ราชภัฏสุราษฎร์ธานี เสาร์ อาทิตย์ 65

ราชภัฏสุราษฎร์ธานี เสาร์ อาทิตย์ 65

Advertisement

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี รับสมัครบุคคลเข้าศึกษาตามโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น (กศ.บท.) ระดับปริญญาตรี ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จัดการเรียนการสอนวันเสาร์-อาทิตย์ เลือกเรียนที่สุราษฎร์ธานีหรือเกาะสมุยก็ได้

ราชภัฏสุราษฎร์ธานี เสาร์ อาทิตย์ 65

จำหน่ายใบสมัคร

6 มิถุนายน – 17 กรกฎาคม 2559

รับสมัคร:

13 – 17 กรกฎาคม 2559 ระหว่างเวลา 08.30 – 16.00 น.

เรียนที่ไหนสมัครที่นั่น

- เรียนที่สุราษฎร์ธานี ซื้อใบสมัครและสมัครที่ สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ชั้น 1 อาคารกาญจนาภิเษกอนุสรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
- เรียนที่เกาะสมุย ซื้อใบสมัครและสมัครที่ ฝ่ายธุรการ วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ต.บ่อผุด อ.เกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี

ค่าเอกสารแนะนำการสมัคร

ใบสมัคร ชุดละ 200 บาท
ค่าสมัคร 300 บาท

สาขาที่เปิดรับสมัคร
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
สาขาการเมืองการปกครอง
สาขารัฐประศาสนศาสตร์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์
สาขาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชั่น
สาขาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม

คณะวิทยาการจัดการ

สาขาธุรกิจเกษตร
สาขาธุรกิจอาหาร
บริหารธุรกิจ แขนงวิชาการตลาด
บริหารธุรกิจ แขนงวิชาการจัดการทั่วไป
บริหารธุรกิจ แขนงวิชาการบริหารทรัพย์ฯ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาการเงินการธนาคาร
สาขาการจัดการโลจิสติกส์
สาขาการบัญชี
สาขาเศรษฐศาสตร์
นิเทศศาสตร์ แขนงวิชาการสื่อสารมวลชน

หลักสูตรเทียบโอน

บริหารธุรกิจ แขนงวิชาการจัดการทั่วไป
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาการจัดการโลจิสติกส์
สาขาการบัญชี

วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว

สาขาการท่องเที่ยว

คณะนิติศาสตร์

สาขานิติศาสตร์

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม

สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โทร. 077 913333 ต่อ 3902 หรือ 077 319357

ที่มา http://www.sru.ac.th/

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
Suratthani Rajabhat University
ราชภัฏสุราษฎร์ธานี เสาร์ อาทิตย์ 65

ตราพระราชลัญจกร
สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย

ชื่อย่อมรส. / SRU
คติพจน์สร้างปัญญา พัฒนาท้องถิ่น
สถาปนา15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 (18 ปี)
ประเภทสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
อธิการบดีผศ.ดร.วัฒนา รัตนพรหม
รักษาราชการแทนอธิการบดี
นายกสภาฯวิชัย ศรีขวัญ
ที่ตั้งเลขที่ 272 หมู่ 9 ตำบลขุนทะเล อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84100
สีประจำสถาบัน████ สีฟ้า สีแดง
เพลงดาวราชภัฏสุราษฎร์ธานี
เว็บไซต์www.sru.ac.th

ดูบทความหลักที่: มหาวิทยาลัยราชภัฏ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (อังกฤษ: Suratthani Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เปิดการเรียนการสอนในระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโท และ ปริญญาเอก เป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏอันดับกลางของประเทศ เป็นหนึ่งใน 4 มหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ของภาคใต้ และมีโครงการก่อสร้างอาคารใหม่รวมถึงเปิดคณะเพิ่มขึ้น

ประวัติ[แก้]

ในปี พ.ศ. 2516 ได้มีการจัดตั้ง "วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี" โดยเปิดสอนในสาขาวิชาครุศาสตร์ หลังจากนั้น พ.ศ. 2528 ได้เพิ่มการเรียนการสอนในสาขาอื่น ๆ นอกจากครุศาสตร์ และได้รวมกับกลุ่มวิทยาลัยครูทางภาคใต้ 5 แห่ง จัดตั้ง "สหวิทยาลัยทักษิณ" โดยมีสำนักงานของสหวิทยาลัยครูอยู่ที่วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี

ต่อมา ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อ "วิทยาลัยครู" มีผลให้ "วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี" เปลี่ยนชื่อเป็น"สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี" และยกฐานะเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี" ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา และเคยมีโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยภาคใต้ตอนบน โดยเป็นการยุบรวมมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีเข้าด้วยกัน แต่ก็มีการยกเลิกโครงการไป

ราชภัฏสุราษฎร์ธานี เสาร์ อาทิตย์ 65

ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

ราชภัฏสุราษฎร์ธานี เสาร์ อาทิตย์ 65

ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีแบบลายเส้น

สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย[แก้]

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนาม “ราชภัฏ” ซึ่งหมายความว่าปราชญ์ของพระราชาและพระราชทานตราพระราชลัญจกรประจำพระองค์ให้สถาบันราชภัฏได้อัญเชิญมาเป็นตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีลักษณะเป็นวงรีสองวงซ้อนกัน โดยวงรีวงนอกเป็นเส้นเดี่ยว ส่วนวงรีวงในเป็นเส้นคู่ ภายใต้วงรีด้านในมีตราพระราชลัญจกรประจำพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ซึ่งเป็นรูปพระที่นั่งอัฐทิศประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักรมีอักขระเป็นอุหรือเลข ๙ รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักรเป็นรูปเศวตฉัตรเจ็ดชั้น ตั้งอยู่บนพระที่นั่งอัฐทิศ แปลความหมายว่าทรงมีพระบรม เดชานุภาพในแผ่นดิน ระหว่างวงรีทั้งสองด้านบนเป็นอักษรภาษาไทยมีรูปทรงอักษรเป็นแบบล้านนาและอักษรขอมว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ด้านล่างเป็นอักษรภาษาอังกฤษ รูปทรงเป็นแบบอักษรโรมัน แบบ Gothic หรือตัวอักษรแบบ Old English ความว่า SURATTHANI RAJABHAT UNIVERSITY ความหมายของชุดอักษรไทยและอังกฤษดังกล่าวแทนค่าถึงความรู้สึกในการสื่อสารร่วมสมัยและแสดงความสูงส่งแห่งสถาบันพระมหากษัตริย์ สีของตราประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีมี 5 สี โดยมีความหมาย ดังนี้

สีน้ำเงิน แทนค่าสถาบันพระมหากษัตริย์ผู้ให้กำเนิด และพระราชทานนาม “มหาวิทยาลัยราชภัฏ”

สีเขียว แทนค่าแหล่งที่ตั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏซึ่งอยู่ในแหล่งธรรมชาติและมีสภาพแวดล้อมที่สวยงาม

สีทอง แทนค่าความเจริญรุ่งเรืองทางภูมิปัญญา

สีส้ม แทนค่าความรุ่งเรืองทางศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ก้าวไกลในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

สีขาว แทนค่าความคิดอันบริสุทธิ์ของนักปราชญ์แห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

คณะ[แก้]

ราชภัฏสุราษฎร์ธานี เสาร์ อาทิตย์ 65

หอประชุมวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

คณะครุศาสตร์ Archived 2014-07-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน[แก้]

หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต(ค.บ.)

  • สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
  • สาขาวิชาวิทยาศาสตร์
  • สาขาวิชาคณิตศาสตร์
  • สาขาวิชาภาษาไทย
  • สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
  • สาขาวิชาสังคมศึกษา
  • สาขาวิชาศิลปศึกษา
  • สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
  • สาขาวิชาเคมี
  • สาขาวิชาฟิสิกส์

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์[แก้]

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต(ศศ.บ.)[แก้]

  • สาขาวิชาการจัดการทางวัฒนธรรม
  • สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
  • สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
  • สาขาวิชาภาษาไทยธุรกิจ
  • สาขาวิชาภาษาไทย(สำหรับนักศึกษาจีน)
  • สาขาวิชาภาษาจีน(สำหรับนักศึกษาไทย)
  • สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์
  • สาขาวิชาการพัฒนาชุมชนและองค์กร

หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต(ศป.บ.)[แก้]

  • สาขาวิชาดนตรีสากล
    • แขนงโยธวาทิต
    • แขนงดนตรีสมัยนิยม
  • สาขาวิชาจิตกรรม

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต(รป.บ.)[แก้]

  • สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต(ร.บ.)[แก้]

  • สาขาวิชาการเมืองการปกครอง

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี[แก้]

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต(วท.บ.)[แก้]

  • สาขาวิชาฟิสิกส์
  • สาขาวิชาชีววิทยา
  • สาขาวิทยาศาสตร์การอาหาร
  • สาขาวิชาเคมี
  • สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชัน
  • สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  • สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน
  • สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ Archived 2017-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • สาขาวิชาพืชศาสตร์
  • สาขาวิชาสัตวศาสตร์
  • สาขาวิชาการจัดการภัยพิบัต
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
  • สาขาวิชาไฟฟ้าอุตสาหกรรม
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม(หลักสูตรเทียบ)
  • สาขาวิชาไฟฟ้าอุตสาหกรรม (หลักสูตรเทียบ)

คณะวิทยาการจัดการ[แก้]

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต(บธ.บ.)[แก้]

  • สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร
  • สาขาวิชาการตลาด
  • สาขาวิชาการตลาด 3+1(เรียน 3 ปี ฝึกงาน 1 ปี)
  • สาขาวิชาการจัดการทั่วไป
  • สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
  • สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
  • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
  • สาขาวิชาธุรกิจการเกษตร
  • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจอาหาร

หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต(ศ.บ.)[แก้]

  • สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์

หลักสูตรบัณชีบัณฑิต(บช.บ.)[แก้]

  • สาขาวิชาบัญชี

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต(นศ.บ.)[แก้]

  • สาขาวิชานิเทศศาสตร์
    • แขนงวิชานิเทศศาสตร์ประชาสัมพันธ์
    • แขนงวิชานิเทศศาสตร์การสื่อสารมวลชน

คณะนิติศาสตร์[แก้]

หลักสูตรนิติศาสตร์บัณฑิต(น.บ.)[แก้]

  • สาขาวิชานิติศาสตร์
  • สาขาวิชานิติศาสตร์(ภาคบัณฑิต)

คณะพยาบาลศาสตร์ [แก้]

หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต(พย.บ.)[แก้]

  • สาขาพยาบาลศาสตร์

วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว [แก้]

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต(บธ.บ.)[แก้]

  • สาขาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการบริการระหว่างประเทศ
    • แขนงวิชาการจัดการโรงแรม

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต(ศศ.บ.)[แก้]

  • สาขาธุรกิจการบิน
  • สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

บัณทิตวิทยาลัย[แก้]

หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต[แก้]

  • สาขาวิชาภาวะผู้นำการจัดการศึกษา

หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต[แก้]

  • สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
  • สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
  • สาขาคณิตศาสตร์ศึกษา
  • สาขาการสอนภาษาอังกฤษเพื่อวิชาการและงานอาชีพ
  • สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต[แก้]

  • สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา
  • สาขาการจัดการชุมชนท้องถิ่น

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต[แก้]

  • สาขาวิชาบริหารธุรกิจ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต[แก้]

  • สาขาสิ่งแวดล้อมศึกษา

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต[แก้]

  • สาขารัฐประศาสนศาสตร์

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต[แก้]

  • สาขาสาธารณสุขศาสตร์

หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต[แก้]

  • สาขาวิชาการเมืองการปกครอง

หลักสูตรประกาศนียบัตร (ป.บัณฑิตวิชาชีพครู)[แก้]

  • สาขาวิชาชีพครู (สำหรับผู้ที่ไม่ได้จบวุฒิครูในปริญญาตรีสาขาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ แต่ต้องเป็นครูอัตราจ้างสอนในสถานศึกษาเท่านั้น)

หน่วยงาน[แก้]

  • สภามหาวิทยาลัย
  • สำนักงานอธิการบดี Archived 2014-04-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • สำนักจัดการทรัพย์สิน Archived 2014-06-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
  • สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
  • สำนักงานกิจการภายนอก
  • สถาบันวิจัยและพัฒนา
  • สำนักประกันคุณภาพการศึกษา
  • โครงการจัดตั้งศูนย์อาเซียนและพัฒนา

ศูนย์[แก้]

  • ศูนย์คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
  • ศูนย์ภาษา
  • หอสมุดกลาง
  • ศูนย์วิทยาศาสตร์
  • ศูนย์เอกสารตำรา
  • ศูนย์วิทยสนเทศ AIC
  • ศูนย์สหกิจศึกษา
  • ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
  • ศูนย์เครือข่าย สมศ. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

ฝ่าย/กอง[แก้]

  • กองแผนงาน
  • กองกลาง
  • กองการเจ้าหน้าที่
  • กองคลัง
  • งานพัสดุ
  • กองพัฒนานักศึกษา

กองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น[แก้]

  • กองตรวจสอบภายใน
  • ฝ่ายสื่อสารองค์กร

วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว[แก้]

วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นคณะที่ 6 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เมื่อเดือนเมษายน 2548 ดำเนินการจัดการเรียนการสอน สำหรับนักศึกษาภาคปกติและนักศึกษา ภาค กศ.บท. เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับประชาชนในท้องถิ่น ทั้งในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยวอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจัดการเรียนการสอนใน สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว แขนงธุรกิจการบิน ให้แก่พนักงานของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ที่กรุงเทพมหานคร ตามข้อตกลงโครงการความร่วมมือทางวิชาการ และเทคโนโลยีระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี กับ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) อีกด้วย

หลักสูตรการศึกษา[แก้]

หลักสูตรการศึกษาวิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โดยเปิดสอนทั้งหมด ดังนี้ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต[แก้]

  • สาขาวิชาธุรกิจการบิน 4 ปี
  • สาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม 4 ปี

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต[แก้]

  • สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการบริการระหว่างประเทศ 4 ปี
    • แขนงการจัดการโรงแรม

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี