เรียนอาหารและโภชนาการ

เรียนรู้และฝึกทักษะการประกอบอาหารตามหลักโภชนาการ และการสุขาภิบาลอาหารตามมาตรฐาน GMP โดยคำนึงถึงความปลอดภัยในด้านอาหาร การปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น วางแผนดำเนินงานบริการอาหารและเครื่องดื่มในการจัดงานเลี้ยงประเภทต่างๆแบบครบวงจรในเชิงธุรกิจ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน

ปัจจุบันวัฒนธรรมด้านอาหาร ได้รับการตอบรับจากบุคคลทั่วไปมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน โดยอาหารแต่ละชนชาตินั้นมีความแตกต่างกัน ในส่วนของวัตถุดิบ วิธีการประกอบอาหาร รวมทั้งศิลปะในการตกแต่งอาหารที่หลากหลายและทันสมัย ทำให้การประกอบอาหารนานาชาติเป็นที่ยอมรับและเป็นที่น่าสนใจมากขึ้น

นักโภชนาการ, นักวิจัยและนักวิชาการ/ที่ปรึกษา, นักกำหนดอาหาร, อาจารย์, เจ้าของธุรกิจทางด้านอาหารและโภชนาการ, ผู้ช่วยหัวหน้าพ่อครัวอาหารไทย, ผู้ช่วยหัวหน้าพ่อครัวขนมไทย, ผู้ช่วยหัวหน้าพ่อครัวอาหารนานาชาติ, ผู้ช่วยหัวหน้าพ่อครัวผลิตภัณฑ์เบเกอรี่, ผู้ช่วยพนักงานสาธิตอาหาร, ผู้ถนอมและแปรรูปอาหาร, ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, ผู้ผลิตเครื่องดื่มและไอศกรีม, ผู้ดำเนินธุรกิจอาหาร ฯลฯ

สมัครเรียนทำอย่างไร

ระบบรับตรง โครงการ KU ADMISSION (พฤศจิกายน-ธันวาคม)
- สำเร็จการศึกษาหรือกำลังศึกษา ชั้นม.6 แผนการเรียน วิทย์-คณิต
- มีผลการเรียนรวม GPAX ไม่ต่ำกว่า 2.50
- มีผลคะแนนสอบ9 วิชาสามัญ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ, คณิตศาสตร์1, ฟิสิกส์, เคมี และชีววิทยา

แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30% (เกณฑ์ขั้นต่ำวิชา03 (ภาษาอังกฤษ) = 16%)
- GAT 10%
- PAT1 (คณิตศาสตร์) 10%
- PAT2 (วิทยาศาสตร์) 30%

  • เรียนอาหารและโภชนาการ
  • เรียนอาหารและโภชนาการ
  • เรียนอาหารและโภชนาการ
  • เรียนอาหารและโภชนาการ
  • เรียนอาหารและโภชนาการ

ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร

114, 400 บาท

รายละเอียดค่าใช้จ่าย

14, 300 บาท/เทอม

เรียนอาหารและโภชนาการ

เกษตร สาขาอาหารและโภชนาการ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.comหลักเกณฑ์การให้คะแนน

ชื่อคณะ

คณะเกษตร  (Program in Food and Nutrition)

ชื่อสาขา

อาหารและโภชนาการ  (Bachelor of Science Program in Food and Nutrition)

ชื่อปริญญา

วท.บ. (อาหารและโภชนาการ)  (วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาหารและโภชนาการ))

เนื้อหาวิชา

รายละเอียดหลักสูตร

คำอธิบายหลักสูตร

คุณสมบัติ

คุณสมบัติทั่วไป

1. เป็นผู้ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
2. เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายปีที่ 6 หรือเป็นผู้สำเร็จการศึกษาชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หรือประกาศนียบัตรอื่น ที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่า สำหรับผู้สมัครที่จบหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน สายสามัญ ต้องมีคุณสมบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการดำเนินงานการศึกษานอกโรงเรียน สายสามัญศึกษา (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2544
3. เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติเฉพาะ ตามที่ คณะ/สาขาวิชา กำหนด
4. เป็นผู้ไม่มีโรคติดต่อร้ายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ หรือโรคสำคัญที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
5. เป็นผู้มีความประพฤติเรียบร้อย และรับรองต่อมหาวิทยาลัยได้ว่าจะตั้งใจศึกษาเล่าเรียนเต็มความสามารถ และจะปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยที่มีอยู่แล้ว หรือที่จะ มีต่อไปโดยเคร่งครัดทุกประการ

1. คุณสมบัติเฉพาะ ได้แก่ คะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) 5 ภาคการศึกษา และแผนการเรียน
2. เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือก ตามที่คณะ/สาขาวิชากำหนด ได้แก่
     1. ผลคะแนนทดสอบวิชาสามัญ 7 วิชา ปีการศึกษา 2558 จัดสอบโดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ในการประมวลผลการคัดเลือกเข้าศึกษา
     2. ผลการทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป (GAT) และการทดสอบวิชาความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ (PAT) จัดสอบโดย สถาบันทดสอบทางการ ศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นเกณฑ์ประกอบการพิจารณาคัดเลือก โดยแบ่งเป็น
     - ผู้สมัครที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.6) หรือเทียบเท่า จะใช้ผลคะแนนทดสอบ GAT/PAT ครั้งที่ 1/2558
     - ผู้สมัครที่สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.6) แล้วหรือเทียบเท่า จะใช้ผลคะแนนทดสอบ GAT/PAT ที่มีอายุไม่เกิน 2 ปี นับจากวันสอบ โดยจะนำผลคะแนนทดสอบครั้งที่ดีที่สุดมาพิจารณา
     3. การสอบวิชาความถนัดเฉพาะด้าน ตามเกณฑ์ที่คณะ/สาขาวิชา กำหนด
     4. การสอบสัมภาษณ์ ตามเกณฑ์ที่คณะ/สาขาวิชา กำหนด


คุณสมบัติเฉพาะสาขา 

      1. สายวิทย์ - คณิต
      2. เกรดเฉลี่ยมสะสมขั้นต่ำ  2.50 
 

แผนการเรียน

วิทย์ - คณิต

ค่าเทอม

เริ่มใช้ ปีการศึกษา 2556 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาเหมาจ่าย 14,300

จำนวนเทอม

8 เทอม

จำนวนปี

4 ปี

ทุนการศึกษา

กยศ.

ได้รับการรับรองจาก

สกอ. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา

อาชีพ

1.  นักโภชนาการ
2.  นักวิจัยและนักวิชาการ/ที่ปรึกษา
3.  นักกำหนดอาหาร
4.  อาจารย์
5.  เจ้าของธุรกิจทางด้านอาหารและโภชนาการ
6.  ผู้ช่วยหัวหน้าพ่อครัวอาหารไทย
7.  ผู้ช่วยหัวหน้าพ่อครัวขนมไทย
8.  ผู้ช่วยหัวหน้าพ่อครัวอาหารนานาชาติ
9.  ผู้ช่วยหัวหน้าพ่อครัวผลิตภัณฑ์เบเกอรี่
10. ผู้ช่วยพนักงานสาธิตอาหาร
11. ผู้ถนอมและแปรรูปอาหาร
12. ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
13. ผู้ผลิตเครื่องดื่มและไอศกรีม
14. ผู้ดำเนินธุรกิจอาหาร

เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า

ผู้ประกอบอาชีพที่มีฝีมือ มีความชำนาญ เป็นนักออกแบบสร้างสรรผลงานใหม่ ๆ ผลิตผลงานออกสู่ตลาดได้ตลอดมา สามารถสร้างรายได้ สร้างฐานะให้มั่นคงได้ ผู้ที่เป็นพนักงานในสถานประกอบการสามารถสร้างสมประสบการณ์และก้าวสู่การเป็นเจ้าของกิจการได้

เรียนจบอาหารและโภชนาการทำงานอะไรได้บ้าง

แนวทางการประกอบอาชีพ ผู้ช่วยโภชนากร ผู้ช่วยนักวิชาการโภชนาการ ผู้ช่วยกุ๊ก รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการขาย พนักงานขายเกี่ยวกับอาหาร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการผลิตที่เกี่ยวกับอาหาร วัตถุดิบทางการเกษตร พนักงานโรงแรม – ห้องอาหาร ฯลฯ

นักโภชนาการอาหารต้องเรียนคณะอะไร

คณะเกษตร สาขาอาหารและโภชนาการ

นักกําหนดอาหาร เรียนที่ไหน

๑. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโภชนาการและการกาหนดอาหาร คณะสหเวชศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอกโภชนวิทยาและ การกาหนดอาหาร คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ๓. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโภชนาการและการกาหนดอาหาร สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

นักโภชนาการ โรงพยาบาล เรียนอะไร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส) สาขาอาหารและโภชนาการ และมีประสบการณ์การทำงานด้านโภชนาการในโรงพยาบาลอย่างน้อย 6 ปี ปริญญาตรี สาขาอาหารและโภชนาการ และได้รับปริญญาใดปริญญาหนึ่งดังต่อไปนี้ วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) โภชนาการและการกำหนดอาหาร (Nutrition and Dietetics), โภชนศาสตร์, โภชนวิทยาหรือเทียบเท่าหรือ