อใดเป็นขั้นตอนแรก นักเรียนควรฝึกฝนความสามารถในข้อใด เพื่อประโยชน์ ในการตีความข้อมูล ข้อใดเป็นความหมายของ วิธีการทางประวัติศาสตร์ ใบงานที่ 1.1 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน