เฉลย ใบ งาน การ ฟื้นฟู ศิลปวิทยา การ ม 5

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชา ประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส 31104 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ หนว่ ยกิต 0.5 (นน./นก.) ระยะเวลา 10 ชัว่ โมงหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรือ่ ง การเปล่ียนแปลงในประวตั ิศาสตรข์ องมนษุ ยชาติแผนจดั การเรียนรทู้ ี่ 7 เร่ือง เหตกุ ารณ์สาคญั ในสมัยกลาง ระยะเวลา 4 ชัว่ โมง....................................................................................... .......................................................................................................1. สาระสาคัญ เหตุการณ์สาคัญในโลกตะวันตกและตะวันออก การขยายและการล่าอาณานิคมของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมรกิ า แอฟรกิ า และเอเชียสง่ ผลต่อการเปลีย่ นแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมอื งเขา้ สโู่ ลกสมยั ปจั จบุ นั2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั ช้ันปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอ์ ยา่ งตอ่ เน่อื ง ตระหนกั ถงึ ความสาคัญและสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้ ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองเขา้ สู่โลกสมัยปจั จุบนั3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge เหตุการณ์สาคัญในสมัยกลาง - ระบบฟวิ ดัล (Feudalism) - สงครามครูเสด (The Crusades, ค.ศ. 1096 – 1291) - การฟน้ื ฟศู ลิ ปะวิทยาการ (Renaissance) - การสารวจทางทะเล - การปฏริ ปู ทางศาสนา (Reformation) 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process เน้นให้นักเรียนได้ทางานเป็นกลุ่ม ร่วมศึกษาเหตุการณ์สาคัญที่ส่งผลถึงปัจจุบัน อันเป็นฉนวนเหตุของความรว่ มมือและความขัดแยง้ ของประเทศตา่ งๆในโลกปจั จบุ นั 3.3 คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude มคี วามสนใจใฝ่เรยี นรู้ ติดตามข่าวสาร และร้จู ักการวิเคราะห์ สงั เคราะหข์ ้อมลู อยา่ งมีเหตุผล4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด

5. คุณลกั ษณะของวิชา - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลมุ่6. คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มงุ่ ม่นั ในการทางาน 3. ซ่อื สัตย์ สุจริต7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : - ใบกจิ กรรมที่ 5 เร่ือง ระบบฟวิ ดัลและสงครามครูเสด - ใบกจิ กรรมท่ี 6 เรือ่ ง สมยั ฟื้นฟศู ลิ ปะวทิ ยาการ - ใบกจิ กรรมที่ 7 เรอื่ ง การสารวจทางทะเล และการปฏริ ูปศาสนา - เสน้ แสดงเวลา (Time Line) ลาดับเหตกุ ารณส์ าคัญในสมัยกลาง สมัยใหม่ และครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 - แบบทดสอบวดั ความรู้ กอ่ นเรยี นและหลังเรียน เร่ือง เหตุการณ์สาคัญในสมัยกลาง (ผ่านโปรแกรม Plicker)8. กิจกรรมการเรยี นรู้ชั่วโมงที่ 1 – 3 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งม่ันในการทางาน / เทคนิคการถามตอบและกระบวนการกลุ่ม) 1. ทาแบบทดสอบวดั ความรู้กอ่ นเรยี น เรอื่ ง เหตกุ ารณ์สาคัญในสมยั กลาง 2. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 – 10 คน ร่วมกันศึกษาวีดิทัศน์และภาพประกอบคาบรรยาย เรื่อง ระบบ ฟวิ ดลั และสงครามครูเสด แลว้ ลงมือตอบคาถามในใบกิจกรรมที่ 5 เร่ือง ระบบฟิวดลั และสงครามครเู สด 3. ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยใบกจิ กรรมท่ี 5 เรอ่ื ง ระบบฟวิ ดลั และสงครามครเู สด 4. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 – 10 คน ร่วมกันศึกษาวีดิทัศน์และภาพประกอบคาบรรยาย เรื่อง สมัยฟื้นฟู ศลิ ปวทิ ยาการ แล้วลงมอื ตอบคาถามในใบกิจกรรมที่ 6 เรอื่ ง สมยั ฟ้นื ฟูศลิ ปวทิ ยาการ 5. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั เฉลยใบกจิ กรรมที่ 6 เรอ่ื ง สมยั ฟน้ื ฟูศลิ ปวิทยาการ 6. แบ่งกลุม่ นกั เรียน กลุ่มละ 6 – 10 คน ร่วมกันศึกษาวีดิทัศน์และภาพประกอบคาบรรยาย เรื่อง การสารวจ ทางทะเลและการปฏิรปู ศาสนา แล้วลงมือตอบคาถามในใบกิจกรรมท่ี 7 เร่ือง การสารวจทางทะเลและการ ปฏิรูปศาสนา 7. ครูและนกั เรยี นร่วมกันเฉลยใบกจิ กรรมท่ี 7 เรอื่ ง การสารวจทางทะเลและการปฏริ ูปศาสนาช่วั โมงท่ี 4 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ / ประเมินผลโดยแบบทดสอบวดั ความรู้) 1. ทบทวนความรูเ้ ร่ืองเหตกุ ารณ์สาคญั ในสมัยกลาง 2. นักเรียนสรุปความรู้ในรูปแบบเส้นแสดงเวลา (Time Line) ลาดับเหตุการณ์สาคัญในสมัยกลาง สมัยใหม่ และคริสตศ์ ตวรรษที่ 20 3. ทาแบบทดสอบวัดความรหู้ ลังเรยี น เรอ่ื ง เหตุการณ์สาคัญในสมยั กลาง 4. นักเรียนและครรู ่วมกนั เฉลยแบบทดสอบวดั ความร้หู ลังเรียน เรอื่ ง เหตุการณ์สาคญั ในสมยั กลาง 5. นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรปุ บทเรียนในหน่วยการเรียน

9. ส่อื การเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ รายการสือ่ สภาพการใชส้ อ่ื1. แบบทดสอบก่อนเรียน ขน้ั ตรวจสอบความร้เู ดิม2. วดี ทิ ศั น์และภาพประกอบคาบรรยาย เร่อื ง ระบบฟวิ ดัลและสงครามครเู สด ขนั้ สร้างความสนใจ3. วดี ิทัศนแ์ ละภาพประกอบคาบรรยาย เรอื่ ง สมัยฟน้ื ฟูศิลปวิทยาการ ขั้นสร้างความสนใจ4. วีดิทัศน์และภาพประกอบคาบรรยาย เรื่อง การสารวจทางทะเลและการ ขน้ั สรา้ งความสนใจปฏิรูปศาสนา5. เส้นแสดงเวลา (Time Line) ลาดับเหตุการณ์สาคัญในสมัยกลาง สมัยใหม่ ขั้นขยายความรู้ และคริสต์ศตวรรษท่ี 206. แบบทดสอบหลงั เรียน ขน้ั ตรวจสอบความรูใ้ หม่10. การวดั ผลและประเมินผลเปา้ หมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วธิ วี ดั เครอื่ งมือวัดฯ ประเดน็ /การเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน แบบทดสอบ เกณฑก์ ารให้ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ก่อนเรยี นเหตุการณ์สาคัญใน 1. แบบทดสอบก่อนเรียน ใบกจิ กรรมที่ 5 คะแนนโ ล ก ต ะ วั น ต ก แ ล ะ การถามตอบของครแู ละ นักเรยี น ใบกจิ กรรมที่ 6 5 คือ ดีเยีย่ มตะวันออก การขยาย 2. วดี ิทัศนแ์ ละภาพประกอบคา 4 คอื ดมี ากและการล่าอาณา บรรยาย เร่อื ง ระบบฟวิ ดัลและ การถามตอบของครูและ ใบกจิ กรรมท่ี 7 3 คือ ดีนิคมของประเทศใน สงครามครูเสด นักเรียน 2 คอื พอใช้ยุ โ ร ป ไ ป ยั ง ท วี ป 3. วดี ทิ ศั น์และภาพประกอบคา เสน้ แสดงเวลา 1 คอื ควรอเมริกา แอฟริกา บรรยาย เร่ือง สมัยฟนื้ ฟู การถามตอบของครูและ แบบทดสอบ ปรับปรงุ นกั เรียน หลงั เรียน 0 คือ ไมผ่ ่าน กา ร เ รีย ง ล า ดับ เ ว ล าและเอเชียส่งผลต่อ ศลิ ปวิทยาการ เหตุการณ์สาคัญในสมัยการเปลี่ยนแปลงทาง กลาง สมัยใหม่ และสั ง ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ 4. วดี ทิ ศั นแ์ ละภาพประกอบคา คริสต์ศตวรรษท่ี 20และการเมืองเข้าสู่ บรรยาย เร่ือง การสารวจทาง แบบทดสอบหลังเรยี นโลกสมยั ปัจจบุ ัน ทะเลและการปฏริ ปู ศาสนา 5. เส้นแสดงเวลา (Time Line) ลาดับเหตุการณ์สาคัญในสมัย ก ล า ง ส มั ย ใ ห ม่ แ ล ะ ครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20 6. แบบทดสอบหลงั เรยี น ลงชอื่ .................................................. ผสู้ อน (นางสาวศริ มิ า เมฆปัจฉาพิชิต)

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชา ประวัติศาสตร์ รหสั วิชา ส 31104 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ หนว่ ยกิต 0.5 (นน./นก.) ระยะเวลา 10 ช่ัวโมงหนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 เรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงในประวตั ิศาสตรข์ องมนษุ ยชาติแผนจดั การเรยี นรทู้ ่ี 8 เรื่อง เหตุการณ์สาคญั ในสมยั ใหม่ – คริสต์ศตวรรษที่ 19 ระยะเวลา 2 ชว่ั โมง....................................................................................... .......................................................................................................1. สาระสาคญั เหตุการณ์สาคัญในโลกตะวันตกและตะวันออก การขยายและการล่าอาณานิคมของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชยี สง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมอื งเข้าสู่โลกสมยั ปัจจุบัน2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัดชน้ั ป/ี ผลการเรยี นร/ู้ เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณอ์ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตระหนกั ถงึ ความสาคัญและสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบที่เกดิ ขนึ้ ตวั ชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้ ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองเขา้ ส่โู ลกสมยั ปัจจุบนั ส 4.2 ม.4-6/3 วเิ คราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธพิ ลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge เหตกุ ารณส์ าคัญในสมัยใหม่ - การปฏิรูปวทิ ยาศาสตร์ - การปฏริ ปู อุตสาหกรรม - การขยายลัทธิจกั รวรรดินิยมในคริสต์ศตวรรษที่ 19 - การก่อตวั ของลทั ธิชาตินยิ ม 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process เน้นให้นักเรียนได้ทางานเป็นกลุ่ม ร่วมศึกษาเหตุการณ์สาคัญท่ีส่งผลถึงปัจจุบัน อันเป็นฉนวนเหตุของความรว่ มมอื และความขดั แย้งของประเทศตา่ งๆในโลกปจั จุบนั 3.3 คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ : Attitude มคี วามสนใจใฝ่เรียนรู้ ติดตามขา่ วสาร และรูจ้ กั การวิเคราะห์ สงั เคราะห์ข้อมลู อยา่ งมีเหตุผล4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 4.2 ความสามารถในการคิด

5. คุณลกั ษณะของวิชา - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุ่ม6. คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. มุ่งม่นั ในการทางาน 3. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : - ใบกจิ กรรมที่ 8 เร่ือง การปฏวิ ัตวิ ทิ ยาศาสตร์ และการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม - หนงั สือการ์ตูนเล่มเลก็ เร่ือง การขยายตัวของลัทธจิ กั รวรรดนิ ยิ มและการก่อตัวของลทั ธิชาตนิ ยิ ม - เสน้ แสดงเวลา (Time Line) ลาดับเหตกุ ารณ์สาคญั ในสมัยกลาง สมัยใหม่ และครสิ ต์ศตวรรษท่ี 20 (ตอ่ เน่ือง)8. กิจกรรมการเรียนรู้ชั่วโมงท่ี 1 – 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งมั่นในการทางาน / เทคนิคการถามตอบและกระบวนการกลุ่ม) 1. ทบทวนความรู้เก่ียวกับสมัยกลาง ก่อนเริ่มด้วยคาถามสาคัญ อาทิ สมัยใหม่เร่ิมข้ึนเมื่อใด ใช้สิ่งใดเป็นเกณฑ์ ในการแบ่งแยกสมยั กลางและสมยั ใหม่ 2. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 – 10 คน ร่วมกันศึกษาวีดิทัศน์และภาพประกอบคาบรรยาย เรื่อง การปฏิวัติ วิทยาศาสตร์ และการปฏิวัติอุตสาหกรรม จากน้ันตอบคาถามในใบกิจกรรมที่ 8 เรื่อง การปฏิวัติ วิทยาศาสตรแ์ ละอตุ สาหกรรม 3. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั เฉลยใบกจิ กรรมที่ 8 เรอื่ ง การปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตรแ์ ละอุตสาหกรรม 4. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 – 10 คน ร่วมกันศึกษาวีดิทัศน์และภาพประกอบคาบรรยาย เร่ือง การ ขยายตวั ของลัทธิจักรวรรดินยิ ม (การลา่ อาณานคิ ม) และการกอ่ ตัวของลัทธชิ าตินยิ ม 5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสร้างหนังสือการ์ตูนเล่มเล็ก เร่ือง การขยายตัวของลัทธิจักรวรรดินิยมและการก่อตัว ของลัทธิชาตินิยม เพ่ืออธิบายเรื่องราวของการล่าอาณานิคมและการปลดแอกของชาติต่างๆภายใต้การ ปกครองในจกั รวรรดินิยม 6. นักเรียนสรปุ ความรู้ในรปู แบบเส้นแสดงเวลา (Time Line) ลาดับเหตุการณ์สาคัญในสมัยกลาง สมัยใหม่ และครสิ ต์ศตวรรษท่ี 20 (ต่อเนื่องจากเรื่องราวสมัยกลาง)9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ รายการสื่อ สภาพการใช้ส่ือการสอบถามความเขา้ ใจด้วยคาถามสาคญั ข้ันตรวจสอบความรู้เดิมใบกิจกรรมท่ี 8 เร่ือง การปฏิวัติวทิ ยาศาสตร์ และการปฏิวัตอิ ตุ สาหกรรม ข้ันสรา้ งความสนใจหนังสอื การต์ ูนเล่มเล็ก เรอื่ ง การขยายตัวของลัทธจิ ักรวรรดินยิ มและการก่อตวั ข้ันขยายความรู้ของลัทธิชาตนิ ยิ ม ขน้ั ตรวจสอบความรู้ใหม่เส้นแสดงเวลา (Time Line) ลาดับเหตกุ ารณ์สาคัญในสมยั กลาง สมยั ใหม่ และครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 (ต่อเนือ่ ง)

10. การวัดผลและประเมินผลเปา้ หมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วิธวี ัด เครอ่ื งมอื วัดฯ ประเด็น/การเรยี นรู้ ช้ินงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้เหตุการณ์สาคัญใน ใบกิจกรรมที่ 8 เร่ือง การ การถามตอบของครแู ละ ใบกจิ กรรมที่ 8 คะแนนโลกตะวันตกและ ปฏิวัติวิทยาศาสตร์ และการ นกั เรียนตะวันออก การขยาย ปฏิวตั ิอุตสาหกรรม 5 คือ ดเี ยย่ี ม 4 คอื ดีมากและการล่าอาณา หนังสือการ์ตูนเล่มเล็ก เรื่อง ค ว า ม เ ข้ า ใ จ จ า ก 3 คือ ดีนิคมของประเทศใน ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง ลั ท ธิ การศึกษาแล้วแสดงผล หนังสอื การ์ตูน 2 คือ พอใช้ 1 คอื ควรยุ โ ร ป ไ ป ยั ง ท วี ป จักรวรรดินิยมและการก่อตัว ออกมาด้วยการสร้าง เลม่ เลก็ ปรับปรงุ 0 คือ ไมผ่ ่านอเมริกา แอฟริกา ของลัทธิชาตินิยม หนังสอื เล่มเลก็และเอเชียส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงทาง เส้นแสดงเวลา (Time Line) กา ร เ รีย ง ล า ดับ เ ว ล า เสน้ แสดงเวลาสั ง ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ลาดับเหตุการณ์สาคัญในสมัย เหตุการณ์สาคัญในสมัยและการเมืองเข้าสู่ ก ล า ง ส มั ย ใ ห ม่ แ ล ะ กลาง สมัยใหม่ และโลกสมยั ปจั จบุ ัน ค ริ ส ต์ ศ ต ว ร ร ษ ท่ี 2 0 คริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 (ตอ่ เน่ือง) ลงชอื่ .................................................. ผู้สอน (นางสาวศิรมิ า เมฆปัจฉาพิชติ )

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ รหัสวิชา ส 31104 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง/สัปดาห์ หน่วยกติ 0.5 (นน./นก.) ระยะเวลา 10 ช่ัวโมงหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรือ่ ง การเปล่ยี นแปลงในประวตั ศิ าสตรข์ องมนุษยชาติแผนจัดการเรียนรู้ท่ี 9 เร่อื ง ความรว่ มมอื และความขดั แย้งของมนษุ ยชาติ ระยะเวลา 4 ชวั่ โมง....................................................................................... .......................................................................................................1. สาระสาคัญเหตุการณ์สาคัญในโลกตะวันตกและตะวันออก การขยายและการล่าอาณานิคมของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมรกิ า แอฟริกา และเอเชียสง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม เศรษฐกจิ และการเมืองเขา้ ส่โู ลกสมัยปจั จุบนั2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั ชั้นปี/ผลการเรยี นรู/้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณอ์ ย่างตอ่ เนือ่ ง ตระหนักถงึ ความสาคญั และสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ ตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองเขา้ สูโ่ ลกสมัยปัจจบุ นั3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge ความร่วมมือและความขดั แย้งของมนุษยชาตใิ นคริสศตวรรษท่ี 20 ความขัดแยง้ ของมนษุ ยชาติในคริสศตวรรษท่ี 20 - สงครามโลกครัง้ ที่ 1 (ค.ศ. 1914 – 1918) - สงครามโลกครัง้ ที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945) - สงครามเย็น (Cold War) ความร่วมมือของมนุษยชาติในคริสศตวรรษท่ี 20 - องค์การสนั นิบาตชาติ - องคก์ ารสหประชาชาติ - องค์การความรว่ มมือระดบั ภมู ภิ าค o ตามสภาพภูมิศาสตร์ ได้แก่ ASEAN, EU, OAS o ตามการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ได้แก่ WTO, G-8, AFTA, NAFTA, APEC, ASEM 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process เน้นใหน้ กั เรยี นได้ทางานเปน็ กลุ่ม ศึกษาเหตุการณ์สาคัญที่ส่งผลถึงปัจจุบัน อันเป็นฉนวนเหตุของความรว่ มมอื และความขัดแย้งของประเทศต่างๆในโลกปจั จบุ ัน3.3 คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ : Attitude มคี วามสนใจใฝ่เรียนรู้ ติดตามข่าวสาร และรู้จักการวเิ คราะห์ สังเคราะหข์ ้อมลู อยา่ งมเี หตุผล

4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ5. คณุ ลักษณะของวิชา - ความรบั ผดิ ชอบ - กระบวนการกลุม่6. คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มงุ่ มั่นในการทางาน 3. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต7. ช้ินงาน/ภาระงาน : - ชุดคาถาม-ตอบ เร่ือง สงครามโลกครงั้ ที่ 1 – 2 และสงครามเย็น - แผนผงั ความคิด เร่อื ง ความรว่ มมือของมนุษยชาตใิ นครสิ ต์ศตวรรษท่ี 20 - เส้นแสดงเวลา (Time Line) ลาดับเหตุการณส์ าคัญในสมัยกลาง สมยั ใหม่ และคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ตอ่ เน่ือง) - แบบทดสอบวัดความรู้ ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง ความร่วมมือและความขัดแย้งของมนุษยชาติ (ผ่านโปรแกรม Plicker)8. กจิ กรรมการเรียนรู้ช่ัวโมงท่ี 1 – 3 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ และมีความมุ่งม่ันในการทางาน / เทคนิคการถามตอบและกระบวนการกล่มุ ) 1. ทาแบบทดสอบวัดความรกู้ อ่ นเรยี น เรือ่ ง ความร่วมมอื และความขัดแย้งของมนษุ ยชาติ 2. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 – 10 คน ร่วมกันศึกษาวีดิทัศน์และภาพประกอบคาบรรยาย เรื่อง สงครามโลกครั้งท่ี 1, สงครามโลกคร้ังที่ 2 และสงครามเย็น 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มต้ังคาถามจากการศึกษาวีดิทัศน์และภาพประกอบคาบรรยาย กลุ่มละ 7 ข้อ ต่อ 1 สงคราม สลับกนั ถามทลี ะกล่มุ กลุ่มท่ตี อบได้มากที่สดุ จะไดร้ ับคะแนนพิเศษ 1 ดาวเพิม่ คะแนนจิตพสิ ัย 4. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 – 10 คน ร่วมกันศึกษาวีดิทัศน์และภาพประกอบคาบรรยาย เร่ือง องค์การ สันนบิ าตชาติ, องคก์ ารสหประชาชาติ, องค์การความร่วมมือระดับภูมภิ าค 5. ใหน้ ักเรียนสรปุ องค์การความร่วมมอื ระดับภมู ิภาค ตามสภาพภูมิศาสตร์ ได้แก่ ASEAN, EU, OAS และตาม การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่ WTO, G-8, AFTA, NAFTA, APEC, ASEM ถึงความเหมอื นและแตกต่าง 6. นักเรียนสรุปความรู้ในรูปแบบเส้นแสดงเวลา (Time Line) ลาดับเหตุการณ์สาคัญในสมัยกลาง สมัยใหม่ และคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ต่อเนือ่ งจากเรือ่ งราวสมยั กลางและสมยั ใหม่)ช่วั โมงท่ี 4 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ซือ่ สัตยส์ จุ รติ / ประเมนิ ผลโดยแบบทดสอบวดั ความรู้) 1. ทบทวนความร้เู ร่ืองความร่วมมอื และความขดั แยง้ ของมนุษยชาติ 2. นักเรยี นสรุปความรใู้ นรูปแบบแผนผังความคิด เรื่อง ความร่วมมือและความขัดแยง้ ของมนษุ ยชาติ 3. ทาแบบทดสอบวดั ความร้หู ลงั เรยี น เรอื่ ง ความร่วมมือและความขัดแย้งของมนุษยชาติ 4. นักเรียนและครูร่วมกันเฉลยแบบทดสอบวัดความรู้หลังเรียน เรื่อง ความร่วมมือและความขัดแย้งของ มนษุ ยชาติ 5. นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปบทเรียนในหน่วยการเรยี น

9. ส่ือการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ รายการสื่อ สภาพการใช้ส่อื1. แบบทดสอบก่อนเรยี น ขน้ั ตรวจสอบความรูเ้ ดิม2. วีดิทัศน์และภาพประกอบคาบรรยาย เร่ือง สงครามโลกคร้ังท่ี 1, ขน้ั สรา้ งความสนใจสงครามโลกครง้ั ที่ 2 และสงครามเย็น3. สร้างชุดคาถาม-ตอบ เรื่อง สงครามโลกครั้งที่ 1, สงครามโลกครั้งที่ 2 และ ขั้นขยายความรู้สงครามเยน็4. แผนผงั ความคดิ เรอ่ื ง ความรว่ มมือและความขัดแย้งของมนุษยชาติ ขน้ั ขยายความรู้5. เส้นแสดงเวลา (Time Line) ลาดบั เหตกุ ารณส์ าคัญในสมยั กลาง สมยั ใหม่ ขนั้ ตรวจสอบความรู้ใหม่และครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 (ตอ่ เนื่อง)6. แบบทดสอบหลังเรียน ขั้นตรวจสอบความรู้ใหม่10. การวดั ผลและประเมินผลเปา้ หมาย หลักฐานการเรยี นรู้ ประเด็น/การเรยี นรู้ ช้ินงาน/ภาระงาน วธิ ีวดั เคร่อื งมอื วัดฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนนเหตุการณ์สาคัญใน 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบ 5 คือ ดเี ย่ียมโลกตะวันตกและ กอ่ นเรยี น 4 คือ ดีมากต ะ วั น อ อก ก า ร 2. วีดิทัศน์และภาพประกอบคา การถามตอบของครูและ ก า ร สั ง เ ก ต 3 คือ ดีขยายและการล่า บรรยาย เร่ือง สงครามโลกครั้งท่ี นกั เรียน และการ 2 คอื พอใช้อ า ณ า นิ ค ม ข อ ง 1, สงครามโลกคร้ังท่ี 2 และ สอบถาม 1 คือ ควรประเทศในยุโรปไป สงครามเย็น ปรบั ปรุงยั ง ท วี ป อ เ ม ริ ก า 3. สร้างชุดคาถาม-ตอบ เร่ือง ก า ร ตั้ ง ค า ถ า ม ถ า ม ต อ บ ก า ร สั ง เ ก ต 0 คอื ไมผ่ ่านแ อ ฟ ริ ก า แ ล ะ สงครามโลกครั้งท่ี 1, สงครามโลก ของนักเรียน รวมถึงการ และการเอเชียส่งผลต่อการ ครั้งท่ี 2 และสงครามเยน็ ประยุกต์ความรู้นาไปสร้าง สอบถามเปลี่ยนแปลงทาง เป็นเกมได้สังคม เศรษฐกิจ 4. แผนผังความคิด เร่ือง ความ การสรุปความรู้เรื่องความ แ ผ น ผั งและการเมืองเข้าสู่ ร่ว มมือและความขัดแย้งของ ร่วมมือและความขัดแย้ง ความคดิโลกสมยั ปจั จบุ นั มนุษยชาติ ของมนุษยชาติ 5. เส้นแสดงเวลา (Time Line) ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ เ ว ล า ลาดับเหตุการณ์สาคัญในสมัยกลาง เหตุการณ์สาคัญในสมัย เสน้ แสดงเวลา สมัยใหม่ และคริสต์ศตวรรษท่ี 20 ก ล า ง ส มั ย ใ ห ม่ แ ล ะ (ตอ่ เนอ่ื ง) ครสิ ต์ศตวรรษท่ี 20 6. แบบทดสอบหลังเรยี น แบบทดสอบหลังเรยี น แบบทดสอบ หลงั เรียน ลงช่ือ .................................................. ผูส้ อน (นางสาวศิรมิ า เมฆปัจฉาพิชติ )

ใบกิจกรรมที่ 5 ประวตั ศิ าสตร์สากล ส 31104ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เร่ือง ระบบฟิวดัลและสงครามครเู สด ครูศริ ิมา เมฆปจั ฉาพชิ ติ ชือ่ -สกลุ .............................................................................. ชัน้ ............... เลขท่ี ............คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนศกึ ษาคน้ ควา้ เร่อื งระบบฟวิ ดัลและสงครามครูเสดพร้อมอธิบายหัวขอ้ ต่างๆในแบบกิจกรรมน้ี ระบบฟิวดลั (Feudalism)๑. สาเหตใุ ดท่ีทาให้เกดิ ระบบฟวิ ดลั............................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................ ...........................................................................2. ระบบฟวิ ดัลมลี ักษณะอยา่ งไร จงวาดรูปประกอบเพ่อื อธบิ ายดว้ ย ..................................................................................................... ................................................................................................... ..................................................................................................... ................................................................................................... ..................................................................................................... ................................................................................................... ..................................................................................................... ................................................................................................... ..................................................................................................... ................................................................................................... ..................................................................................................... ...................................................................................................3. ผลกระทบจากระบบฟิวดัลคอื อะไร............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................ ...........................................................................4. การเสือ่ มสลายของระบบฟิวดลั มาจากสาเหตุใด..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

สงครามครเู สด (The Crusades)1. สาเหตขุ องสงครามครเู สด มี 3 ด้าน ใหน้ กั เรียนอธิบายแตล่ ะดา้ นดังตอ่ ไปน้ีดา้ นความศรทั ธาในครสิ ตศ์ าสนา............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................ด้านการเมอื งการปกครอง............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................ดา้ นการค้าและพาณิชย์.................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ..........................................................2. ผลกระทบของสงครามครเู สดต่อพัฒนาการของยุโรป มี 3 ดา้ น ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายแตล่ ะด้านดังต่อไปน้ีดา้ นการเมอื งการปกครอง................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ดา้ นเศรษฐกิจ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ดา้ นสังคม.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ใบกิจกรรมท่ี 5 ประวัตศิ าสตร์สากล ส 31104ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เร่อื ง ระบบฟิวดัลและสงครามครูเสด ครูศริ มิ า เมฆปจั ฉาพิชิต ชอื่ -สกลุ .............................................................................. ช้ัน ............... เลขที่ ............คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนศกึ ษาค้นคว้าเรื่องระบบฟวิ ดลั และสงครามครูเสดพร้อมอธิบายหัวข้อต่างๆในแบบกจิ กรรมน้ี ระบบฟิวดลั (Feudalism)๑. สาเหตใุ ดทีท่ าให้เกดิ ระบบฟวิ ดัลตอบ มาจากการเสื่อมอานาจของจักรวรรดิโรมัน และปรากฏชัดเจนในปลายสมัยราชวงศ์คาโรลิงเจียน (Carolingian) ของพวกแฟรงก์ เมื่อกษตั ริย์เส่ือมอานาจ ได้เกิดการแย่งชิงอานาจระหว่างกลุ่มผู้ปกครอง ทาให้โดนเผ่าอ่ืนรุกราน ประชาชนขาดความเชื่อม่ันจึงหันไปพึ่งพาขุนนางท้องถิ่นซึ่งมีสิทธิขาดในการจัดตั้งกองทัพและออกกฎหมายเป็นของตนเอง และเม่ือกษัตริย์ขอความช่วยเหลือไปยังขุนนางเหล่านี้ ทาให้ขุนน างเหลา่ นม้ี อี านาจมากขน้ึ ในการปกครอง ส่วนกษัตรยิ ์ไม่มอี านาจที่แท้จรงิ2. ระบบฟวิ ดัลมลี กั ษณะอย่างไร จงวาดรูปประกอบเพ่อื อธิบายด้วยตอบ เป็นการปกครองลกั ษณะระบบอปุ ถมั ภ์ มีทด่ี นิ เปน็ ส่งิ กาหนดฐานะและความสมั พนั ธข์ องคนในสังคม3. ผลกระทบจากระบบฟิวดลั คืออะไรตอบ แบ่งผลกระทบออกเปน็ 2 ดา้ น คือ ด้านการเมืองการปกครอง และด้านสังคม ในด้านการเมืองการปกครองนั้น ระบบฟิวดัลเป็นรากฐานในการวางแผนการปกครองส่วนท้องถ่ินในดินแดนต่างๆ ส่งเสริมให้ประชาชนมีจิตสานึกร่วมกนั เปน็ ฐานสาคญั ในการพฒั นาชาติปละอุดมการณเ์ สรนี ิยม ในด้านสงั คมนนั้ ระบบฟวิ ดลั แบง่ คนในสงั คมออกเป็น 2 ส่วน คือ ผู้ปกครอง และผู้ถูกปกครอง ซ่ึงผู้ปกครองมีสิทธิเหนือกว่าและสามารถกาหนดชีวิตของผ้ถู ูกปกครองมากเกินไป จนกระทัง่ เกิดกลุ่มพอ่ คา้ และสมาคมชา่ งฝีมอื หรือสมาคมอาชีพ (Guild) ขนึ้4. การเสอื่ มสลายของระบบฟิวดลั มาจากสาเหตุใดตอบ การเติบโตของเมอื งต่างๆ มมี ากขน้ึ และกษตั รยิ ข์ องยโุ รปมอี านาจมากขึน้ พร้อมๆ กนั ทาใหอ้ านาจของเหล่าขนุ นางและระบบฟิวดลั เสอ่ื มลงไปตามกาลเวลา

สงครามครเู สด (The Crusades)1. สาเหตุของสงครามครเู สด มี 3 ด้าน ให้นกั เรยี นอธิบายแตล่ ะด้านดงั ต่อไปนี้ด้านความศรัทธาในครสิ ตศ์ าสนาตอบ ในคริสต์ศตวรรษท่ี 11 ชาวคริสต์จากยุโรปเดินทางไปแสวงบุญยังนครเยรูซาเลม ถูกพวกเซลจุกเติร์กที่ยึดครองปาเลสไตน์อยู่ขัดขวางและบางคนถูกสังหาร สานักวาติกันจึงเรียกร้องให้พวกคริสต์เตียนไปร่วมรบเพ่ือชิงนครเยรูซาเลมจากพวกมุสลิม และมีชาวครสิ ตเ์ ตียนมากมายเขา้ รว่ มรบเน่อื งจากเช่ือว่าการรบเพื่อศาสนาจะเป็นการไถ่บาปที่ยิ่งใหญ่ ผู้เสียชีวิตจะได้ข้ึนสวรรค์ โดยพระสันตะปาปาเออร์เบนที่ 2 (Urban II) ทรงให้สัญญาว่าทรัพย์สินและครอบครัวของนักรบครูเสดจะได้รับการคุ้มครองจากศาสนจกั ร มีหน้กี ็ไดร้ บั การยกเว้น มีโทษกไ็ ด้รบั การอภยั โทษดา้ นการเมอื งการปกครองตอบ เน่ืองจากพระสันตะปาปาเป็นผู้ประกอบพิธีถวายมงกุฎแก่กษัตริย์และจักรพรรดิ เพ่ือแสดงว่ามอบอานาจทางโลกให้แก่กษัตริยห์ รือจักรพรรดิในนามของพระเจา้ เมอื่ พระสนั ตะปาปาชักชวนให้ร่วมรบ กษัตริย์และจักรพรรดิท้ังหลายในยุโรปจึงตอบรับเข้าร่วมอย่างพร้อมเพรียง สะท้อนให้เห็นว่าการที่กษัตริย์และจักรพรรดิท่ีไปร่วมรบเหล่าน้ันในสงครามครูเสดไม่ได้เกิดจากการศรทั ธาตอ่ ศาสนาครสิ ต์เพียงอย่างเดียว แต่ยังเป็นการตอบสนองนโยบายของพระสันตะปาปาเพื่อความม่ันคงทางการเมืองของตนเองอีกดว้ ยด้านการค้าและพาณชิ ย์ตอบ เหล่าพ่อค้าในแหลมอิตาลีได้รับผลประโยชน์จากการขนส่งยุทโธปกรณ์ทางการทหารและเสบียงให้กองทัพ และยังได้แสวงหาผลประโยชน์จากกองทัพแอบแฝงอีกด้วย ดังกรณี พ่อค้าเมืองเวนิส เสนอลดค่าขนส่งราคาแพงให้แก่กองทัพ หากกองทพั ยกทพั ไปตีเมืองซาราซึง่ เปน็ ค่แู ข่งสาคัญของเมอื งตน2. ผลกระทบของสงครามครูเสดต่อพัฒนาการของยุโรป มี 3 ดา้ น ให้นกั เรยี นอธิบายแต่ละด้านดังต่อไปนี้ด้านการเมอื งการปกครอง 1. ความสัมพนั ธ์ระหว่างยุโรปและโลกมุสลิมเสอ่ื มลง เนือ่ งจากแตล่ ะฝ่ายมีอคติตอ่ กนั อย่างรุนแรง 2. หลังจากยกทัพครูเสด คร้ังท่ี 4 จักรวรรดิไบเซนไทน์อ่อนแอลง ไม่อาจต้านทานการรุกรานจากออตโตมันเติร์ก ล่ม สลายลง 3. ระบบฟิวดัลในยุโรปเส่ือมลง เน่ืองมาจากขุนนางและอัศวินผู้มีอานาจท้ังหลายต้องไปร่วมรบ ส่วนมากเสียชีวิตลง กษัตริย์มอี านาจการปกครองมากขึ้นจากการเก็บภาษีและเกณฑ์ทหารดา้ นเศรษฐกิจ 1. พอ่ คา้ ประสบปัญหาในการเดนิ เรอื ในเขตทะเลเมดิเตอร์เรเนยี น เพราะเมืองท่าบางแห่งอยู่ภายใต้การปกครองของพวก มสุ ลมิ และบางสว่ นของเส้นทางบกก็ต้องผ่านดินแดนของมุสลิมเช่นกัน ทาให้เหล่าพ่อค้าต้องพัฒนาเส้นทางเดินทะเล โดยการอ้อมแอฟรกิ า สาเรจ็ ในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 15 2. เกิดการนาเขา้ สนิ ค้าและผลติ ภณั ฑจ์ ากตะวนั ออกกลาง เช่น ข้าว น้าตาล มะนาว ผลแอปริคอต และผ้าป่านมุสลิม ซ่ึง ในเวลาต่อมากลายเปน็ สินค้าทย่ี ุโรปเขา้ นาเปน็ ประจาด้านสงั คม 1. ชาวยุโรปได้รู้จักโลกตะวันออกมากย่ิงขึ้น เช่น การใช้ดินปืนในการทาสงครามของชาวมุสลิม ต่อมาชาวยุโรปนาไป พัฒนากลายเปน็ ปนื และทาสงครามชนะชาวเอเชยี กลายเปน็ มหาอานาจของโลก 2. นักรบครูเสดซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันจากทุกที่ท่ัวยุโรป เกิดการแลกเปล่ียนทัศนคติและองค์ความรู้ต่อกัน เกิด การ หล่อหลอมทางด้านวัฒนธรรมและความคิด ซึ่งกลายเป็นรากฐานของขบวนการมนุษยนิยมในยุคสมัยฟ้ืนฟูศิลปวิทยา การ 3. สตรีในยุโรป เร่ิมมีบทบาทหลังจากสามีหรือบุตรชายต้องไปร่วมรบ มีบทบาทในการบริหารจัดการทรัพย์สิน ดูแล บริวารและผลประโยชน์ต่างๆ สง่ ผลใหส้ ังคมยอมรบั ศักยภาพและความสามารถของสตรี

ใบกจิ กรรมที่ 6 ประวัตศิ าสตรส์ ากล ส 31104ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เร่ือง สมัยฟืน้ ฟศู ิลปวทิ ยาการ ครูศริ มิ า เมฆปัจฉาพิชติ ช่ือ-สกุล .............................................................................. ชั้น ............... เลขที่ ............คาช้แี จง ให้นักเรยี นศกึ ษาค้นควา้ เรอ่ื งสมยั การฟ้นื ฟูศิลปวทิ ยาการของทวปี ยโุ รปพร้อมอธิบายหัวข้อต่างๆในแบบกจิ กรรมนี้ การฟน้ื ฟูศลิ ปะวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (RENAISSANCE) เกิดในช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษท่ี 14-16 คือ ปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ ถือว่าเป็นจุดเช่ือมต่อ (TRANSITIONAL PERIOD) ของ ประวัติศาสตร์สองยุค การฟื้นฟูศิลปวิทยาการเร่ิมข้ึนท่ีนครรัฐตา่ งๆ บนคาบสมทุ รอติ าลี ซ่งึ มคี วาม มงั่ คงั่ และรา่ รวยจากการคา้ ขาย ตอ่ มาจงึ แพรห่ ลายไปสบู่ ริเวณอ่ืนๆ ในยุโรปค่าว่า RENAISSANCE แปลว่า เกิดใหม่ (REBIRTH) หมายถึง การน่าเอาศิลปวิทยาการของ กรีกและโรมันมาศึกษาใหม่ท่าให้ศิลปวิทยาการกรีก-โรมันเจริญรุ่งเรืองอีกครั้งหน่ึง เป็นสมัยท่ี ชาวยุโรปเกิดความกระตือรือร้นสนใจอารยธรรมกรีก-โรมันจึงถือวา่ เปน็ ยคุ เจรญิ รงุ่ เรอื งท่ี ชาวยุโรปมสี ทิ ธแิ ละเสรภี าพ ชว่ งเวลานี้จงึ ถือวา่ เป็นขบวนการขั้นสุดท้ายท่ีจะปลดปล่อยยุโรปจากสังคมในยคุ กลางทเ่ี คยถูกจ่ากดั โดยกฏเกณฑแ์ ละข้อบงั คบั ของครสิ ต์ศาสนาสาเหตแุ ละความเป็นมาของการฟื้นฟศู ิลปวทิ ยาการสาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศลิ ปวทิ ยาการ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………ผลของการฟ้ืนฟูศิลปวทิ ยาการ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ความเจรญิ ในสมัยฟนื้ ฟูศลิ ปะวทิ ยาการ การฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นการศึกษาอารยธรรมกรีก-โรมัน ท้ังด้านวรรณกรรม ประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และวิทยาการด้านตา่ งๆ โดยใหค้ วามสา่ คญั ของมนษุ ยก์ บั การด่าเนนิ - ชวี ิตในโลกปจั จุบนั ทเ่ี รียกว่า มนุษยนิยม (HUMANISM) โดยผู้ท่ีมีความคิดความเชื่อเช่นนเี้ รียก ตนเองว่า นักมนุษยนิยม (HUMANISTS) ซ่ึงได้พยายามปลดเปลื้องตนเองจากการครอบง่าของคริสตจักรและระบบฟิวดัล ลักษณะที่ให้ความส่าคัญของความเจริญในสมัยฟ้ืนฟูศิลปวิทยาการ คือ ถึงแม้จะเป็นความสนใจศึกษาความรู้จากอารยธรรมกรีก-โรมัน แต่มิใช่การลอกเลียนแบบ จุดมุ่งหมายส่าคัญ คือ การศึกษาความรู้เพื่อประโยชน์ต่อสงั คมและสร้างสรรคส์ ่งิ ใหมๆ่ ข้ึนมา ใหน้ ักเรยี นเลอื กผลงานสา่ คญั ในสมยั การฟื้นฟศู ลิ ปะวิทยาการมา 1 อยา่ ง และอธบิ ายประกอบผลงานโดยละเอียด …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบกิจกรรมที่ 6 ประวัติศาสตร์สากล ส 31104ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เรื่อง สมัยฟนื้ ฟูศลิ ปวิทยาการ ครูศริ ิมา เมฆปจั ฉาพชิ ติ ชอ่ื -สกุล .............................................................................. ชน้ั ............... เลขท่ี ............คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นศึกษาคน้ คว้าเรื่องสมยั การฟนื้ ฟศู ลิ ปวทิ ยาการของทวีปยโุ รปพร้อมอธิบายหวั ข้อต่างๆในแบบกิจกรรมนี้ การฟนื้ ฟูศลิ ปะวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (RENAISSANCE) เกิดในช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษท่ี 14-16 คือ ปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ ถือว่าเป็นจุดเชื่อมต่อ (TRANSITIONAL PERIOD) ของ ประวัติศาสตร์สองยุค การฟ้ืนฟูศิลปวิทยาการเร่ิมขึ้นที่นครรัฐตา่ งๆ บนคาบสมุทรอติ าลี ซงึ่ มคี วาม มั่งคง่ั และรา่ รวยจากการคา้ ขาย ตอ่ มาจึงแพร่หลายไปสบู่ รเิ วณอนื่ ๆ ในยโุ รปคา่ ว่า RENAISSANCE แปลว่า เกิดใหม่ (REBIRTH) หมายถึง การน่าเอาศิลปวิทยาการของ กรีกและโรมันมาศึกษาใหม่ท่าให้ศิลปวิทยาการกรีก-โรมันเจริญรุ่งเรืองอีกคร้ังหน่ึง เป็นสมัยท่ี ชาวยุโรปเกิดความกระตือรือร้นสนใจอารยธรรมกรีก-โรมันจึงถอื ว่าเปน็ ยุคเจรญิ รุ่งเรืองที่ ชาวยุโรปมีสิทธแิ ละเสรีภาพ ชว่ งเวลานี้จึงถอื วา่ เป็นขบวนการข้ันสุดท้ายท่ีจะปลดปล่อยยุโรปจากสงั คมในยคุ กลางทเ่ี คยถูกจา่ กดั โดยกฏเกณฑ์และข้อบงั คบั ของคริสตศ์ าสนาสาเหตแุ ละความเปน็ มาของการฟ้นื ฟูศิลปวทิ ยาการสาเหตุและความเป็นมาของการฟืน้ ฟศู ลิ ปวทิ ยาการ มดี ังน้ี 1. การขยายตัวทางการค้า ท่าให้พ่อค้าชาวยุโรปและบรรดาเจ้าผู้ครองนครในนครรัฐ อิตาลีมีความม่ังค่ังขึ้น เช่น เมืองฟลอเรนซ์ เมืองมิลาน หันมาสนใจศิลปะและวิทยาการความ เจริญในด้านต่างๆ ประกอบกับท่ีตั้งของนครรัฐในอิตาลีเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิโรมันตะวันตก มาก่อน ท่าให้นักปราชญ์และศิลปินต่างๆ ในอิตาลีจึงให้ความสนใจศิลปะและวิทยาการของโรมัน 2. ความเจริญทางเศรษฐกิจและการเกิดรัฐชาติในปลายยุคกลาง ท่าให้เกิดการ เปล่ียนแปลงหลายด้าน ทั้งด้านองค์กรทางการเมือง องค์กรทางเศรษฐกิจซึ่งต้องใชค้ วามรคู้ วาม สามารถมาบริหารจดั การ แต่การศกึ ษาแบบเดมิ เน้นปรัชญาทางศาสนาและสงั คมในระบบฟวิ ดัล จึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการของสังคมได้ ดังน้ันนักปราชญ์สาขาต่างๆ จึงหันมาศึกษา อารยธรรมกรีกและโรมัน เช่น นักกฎหมายศึกษากฎหมายโรมันโบราณเพ่ือน่ามาใช้พิพากษาคดี ทางการค้า นักรัฐศาสตร์ศึกษาต่าราทางการเมือง เพ่ือน่ามาใช้ในการทูตและความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ รวมท้ังนักประวัติศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ ก็ค้นหาความจริงและสนใจ ศึกษาอารยธรรมกรกี -โรมันเชน่ กนั เปน็ ตน้ 3. ทัศนคติของชาวยโุ รปในชว่ งปลายสมยั กลางต่อการด่าเนินชีวิตเปล่ียนแปลงไป จากเดิม จากการที่เคร่งครัดต่อค่าสั่งสอนทางคริสต์ศาสนา มุ่งแสวงหาความสุขในโลกหน้า ใฝ่ใจ ที่จะหาทางพ้นจากบาป และปฏิบัติทุกอย่างเพื่อเสริมสร้างกุ ศลใหแ้ ก่ตนเอง ได้เปล่ยี นมาเปน็ การ มองโลกในแง่ดี และเบ่ือหน่ายกับระเบียบสังคมที่เข้มงวดกวดขันของคริสตจักร รวมท้ังมีอคติต่อ การกระท่ามิชอบของพวกพระ จึงหันไปสนใจผลงานสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ของมนุษยชาติ และเห็น ว่ามนุษย์สามารถพัฒนาชีวิตตนเองให้ดีและมีคุณค่าข้ึนได้ ซ่ึงแนวคิดดังกล่าวเป็นท่ีมาของแนวคิด แบบมนุษยนิยม (HUMANISM) ท่ีสนใจโลกปัจจุบันมากกวา่ หนทางมุง่ หนา้ ไปสสู่ วรรค์ดังเชน่ เคย 4. การล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์หรือจักรวรรดิโรมันตะวันออก เพราะถูกพวก มุสลิมเติร์กยึดครองใน ค.ศ.1453 ทา่ ใหว้ ทิ ยาการแขนงตา่ งๆ ท่ีจักรวรรดไิ บแซนไทน์สบื ทอดไว้ หลั่งไหลคืนส่ยู โุ รปตะวันตกความเจรญิ ในสมยั ฟนื้ ฟูศิลปะวทิ ยาการ การฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นการศึกษาอารยธรรมกรีก-โรมัน ทั้งด้านวรรณกรรม ประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และวิทยาการด้านต่างๆ โดยใหค้ วามสา่ คญั ของมนุษย์กับการด่าเนนิ - ชวี ติ ในโลกปจั จุบนั ทเ่ี รียกว่า มนุษยนิยม (HUMANISM) โดยผู้ทมี่ ีความคดิ ความเชอื่ เชน่ นเี้ รยี ก ตนเองว่า นักมนุษยนิยม (HUMANISTS) ซึ่งได้พยายามปลดเปลื้องตนเองจากการครอบง่าของคริสตจักรและระบบฟิวดัล ลักษณะท่ีให้ความส่าคัญของความเจริญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ คือ ถึงแม้จะเป็นความสนใจ

ศึกษาความรู้จากอารยธรรมกรีก-โรมัน แต่มิใช่การลอกเลียนแบบ จุดมุ่งหมายส่าคัญ คือ การศึกษาความรู้เพ่ือประโยชน์ต่อสงั คมและสรา้ งสรรคส์ ิง่ ใหม่ๆ ขึน้ มา ผลงานสา่ คญั ไดแ้ ก่ 1. วรรณคดีประเภทคลาสสิก นักมนุษยนิยมท่ีกระตุ้น จินตนาการของชาวยุโรปให้มาสนใจงานวรรณคดีและปรัชญาไดร้ บั การ ยกย่องวา่ เป็นบดิ าแห่งมนุษยนิยม คือ ฟรานเซสโก เพทราร์ก (FRANCESCO PETRARCA : ค.ศ. 1304-1374) ชาวอิตาลี ผู้ซึ่งชี้ความ งดงามของภาษาละตินและการใช้ภาษาละตินให้ถูกต้อง ผู้ที่สนใจและ นิยมงานเขียนวรรณคดีประเภทคลาสสิกจะค้นคว้าศึกษางานของ ปราชญ์สมัยโรมันตามห้องสมุดของวัดและโบสถ์วิหารในยุโรป แล้วน่า มาคัดลอกรวมท้ังน่าวรรณคดีและแนวคิดของปรัชญากรีกมาแปลเป็น ภาษาละตินเผยแพร่ท่ัวไป นอกจากน้ียังมีผลงานของนิคโคโล มา- เคียเวลลี(NICCOLO MACHIAVELLI : ค.ศ. 1469-1527) เรอื่ งเจ้าผคู้ รอง นคร (THE PRINCE) กล่าวถึงลักษณะการเปน็ ผู้ปกครองรัฐท่ีดี และ เซอร์ธอมัส มอร์ (SIR THOMAS MORE : ค.ศ. 1478-1536) เขยี นเรื่อง ยูโทเปีย (UTOPIA) กล่าวถึงเมืองในอุดมคติท่ีปราศจากความเลวรา้ ย ซ่ึงผลงานของนักมนุษยนิยมเหล่านี้น่าไปสู่การต่อต้านการปกครองและ วิธีปฏิบัติของคริสตจักรท่ีขัดต่อคัมภีร์ไบเบิล ซ่ึงส่งผลท่าให้เกิดการ ปฏิรูปศาสนาขึ้นใน ค.ศ. 1517 ส่วนงานวรรณกรรมที่เป็นบทละคร นักประพันธ์ท่ีส่าคัญคือ วิลเลียม เช็กสเปียร์ (WILLIAM SHAKESPEARE: ค.ศ. 1564-1616) ซึ่งเขียนบทละครท่ีมีชื่อเสียง คือ โรมิโอและ จูเลียต(ROMEO AND JULIET) และเวนิสวาณิช (THE MARCHANT OF VENICE) 2. ศิลปกรรม ในยุคกลางศิลปกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคริสต์ศาสนาโดยเฉพาะ ท่าให้ ไม่สามารถถ่ายทอดจนิ ตนาการอย่างเสรไี ด้ ผลงานสว่ นใหญจ่ งึ ขาดชีวิตชีวา แตศ่ ิลปกรรมในสมยั ฟ้นื ฟศู ลิ ปวิทยานิยมงานศิลปะของกรกี -โรมันท่ีเป็นธรรมชาติ จึงให้ความสนใจความสวยงามใน สรีระของมนุษย์ มิติของภาพ สี และแสงในงานประติมากรรมและจิตรกรรมให้สมจริง สมดุล และกลมกลืนสอดคลอ้ งมากขนึ้ ศิลปินทส่ี า่ คัญ เชน่ – ไมเคลิ แอนเจโล บูโอนารโ์ รตี (MICHELANGELO BUONARROTI : ค.ศ. 1475-1564) เป็นศลิ ปนิ ทม่ี ีผลงานทั้งด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ผลงานประติมากรรมท่ี ส่าคัญและมีช่ือเสียง คือ รูปสลักเดวิด (DAVID) เป็นชายหนุ่มเปลือยกาย และปิเอตา (PIETA) เป็นรูปสลักพระมารดาก่าลังประคองพระเยซูในอ้อมพระกร ส่วน ผลงานจิตรกรรมที่มีช่ือเสียง คือ จิตรกรรมฝาผนังท่เี ขียนไวบ้ น เพดานและฝาผนังของโบสถ์ซีสติน (SISTINE CHAPEL) ในมหาวิ หารเซนต์ปีเตอร์ ท่ีกรงุ โรม ทม่ี ีลักษณะงดงามมากรูปแกะสลกั เดวดิ ประติมากรรมทีม่ ชี ่ือเสยี งของ ไมเคิลแอนเจโล – เลโอนาร์โด ดา วินชี (LEONARDO DA VINCI : ค.ศ. 1452-1519) เป็นศิลปินที่มี ผลงานเป็นเลิศในสาขาต่างๆภาพเขยี นทีม่ ีชอ่ื เสียง คือ ภาพอาหารมื้อสุดท้าย (THE LAST SUPPER) ซึ่งเป็นภาพพระเยซูกับสาวกน่ังที่โต๊ะอาหารก่อนท่ีพระเยซูจะถกู น่าไปตรึงไมก้ างเขน และภาพโมนาลิซา่ (MONALISA) เปน็ ภาพหญงิ สาวท่มี รี อยยม้ิ ปรศิ นากับบรรยากาศของธรรมชาติ

ภาพวาดโมนาลซิ ่า งานจติ รกรรมของเลโอนาร์โด ดา วนิ ชี – ราฟาเอล (RAPHAEL : ค.ศ. 1483-1520) เปน็ จติ รกรทว่ี าดภาพเหมือนจริง ภาพที่มี ชื่อเสียง คือ ภาพพระมารดาและพระบุตร พรอ้ มด้วยนกั บุญจอหน์ (MADONNA AND CHILD WITH ST. JOHN) ภาพวาดพระมารดาและพระบตุ ร งานจิตรกรรมของราฟาเอล3. ดา้ นวิทยาการความเจรญิ อื่นๆ ไดแ้ ก่ – ด้านดาราศาสตร์ เป็นสาขาวิชาท่ีชาวยุโรปสนใจกันมากในช่วงเวลานี้ นัก ดาราศาสตร์ท่ีส่าคัญ คือ คอเปอร์นิคัส(ค.ศ. 1473-1543) ได้เสนอทฤษฎที ีข่ ดั แย้งกับค่าสอนของ ครสิ ต์ศาสนา โดยระบุว่าโลกไม่ได้แบนและไม่ได้เป็นศูนย์กลางของจกั รวาล แตเ่ ปน็ บริวารทีโ่ คจร รอบดวงอาทติ ย์ – ด้านการพิมพ์ ในช่วงสมัยน้ีได้มีการคิดค้นการพิมพ์ท่ีใช้วิธีการเรียงตัวอักษรได้ ส่าเร็จเป็นครั้งแรก โดยโยฮัน กูเตนเบริ ก์ ( JOHANNES GUTENBURG : ค.ศ. 1400-1468) ชาว เมอื งไมนซ์ (MAINZ) ในเยอรมนี ท่าให้ราคาหนังสือถูกลงและเผยแพร่ไปได้อยา่ งกว้างขวางผลของการฟืน้ ฟูศิลปวิทยาการ ในสมัยฟื้นฟูศลิ ปวิทยาการ ศลิ ปกรรมและวทิ ยาการตา่ งๆ ไดเ้ จรญิ ก้าวหน้ามากขึ้นส่งผล ให้คนยุโรปมลี กั ษณะ ดงั นี้ 1. ความสนใจในโลกปัจจุบัน ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ชาวยุโรปยังคงนับถือศรัทธาใน พระเจ้า แต่จากการได้รับอิทธิพลจากแนวคิดแบบมนุษยนิยม ท่าให้ชาวยุโรปมีแนวคิดในการ ด่าเนินชีวิตในโลกปัจจุบันให้ดีและสร้างส่ิงต่างๆ เพ่ือ

ความสขุ และความม่ันคงให้แกต่ น ท้ังหมดนี้ สะท้อนในงานศิลปกรรมต่างๆ ที่สร้างข้ึนเพื่อนสนองความพึงพอใจของตนเอง เช่นสรา้ งบา้ น เรอื นอยา่ งวิจติ รสวยงาม การมรี ปู ปนั้ ประดับอาคารบา้ นเรือน การวาดภาพเหมอื นของมนุษย์ เปน็ ต้น 2. ความต้องการแสวงหาความรู้ การท่ีมนุษย์ต้องการหาความรู้และความสะดวกสบาย ให้แก่ชีวิต ท่าให้ต้องมีการคิดสร้างสรรค์ผลงานและวิทยาการต่างๆ ดังน้ันมนุษย์ในสมัยฟ้ืนฟู ศิลปวิทยาการ จึงมีการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา การคิคค้น การทดลอง การพิพากษ์ วจิ ารณอ์ ย่างมเี หตผุ ล เปน็ ผลใหว้ ทิ ยาการดา้ นต่างๆ พัฒนามากขึ้น สภาพสังคมของมนุษย์ในสมัยน้ีคือการตื่นตัวในการค้นหาความจริงของโลก ท่าให้มนษุ ยต์ ้องการแสวงหาความรู้และส่ารวจดนิ แดนต่างๆ อันน่าไปสู่การปฏิรูปศาสนา การสา่ รวจทางทะเล และการปฏวิ ตั ทิ างวิทยาศาสตร์ใน เวลาต่อมา

ใบกจิ กรรมท่ี 7 ประวัตศิ าสตร์สากล ส 31104ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เรื่อง การสารวจทางทะเลและการปฏิรปู ศาสนา ครศู ิรมิ า เมฆปัจฉาพิชติ ช่ือ-สกุล .............................................................................. ชั้น ............... เลขที่ ............คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนศึกษาค้นควา้ เรื่องการสารวจทางทะเลและการปฏริ ูปศาสนาพรอ้ มอธบิ ายหวั ข้อตา่ งๆในแบบกิจกรรมน้ี การสารวจทางทะล การสารวจทางทะเลของยโุ รปเริม่ ตน้ เมอื่ ค.ศ. 1450-1750 ซ่งึ เกดิ ขน้ึ ในช่วงเวลาใกล้ เคียงกับยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการของยุโรป และต่างก็มีบทบาทสาคัญต่อประวัติศาสตร์ยุโรปในยุค ใหม่ กล่าวได้ว่า การฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นพื้นฐานสาคัญทาให้เกิดการสารวจทางทะเล ซึ่งเป็น ผลให้ยุโรปเผยแพร่วัฒนธรรมของตนไปสู่ภูมิภาคอื่นๆ ของโลกได้ในเวลาต่อมาสาเหตุของการสารวจทางทะเล มดี งั นี้…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………บทบาทของชาติตา่ งๆ ในการสารวจทางทะเลประเทศ บุคคลสาคัญ ความสามารถ/ความสาคญัโปรตเุ กส เจ้าชายเฮนรี นาวกิ ราช ……………………………………………………………………………………………………… (HENRY THE NAVIGATOR) ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………โปรตเุ กส บารโ์ ธโลมวิ ไดแอส ……………………………………………………………………………………………………… (BARTHOLOMEU DIAS) ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………โปรตเุ กส วัสโก ดา กามา ……………………………………………………………………………………………………… (VASCO DA GAMA) ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ครสิ โตเฟอร์ โคลัมบัส ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………สเปน (CHRISTOPHER ……………………………………………………………………………………………………… COLUMBUS) ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..

คริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นช่วงการแข่งขันอานาจทางทะเลระหว่างโปรตุเกสและสเปนเพื่อ หาเส้นทางไปหมู่เกาะอีสต์อินดสี (EAST INDIES) ซ่ึงเป็นแหล่งเคร่ืองเทศและพริกไทย ใน ค.ศ. 1494 สันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ท่ี 6 (ALEXANDER VI)ได้ให้สเปนและโปรตุเกสทาสนธิสัญญา ทอร์เดซียัส (TREATY OF TORDESILLAS) กาหนดเส้นสมมติแบ่งโลกออกเป็น 2 ส่วนโดยสเปนมีสิทธิ สารวจและยึดครองดินแดนทางด้านตะวันตกของเส้นเมริเดียนที่ 51 ส่วนโปรตุเกสได้สิทธิทาง ด้านตะวันออกและนาไปสู่การสรา้ งจกั รวรรดิทางทะเลของโปรตุเกสในเอเชียในครติ ส์ศตวรรษที่ 16 โปรตุเกสไดข้ ยายอานาจมาจนถึงเอเชียตะวันออกเฉยี งใตแ้ ละเขา้ ยดึ ครองมะละกา ทาให้บริเวณคาบสมุทรมลายแู ละหมู่เกาะอินโดนเี ซียตกอยภู่ ายใตอ้ ทิ ธิพลของโปรตุเกส ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..สเปน เฟอรด์ นิ นั ด์ แมกเจลลนั ……………………………………………………………………………………………………….. (FERDINAND MAGELLAN) ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..โปรตุเกสและสเปนกลายเป็นชาติที่มีอานาจ มีความม่ังคั่ง ทาให้หลายชาติทาการ สารวจเส้นทางเดินเรือ การแข่งขันอานาจทางทะเลระหว่างโปรตเุ กสกับสเปนยุติลงเม่ือโปรตเุ กส ตกอยูภ่ ายใต้การปกครองของสเปนในช่วง ค.ศ. 1580-1640ฮอลันดา เคยอยู่ใต้การปกครองของสเปน และทาหน้าท่ีเป็นพ่อค้าคนกลางในการค้า เคร่ืองเทศ จนกระท่ัง ค.ศ. 1581ได้แยกตวั เปน็ อสิ ระจากสเปน ทาใหส้ เปนประกาศปิดทา่ เรือ ลสิ บอนสง่ ผลให้ฮอลันดาไม่สามารถซ้ือเครื่องเทศได้อีก ฮอลันดาจึงต้องหาเส้นทางทางทะเลเพ่ือ ซ้ือเคร่ืองเทศโดยตรง ในที่สุดกองทัพเรือของฮอลันดาก็สามารถยึดครองอานาจทางทะเลใน ค.ศ.1598 และได้จัดต้งั สถานีการคา้ ในเกาะชวา และจดั ต้ังบริษทั อินเดียตะวนั ออกของฮอลนั ดา เพอ่ื ควบคมุ การค้าเครือ่ งเทศ ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..ฮอลันดา เรอื ดุฟเกน (DUYFKEN) ของ ……………………………………………………………………………………………………….. ฮอลนั ดา ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..องั กฤษ กองทพั เรือของอังกฤษ ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..ผลการสารวจทางทะเล มดี ังนี้1. อารยธรรมยุโรปเผยแพร่ไปสู่ดนิ แดนอ่ืนๆ ทช่ี าวยโุ รปเดนิ ทางไปถึง โดย……………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………2. ยุโรปไดร้ บั อารยธรรมจากดินแดนอ่ืนๆ เชน่ …………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………3. เกิดการแพรก่ ระจายของพันธ์พุ ชื และพนั ธุ์สัตว์ ชาวยโุ รปไดน้ าพันธุพ์ ชื จากถ่ินกาเนดิ ไปยังภมู ิภาคอนื่ ๆ เชน่………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. เกิดการระบาดของโรคภัยไขเ้ จบ็ ซึ่งมาพร้อมๆ กับเรือของชาวยุโรป โรคระบาดท่ีสาคัญ เชน่ ....................................…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ศาสนาคริสต์ได้แผ่ขยายไปในดินแดนต่างๆ ที่ชาวยุโรปเข้าไปติดต่อค้าขาย หรือดินแดนท่ียุโรปได้เข้ายึดครองจัดต้ังเปน็ อาณานิคม แบบสันตวิ ธิ ี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แบบการรุนแรง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. การเปล่ียนแปลงระบบเศรษฐกิจของยุโรป การขยายตัวทางการค้าทาให้ สมาคมอาชีพ (GUILD) ท่ีมีมาต้ังแต่สมัยกลางล่มสลายลง การค้นพบดินแดนใหม่ส่งผลให้การค้า ขยายตัวอย่างรวดเร็ว นาไปสู่การปฏิวัติทางการค้า ประเทศต่างๆ ในตะวันตกต่างใช้นโยบาย แข่งขันทางเศรษฐกิจเป็นหลัก บรรดาพ่อค้าและนายทุนรวมตัวกันจัดต้ังบริษัทโดยมีกษัตริย์ให้ การสนับสนุนทาการค้าในนามของประเทศ เช่น บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ บริษัท อินเดียตะวันออกของฮอลันดา เป็นต้นซ่ึงทาให้บรรดาพ่อค้าและนายทุนมีฐานะมั่นคงและกลาย เป็นบุคคลช้ันนาทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมในเวลาต่อมา ********************* การปฏิรปู ศาสนา การปฏิรูปศาสนา (RELIGIOUS REFORMATION) เกิดข้ึนในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีสาเหตุ สาคัญมาจากความเส่ือมความนิยมในผู้นาทางศาสนาและการเกิดแนวคิดใหม่เก่ียวกับศาสนา เนื่องจากมีการศึกษาคัมภีร์ไบเบิลและแปลออกเป็นภาษาต่างๆ เช่น ภาษาองั กฤษ ฝรัง่ เศส เยอรมัน ทาให้ครสิ ตศ์ าสนิกชนมีความรู้ความเข้าใจใหม่ การปฏิรูปศาสนาจึงเกิดข้ึนในหลายๆประเทศ โดยมีผู้นาการปฏิรูปหลายคนและใช้ช่ือแตกต่างกันการปฏิรูปคริสต์ศาสนา หมายถึง ขบวนการในยุโรปตะวันตกที่ปัจเจกชนและสถาบันต่างๆ แสดงความเห็นคัดค้านการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามหลักในคัมภีร์ไบเบิล การปฏิรูปเป็นไปอย่างต่อเน่อื ง จนในทสี่ ดุ คริสตศ์ าสนาในยโุ รปได้แตกแยกเปน็ 2 นิกาย คือโรมันคาทอลกิ และ โปรเตสแตนต์สาเหตกุ ารปฏริ ปู ศาสนา มีดงั น้ี………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………การเริม่ ตน้ ปฏริ ปู ศาสนาประเทศ ผนู้ าความ เหตุการณ์ความเปล่ียนแปลง เปล่ยี นแปลง ………………………………………………………………………………………………………………………เยอรมนี มาร์ติน ลูเธอร์ ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………

ประเทศ ผู้นาความ เหตกุ ารณ์ความเปล่ยี นแปลง เปลย่ี นแปลง อุลริค ชวิงลี ………………………………………………………………………………………………………………………สวิตเซอรแ์ ลนด์ ชาวเยอรมัน ……………………………………………………………………………………………………………………… ไฮริช บูลลงิ เจอร์ ……………………………………………………………………………………………………………………… และจอห์น คาลวิน ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………อังกฤษ พระเจา้ เฮนรีท่ี 8 ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………ฝรัง่ เศส จอหน์ คาลวนิ หรอื ……………………………………………………………………………………………………………………… กัลแวง (JOHN ……………………………………………………………………………………………………………………… CALVIN : ค.ศ. ……………………………………………………………………………………………………………………… 1509-1564) ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………นิกายทางศาสนาท่เี กิดขน้ึ ใหมใ่ นคริสตศ์ ตวรรษที่ 16 นี้ คอื…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………การปฏริ ูปศาสนาของคริสตจักรเม่ือมีการปฏิรูปศาสนาในดินแดนต่างๆ นักบวชและชาวคริสต์บางคนได้รวมตัวกันต่อต้าน และปฏิรูปตนเอง รวมทั้งชักชวนให้คริสต์ศาสนิกชนอื่นๆ ทาตาม บางท่านมีผู้เลื่อมใสและยกย่อง ให้เป็นนักบุญ เช่น บริจิตต์แห่งสวีเดน (BRIGITT OFSWEDEN) ฟรังซีสแห่งปาโอลา (FRANCIS OF PAOLA) ในอิตาลี และพวกปัญญาชนพยายามศึกษาเรื่องศาสนาและเผยแพร่สู่ประชาชน ซึ่งการ ปฏิรูปดังกล่าวเป็นการปฏิรูปจากคริสต์ศาสนิกชนเบื้องล่าง แต่เม่ือการปฏิรูปศาสนาลุกลามไป อย่างรวดเร็วคริสตจกั รจงึ ไดห้ าทางยับย้งั ดงั น้ี…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………ผลของการปฏิรูปการศาสนา มีดังน้ี………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบกจิ กรรมท่ี 7 ประวตั ิศาสตร์สากล ส 31104ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เร่ือง การสารวจทางทะเลและการปฏิรปู ศาสนา ครูศิรมิ า เมฆปัจฉาพิชติ ช่ือ-สกุล .............................................................................. ชัน้ ............... เลขท่ี ............คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนศึกษาคน้ ควา้ เรื่องการสารวจทางทะเลและการปฏริ ูปศาสนาพร้อมอธิบายหวั ข้อตา่ งๆในแบบกจิ กรรมนี้ การสารวจทางทะล การสารวจทางทะเลของยุโรปเรม่ิ ต้นเม่อื ค.ศ. 1450-1750 ซึ่งเกดิ ขึน้ ในช่วงเวลาใกล้ เคียงกับยุคฟ้ืนฟูศิลปวิทยาการของยุโรป และต่างก็มีบทบาทสาคัญต่อประวัติศาสตร์ยุโรปในยุค ใหม่ กล่าวได้ว่า การฟ้ืนฟูศิลปวิทยาการเป็นพื้นฐานสาคัญทาให้เกิดการสารวจทางทะเล ซ่ึงเป็น ผลให้ยุโรปเผยแพร่วัฒนธรรมของตนไปสู่ภูมิภาคอ่ืนๆ ของโลกได้ในเวลาต่อมาสาเหตขุ องการสารวจทางทะเล มดี ังนี้ 1. การมีวทิ ยาการที่กา้ วหน้า ในสมัยฟ้ืนฟูศิลปวิทยาการ ชาวยุโรปได้เร่ิมหันมาสนใจ ศึกษาส่ิงแวดล้อมรอบๆ ตัว และผลจากการติดตอ่ กับโลกตะวันออกในสมยั สงครามครูเสด รวมทง้ั การขยายตัวของเมอื งในระยะเวลาใกล้เคยี งกัน ทาให้ชาวยุโรปไดส้ มั ผัสกบั อารยธรรมความเจริญ ของโลกตะวันออกหลายอย่าง โดยเฉพาะทางด้านปรัชญา คณิตศาสตร์ และดาราศาสตร์ ทาให้ ปัญญาชนเร่ิมตรวจสอบความรู้ของตนและค้นหาคาตอบให้กับตนเองเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว ซ่ึงผลักดันให้ชาวยุโรปหันมาสนใจต่อความลี้ลับของท้องทะเลท่ีกั้นระหว่างโลกตะวันออกกับโลก ตะวันตก โดยเฉพาะความรู้ทางภูมิศาสตร์และแผนท่ีของโตเลมี (PTOLEMY) นักดาราศาสตร์และ นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ท่ีแสดงที่ต้ังของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ดินแดนริมฝั่งทะเลคาบสมทุ ร ไอบีเรีย จนถึงดินแดนฝ่ังทะเลตอนเหนือของทวีปแอฟริกา รวมท้ังดินแดนทางด้านตะวันออกท่ี เป็นผืนแผ่นดินใหญ่ถงึ อนิ เดยี และจีน นอกจากน้ีความรู้ในการใช้เข็มทิศและการพัฒนารูปทรง และขนาดของเรือให้แข็งแรงทนทานต่อสภาพลมฟ้าอากาศ สามารถท่ีจะเดนิ ทางไกลไดด้ ีข้นึ ทาให้ชาติตะวนั ตกหลัง่ ไหลสโู่ ลกตะวนั ออกอย่างกวา้ งขวาง 2. แรงผลกั ดนั ทางดา้ นการค้า เมอ่ื พวกมสุ ลิมสามารถยึดครองกรงุ คอนสแตนตโิ นเปลิ และดนิ แดนจักรวรรดิไบแซนไทน์ไดท้ ้งั หมดใน ค.ศ. 1453 ทาให้การค้าทางบกระหว่างโลก ตะวันออกกับโลกตะวันตกหยุดชะงัก แต่สินค้าต่างๆ จากตะวันออกเช่น ผ้าไหม เครื่องเทศยาต่างๆ ยังเป็นท่ีต้องการของตลาดตะวันตก ซึ่งหนทางเดียวที่พ่อค้าจะติดต่อค้าขายได้ก็คือ การติดต่อคา้ ขายทางทะเล ดังนน้ั จงึ จาเปน็ ต้องสารวจเสน้ ทางทางทะเล เพอ่ื หาเสน้ ทางติดต่อกบั ดนิ แดนต่างๆ ทางตะวันออก 3. แรงผลกั ดนั ทางด้านศาสนา เนื่องจากความคดิ ของผนู้ าชาติต่างๆ ในขณะน้นั เห็น วา่ การเผยแผค่ ริสต์ศาสนาเป็นกุศลอย่างมาก รวมท้ังต้องการแข่งขันกับชาวมุสลิมที่เข้ามาขยาย อิทธิพลอยู่ในขณะน้ัน จึงสนับสนุนให้มีการค้นหาดินแดนใหม่ๆและเผยแผ่คริสต์ศาสนาไป พรอ้ มกันด้วย 4. อิทธพิ ลของแนวคิดในสมยั ฟ้นื ฟศู ิลปวทิ ยาการ แนวความคิดในสมัยฟ้ืนฟูศิลปวิทยา การ ทาให้ชาวยุโรปมุ่งหวังท่ีจะสร้างช่ือเสียงเกียรตยิ ศและความต้องการที่จะเสี่ยงโชคเพื่อชีวิต ที่ดีกว่า ผลักดันให้ชาวยุโรปเกิดความกล้าหาญที่จะเผชิญกับสิ่งต่างๆ รวมท้ังความกระตือรือร้น ท่ีจะแสวงหาความรู้ใหม่ๆ และรักการผจญภัย เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้ชาวยุโรปกล้าเสี่ยงภัยเดนิ ทางสารวจมหาสมุทรทกี่ วา้ งใหญ่ไพศาลบทบาทของชาตติ ่างๆ ในการสารวจทางทะเลประเทศ บุคคลสาคัญ ความสามารถ/ความสาคัญโปรตุเกส เจา้ ชายเฮนรี นาวิกราช (HENRY THE พระอนุชาของพระเจา้ จอห์นท่ี 1 (JOHN I) แหง่ โปรตุเกส NAVIGATOR) ได้จัดตั้งโรงเรียนราชนาวีเพ่ือเป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้ เกี่ยวกับการเดินทางทะเล การใช้ เคร่ืองมือและเทคนิค การสร้างเรือ ซึ่งส่งผลให้ชาว โปรตุเกสสามารถค้นพบ เสน้ ทางเดนิ เรือสดู่ ินแดนทางตะวันออก

โปรตเุ กส สามารถเดินเรือเลียบชายฝ่ังทวีปแอฟริกาผ่านแหลม กู๊ด โฮป (CAPE OF GOOD HOPE) ได้สาเรจ็ ใน ค.ศ. 1488 บาร์โธโลมิว ไดแอส (BARTHOLOMEU DIAS)โปรตุเกส แล่นเรือตาม เส้นทางสารวจของไดแอสจนถึงทวีปเอเชีย และสามารถข้ึนฝ่ัง ท่ีเมืองกาลิกัต (CALICUT) ของ อินเดียได้เมื่อ ค.ศ. 1498 ต่อมา ชาวโปรตุเกสสามารถ ควบคุมเมืองต่างๆ ทางชายฝ่ังตะวันออก ของทวีป แอฟริกาและอินเดียทางชายฝั่งตะวันตก สามารถยึด เมืองกวั (GOA) ในมหาสมทุ รอินเดยี ได้ วัสโก ดา กามา (VASCO DA GAMA) ค.ศ. 1492 ชาวเมืองเจนัว (ประเทศอิตาลี) ซ่ึงมีความ เชื่อว่าโลกกลม ได้รับ การสนับสนุนจากกษัตริย์สเปนให้ เดินทางข้าม มหาสมุทรแอตแลนติก เพ่ือสารวจเส้นทางสเปน เดินเรือ ไปประเทศจีน แต่เขาได้พบหมู่เกาะเวสต์อินดีส ซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของทวีปอเมริกาใต้โดยบังเอิญใน ค.ศ. 1492 ซ่ึงทาให้สเปนได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ ใน อเมริกาใต้ท่ีอุดมสมบูรณ์ด้วยแร่เงินและทองคา ในเวลา ต่อมา คริสโตเฟอร์ โคลัมบสั (CHRISTOPHER COLUMBUS) คริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นช่วงการแข่งขันอานาจทางทะเลระหว่างโปรตุเกสและสเปนเพ่ือ หาเส้นทางไปหมู่เกาะอีสต์อินดีส (EAST INDIES) ซ่ึงเป็นแหล่งเครื่องเทศและพริกไทย ใน ค.ศ. 1494 สันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 (ALEXANDER VI)

ได้ให้สเปนและโปรตุเกสทาสนธิสัญญา ทอร์เดซียัส (TREATY OF TORDESILLAS) กาหนดเส้นสมมติแบ่งโลกออกเป็น 2 ส่วนโดยสเปนมีสิทธิ สารวจและยึดครองดินแดนทางด้านตะวันตกของเส้นเมริเดียนที่ 51 ส่วนโปรตุเกสได้สิทธิทาง ด้านตะวันออกและนาไปสู่การสรา้ งจกั รวรรดิทางทะเลของโปรตุเกสในเอเชยีในคริตสศ์ ตวรรษท่ี 16 โปรตเุ กสได้ขยายอานาจมาจนถึงเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้และเข้า ยดึ ครองมะละกา ทาให้บริเวณคาบสมุทรมลายูและหมเู่ กาะอินโดนเี ซยี ตกอยภู่ ายใตอ้ ิทธพิ ลของโปรตุเกส ค.ศ. 1519 ไดเ้ ดินทางไปทางทิศตะวันตกของมหาสมุทร แอตแลนติกผ่านช่องแคบท่ีภายหลังตั้งชื่อว่าแมกเจลลัน ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ ข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกสเปน เฟอร์ดนิ นั ด์ แมกเจลลัน (FERDINAND มายังทวีปเอเชีย เขาถูกชาวพื้นเมืองฆ่าตายเม่ือพยายาม MAGELLAN) เผยแผ่คริสต์ศาสนาท่ีเกาะฟิลิปปินส์ แต่ ลูกเรือของเขา สามารถเดนิ ทางกลบั สเปนทางมหาสมุทรอินเดียได้สาเร็จ ใน ค.ศ. 1522 นับเป็นเรือ ลาแรกที่แล่นรอบโลกได้ สาเรจ็โปรตุเกสและสเปนกลายเป็นชาติท่ีมีอานาจ มีความมั่งคั่ง ทาให้หลายชาติทาการ สารวจเส้นทางเดินเรือ การแข่งขันอานาจทางทะเลระหว่างโปรตเุ กสกับสเปนยตุ ิลงเม่ือโปรตเุ กส ตกอยภู่ ายใต้การปกครองของสเปนในชว่ ง ค.ศ. 1580-1640ฮอลันดา เคยอยู่ใต้การปกครองของสเปน และทาหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางในการค้า เครื่องเทศ จนกระทั่ง ค.ศ. 1581ไดแ้ ยกตวั เป็นอิสระจากสเปน ทาให้สเปนประกาศปดิ ท่าเรือ ลสิ บอนสง่ ผลให้ฮอลันดาไม่สามารถซ้ือเครื่องเทศได้อีก ฮอลันดาจึงต้องหาเส้นทางทางทะเลเพื่อ ซื้อเคร่ืองเทศโดยตรง ในท่ีสุดกองทัพเรือของฮอลันดาก็สามารถยึดครองอานาจทางทะเลใน ค.ศ.1598 และไดจ้ ัดตง้ั สถานกี ารคา้ ในเกาะชวา และจดั ต้ังบริษัทอนิ เดยี ตะวนั ออกของฮอลันดา เพอ่ื ควบคุมการคา้ เครื่องเทศ ค.ศ. 1605 ที่เป็นเรือค้นหาเกาะทองคาท่ีเช่ือว่า อยู่ทาง ทิศใต้และทิศตะวันออกของเกาะชวา ได้ค้นพบทวีป ออสเตรเลียเป็นครั้งแรก และเรียก ทวีปน้ีว่า นิวฮอลันดา เรือดฟุ เกน (DUYFKEN) ของฮอลนั ดา ฮอลแลนด์ (NEW HOLLAND) แต่ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 อังกฤษได้ครอบครองและ เรียกทวีปนี้ว่า ออสเตรเลีย ซ่ึงมาจาก AUSTRALIS ในภาษากรีก แปลวา่ ดนิ แดนทางซีกโลกใต้ ค.ศ. 1588 กองทัพเรือของอังกฤษทาสงครามชนะ กองทพั เรอื อาร์มาดา (ARMADA) ของสเปนท่มี ีชื่อเสียงได้ ทาให้อังกฤษขยายอิทธิพลสู่ดินแดนตะวันออก สามารถ สลายอานาจทาง ทะเลของโปรตุเกสและเข้าไปมีอานาจ และอิทธิพลในอินเดีย และเป็นคู่แข่งทางการค้ากับ ฮอลันดา ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีเพียงอังกฤษอังกฤษ กองทพั เรือของอังกฤษ ฮอลันดา และฝร่ังเศส แข่งขันกันมีอานาจทางทะเลและ แสวงหาอาณานคิ ม ทั้งนี้ได้มีการทาสงครามกันหลายคร้ัง ในท่ีสุดฮอลันดายังคงมีอานาจแถบ มะละกาและควบคุม การค้าเคร่ืองเทศในหมู่เกาะเคร่ืองเทศต่อไป จนถึงปลาย คริสต์ศตวรรษท่ี 18 อังกฤษกลับเป็นประเทศที่มี แสนยานุภาพกลางทะเลเหนือกว่าทุกชาติ โดยได้อาณา นิคมในอินเดีย อเมริกาเหนือ และทวีปออสเตรเลียท้ัง ทวีป

ผลการสารวจทางทะเล มดี ังนี้ 1. อารยธรรมยโุ รปเผยแพรไ่ ปสู่ดินแดนอื่นๆ ที่ชาวยุโรปเดินทางไปถึง โดยชาวยุโรป ได้สร้างเมืองและความเจริญต่างๆเพื่อใหต้ นสามารถดาเนนิ ชีวิตไดต้ ามแบบทค่ี ุ้นเคย จึงเกดิ การ แพร่กระจายวัฒนธรรมตามแบบตะวันตก เช่น ภาษา การแต่งกายอาหาร ระบบการปกครอง ศิลปกรรม เช่น การกอ่ สร้างถนน สะพาน สถานทีร่ าชการ โบสถ์ วิหาร เป็นต้น 2. ยุโรปได้รับอารยธรรมจากดินแดนอ่ืนๆ เช่น วิทยาการของชาวตะวันออก เช่น การ เดินเรือ ศิลปะจีนที่เน้นความงดงามของธรรมชาติ อารยธรรมของอสิ ลาม เช่น คณิตศาสตร์ การ ดื่มชาแบบจีน กาแฟจากตุรกี ยาสูบจากหมู่เกาะเวสต์อินดีสนา้ ตาลจากบราซิล และมนั ฝร่งั จาก อเมรกิ าใต้ ได้มีบทบาทสาคญั ตอ่ การดาเนินชีวิตของชาวยโุ รป 3. เกิดการแพร่กระจายของพันธ์ุพืชและพันธ์ุสัตว์ ชาวยุโรปได้นาพันธุ์พืชจากถ่ินกาเนิด ไปยังภูมิภาคอื่นๆ เช่น นากาแฟจากดนิ แดนตะวันออกกลางมาปลูกท่ีเกาะชวา ต่อมาได้แพร่ขยาย ไปปลูกยังอเมริกาใต้ ต้นยางพาราจากบราซิลมาปลูกท่ีอินโดนีเซีย มาเลเซีย ต่อมาได้ขยายมาปลูก ทางภาคใต้ของไทย มันฝร่ังและข้าวโพดจากทวีปอเมริกามาปลูกในยุโรป ปลูกข้าวโอ๊ตและ ข้าวโพดในทวีปแอฟริกา หัวผักกาดหวานจากทวีปอเมริกามาปลูกท่ีจีน และนาสัตว์ต่างๆ ไปยัง ทวีปอ่ืน เช่น แกะ ไปแพรพ่ นั ธ์ทุ ่ีออสเตรเลียและนวิ ซีแลนด์ และนาลา ล่อ ววั แพะ มาเล้ียงใน อเมริกา เป็นต้น 4. เกิดการระบาดของโรคภัยไข้เจ็บ ซึ่งมาพร้อมๆ กับเรือของชาวยุโรป โรคระบาดท่ี สาคัญ เช่น โรคหัดและฝีดาษในอเมริกาเหนือ ไขเ้ หลืองและไขม้ าลาเรยี ที่มมี ากในแอฟรกิ ามา ระบาดในอเมรกิ ากลางและใต้ เป็นต้น 5. ศาสนาคริสตไ์ ดแ้ ผ่ขยายไปในดินแดนตา่ งๆ ที่ชาวยุโรปเข้าไปติดต่อค้าขาย หรือ ดินแดนท่ียุโรปได้เข้ายึดครองจัดต้ังเป็นอาณานิคม ในบางแห่งใช้แบบสันติวิธี โดยบาทหลวงจะทา หน้าท่ีส่ังสอนให้การศึกษากับชาวพ้ืนเมืองและช่วย เหลือด้านมนุษยธรรม ในบางแห่งใช้วิธีการรุนแรงบีบ บังคับคนพ้ืนเมืองในบริเวณอเมริกากลางและ อเมริกาใต้ ให้มาเข้ารีตนับถือคริสต์ศาสนา ทาให้ ศาสนาครสิ ตเ์ จริญอย่างม่นั คงในดนิ แดนทวีปอเมรกิ า และดนิ แดนต่างๆ 6. การเปล่ียนแปลงระบบเศรษฐกิจของยุโรป การขยายตัวทางการค้าทาให้ สมาคมอาชีพ (GUILD) ที่มีมาต้ังแต่สมัยกลางล่มสลายลง การค้นพบดินแดนใหม่ส่งผลให้การค้า ขยายตัวอย่างรวดเร็ว นาไปสู่การปฏิวัติทางการค้า ประเทศต่างๆ ในตะวันตกต่างใช้นโยบาย แข่งขันทางเศรษฐกิจเป็นหลัก บรรดาพ่อค้าและนายทุนรวมตัวกันจัดตั้งบริษัทโดยมีกษัตริย์ให้ การสนับสนนุ ทาการค้าในนามของประเทศ เช่น บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ บริษัท อินเดียตะวันออกของฮอลันดา เป็นต้นซึ่งทาให้บรรดาพ่อค้าและนายทุนมีฐานะม่ันคงและกลาย เป็นบุคคลชั้นนาทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมในเวลาต่อมา ********************* การปฏิรปู ศาสนา การปฏิรูปศาสนา (RELIGIOUS REFORMATION) เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษท่ี 16 มีสาเหตุ สาคัญมาจากความเส่ือมความนิยมในผู้นาทางศาสนาและการเกิดแนวคิดใหม่เกี่ยวกับศาสนา เนื่องจากมีการศึกษาคัมภีร์ไบเบิลและแปลออกเป็นภาษาต่างๆ เช่น ภาษาอังกฤษ ฝรัง่ เศส เยอรมัน ทาใหค้ ริสตศ์ าสนิกชนมีความรู้ความเข้าใจใหม่ การปฏิรูปศาสนาจึงเกิดขึ้นในหลายๆประเทศ โดยมีผู้นาการปฏิรูปหลายคนและใช้ช่ือแตกต่างกันการปฏิรูปคริสต์ศาสนา หมายถึง ขบวนการในยุ โรปตะวันตกท่ีปัจเจกชนและสถาบันต่างๆ แสดงความเห็นคัดค้านการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามหลักในคัมภีร์ไบเบิล การปฏิรูปเป็นไปอย่างต่อเน่ือง จนในที่สดุ คริสต์ศาสนาในยุโรปได้แตกแยกเป็น 2 นิกาย คอื โรมนั คาทอลกิ และ โปรเตสแตนต์สาเหตุการปฏิรูปศาสนา มีดังน้ี 1. ประชาชนไม่พอใจสันตะปาปาท่ีกรุงโรม พระและบาทหลวงท่ีมีความเป็นอยู่อย่าง ฟุ่มเฟือย หรูหรา ทั้งยังเรียกเก็บภาษีบารุงศาสนาสูงข้ึน เพื่อนาเงินไปใช้จ่ายในคริสตจักรใน กรุงโรม รวมทั้งการซ้ือขายตาแหน่งของพวกบาทหลวงและความเสอ่ื มเสียในจรยิ วัตรของ สนั ตะปาปาท่คี รองอานาจในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 15-16 2. เจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ ในยุโรปต้องการเป็นอิสระจากคริสตจักรท่ีมีสันตะปาปาเป็น ผู้ปกครอง และจากจักรพรรดิแห่งจกั รวรรดิโรมันอนั ศักดส์ิ ิทธิ์ เนอื่ งจากสนั ตะปาปาเข้าไปย่งุ เก่ยี ว และใช้อานาจทางการเมอื ง 3. การศกึ ษาในสมยั ฟ้ืนฟูศลิ ปวทิ ยาการ ทาใหช้ าวยุโรปเห็นวา่ มนุษย์สามารถทาความ เข้าใจคัมภีร์ไบเบิลได้ด้วยตนเองมากกว่าที่จะผา่ นพิธกี รรมของศาสนจกั ร

4. สันตะปาปาจเู ลยี สท่ี 2 (JULIUS II) และสนั ตะปาปาลีโอท่ี 1 ตอ้ งการหาเงนิ ในการ กอ่ สร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ที่กรงุ โรม จงึ สง่ คณะสมณทูตมาขาย “ใบไถ่บาป” ในดินแดน เยอรมนี เน่ืองจากเป็นแนวคิดของชาวคริสต์ว่า พระเป็นเจ้าส่งพระเยซูคริสต์มาช่วยมนุษย์ให้พ้น จากบาป เรียกว่า การไถ่บาป (REDEMPTION) ด้วยการเสียสละพระชนม์ชีพ การไถ่บาปจะเป็นการ เปิดทางใหม้ นษุ ยไ์ ด้รับการอภยั โทษ และกลบั มามีความสัมพันธก์ ับพระเจ้าและเพื่อนมนุษย์ได้ อยา่ งถูกต้องการเรม่ิ ตน้ ปฏิรูปศาสนาประเทศ ผูน้ าความ เหตุการณค์ วามเปล่ียนแปลง เปล่ียนแปลงเยอรมนี มารต์ ิน ลเู ธอร์ มาร์ติน ลูเธอร์ (MARTIN LUTHER : ค.ศ. 1483-1546) นักบวชชาวเยอรมันและ (MARTIN LUTHER : เป็นผู้สอนเทววิทยาสายคัมภีร์ (BIBLICAL THEOLOGY) แห่งมหาวิทยาลัยวิท ค.ศ. 1483-1546) เทนบูร์ก (WITTENBURG) ใน เยอรมนี ได้เขียนญัตติ 95 ข้อ (NINETY-FIVE THESES) คัดค้าน การขายใบไถ่บาปติดไว้หน้ามหาวิหารแห่งเมืองวิทเทนบูร์ก ญัตติ ของเขาได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวางในเยอรมนี แต่ผู้นา ของคริสตจักรได้ ลงโทษเขา โดยประกาศให้เขาเป็นบุคคลนอก ศาสนา (การบัพพาชนียกรรม : EXCOMMUNICATION) แต่เจ้าชาย เฟรเดอริก (FRIEDERICK THE WISE) ผู้ครอง แคว้นแซกโซนีได้ให้ ความอุปถัมภ์เขาไว้ และให้เขาแปลคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษา เยอรมัน ทาให้ความรู้ด้านศาสนาแพร่หลายไปทั่ว นอกจากน้ีเขา ได้ก่อต้ังนิกายลู เธอร์ (LUTHERANISM) ซึง่ ไดแ้ พรข่ ยายไปท่ัวเยอรมนีและสแกนดเิ นเวียสวิตเซอรแ์ ลนด์ อุลรคิ ชวิงลี อลุ รคิ ชวงิ ลี (ULRICH ZWINGLI : ค.ศ. 1484-1531) ชาวเยอรมัน ไฮรชิ บลู ลิง (ULRICH ZWINGLI : เจอร์ (HEINRICH BULLINGER) และจอห์น คาลวิน หรอื กัลแวง (JOHN CALVIN : ค.ศ. 1484-1531) ค.ศ. 1509-1564) ชาวฝรัง่ เศส ซ่งึ เปน็ ผู้ก่อตัง้ ลัทธคิ าลวินส์ (นกิ ายกลั แวง : ชาวเยอรมัน CALVINISM) ท่แี พรห่ ลายในสวติ เซอร์แลนด์ ฝร่ังเศส และสกอตแลนด์ ไฮริช บูลลงิ เจอร์ ( HEINRICH BULLINGER) และจอห์น คาลวิน หรอื กลั แวง (JOHN CALVIN : ค.ศ. 1509-1564)องั กฤษ พระเจ้าเฮนรีที่ 8 พระเจ้าเฮนรีที่ 8 ทรงขัดแย้งกับสนั ตะปาปา เรอ่ื งการหย่าขาดกับพระมเหสี องค์เดิม ของพระองค์ คอื พระนางแคเธอรีนแห่งอารากอน (CATHERINE OF ARAGON) เพื่อ อภิเษก สมรสใหม่ พระองค์จึงให้อังกฤษแยกตัวทางศาสนาออกจากศาสนจักรที่กรุง โรม โดยแตง่ ตงั้ สังฆราชแห่งแคนเทอร์บิวรี (ARCHBISHOP OF CANTERBURY) ข้ึน ใหม่ ต่อมาใน ค.ศ. 1563 กษัตริย์ อังกฤษ (สมเด็จพระราชินีนาถ เอลิซาเบทที่ 1) ทรงประกาศต้ังนิกายอังกฤษหรือนิกายแองกลิคัน (ANGLICAN CHURCH) โดย กษัตริย์อังกฤษเป็นประมุขของศาสนา นิกายน้ีมีลักษณะเด่นคือ การ ยอมรับและ รักษาพิธีกรรมต่างๆ ของนิกายโรมันคาทอลิก แต่ไม่ยอมรับนับถือสันตะปาปาท่ีกรุง โรมฝรัง่ เศส จอหน์ คาลวนิ หรอื ลัทธิคาลวินได้แพร่หลายในฝร่ังเศสในกลุ่มท่ีเรียกว่า พวกอูเกอโนต์ (HUGUENOT) กัลแวง (JOHN ซึ่งถกู รฐั บาลปราบปรามอย่างหนกั ในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 16การปฏิรูปได้แพร่ขยายจาก CALVIN : ค.ศ. เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อังกฤษ ฮอลแลนด์ และกลุ่มสแกน- ดิเนเวีย ไปยังประเทศ 1509-1564) อื่นๆ ในยุโรป และมีการต่อต้านทุกแห่ง การต่อต้านอย่างรุนแรงเกิดขึ้นใน ฝร่ังเศส และสเปน จนกลายเป็นสงครามศาสนา

นิกายทางศาสนาที่เกิดขึ้นใหม่ในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 16 น้ี คือ นิกายโปรเตสแตนต์ (PROTESTANTISM) ซ่ึงหมายถึงผู้คัดค้าน ซึ่งต่อมาได้แยกเป็นนิกายต่างๆ มากมาย เช่น นิกายลูเธอร์แรน นิกายรีฟอรม์ นิกายเพรสไบทเี รียน นกิ ายแองกลิคนั เปน็ ตน้การปฏริ ูปศาสนาของคริสตจักร เม่ือมีการปฏิรูปศาสนาในดินแดนต่างๆ นักบวชและชาวคริสต์บางคนได้รวมตัวกันต่อต้าน และปฏิรูปตนเอง รวมท้ังชักชวนให้คริสต์ศาสนิกชนอื่นๆ ทาตาม บางท่านมีผู้เลื่อมใสและยกย่อง ให้เป็นนักบุญ เช่น บริจิตต์แห่งสวีเดน (BRIGITT OFSWEDEN) ฟรังซีสแห่งปาโอลา (FRANCIS OF PAOLA) ในอิตาลี และพวกปัญญาชนพยายามศึกษาเร่ืองศาสนาและเผยแพร่สู่ประชาชน ซึ่งการ ปฏิรูปดังกล่าวเป็นการปฏิรูปจากคริสต์ศาสนิกชนเบ้ืองล่าง แต่เมื่อการปฏิรูปศาสนาลุกลามไป อย่างรวดเร็วคริสตจักรจงึ ไดห้ าทางยบั ย้ัง ดงั น้ี 1. การประชุมสังคายนาแห่งเทรนต์ (COUNCIL OF TRENT) ในระหว่าง ค.ศ. 1545-1547 และ ค.ศ. 1562-1563 เพอ่ื กาหนดระเบียบวนิ ัยภายในคริสตจักร ยกเลิกการขายใบไถ่บาป และ ใหใ้ ช้ภาษาพื้นเมืองในการสอนศาสนา 2. การปรับปรงุ ระเบียบวินยั ของนักบวชและตั้งคณะนกั บวชเพอื่ การปฏิรปู เชน่ คณะเยซอู ติ ตง้ั ขน้ึ ใน ค.ศ. 1534 เพ่ือจัดต้ังโรงเรียนสอนศาสนาและเผยแผ่ศาสนาไปยังประเทศ ต่างๆ การปฏิรูปศาสนาของคริสตจักรทาให้เกิดมิชชันนารีจานวนมาก เพ่ือเผยแผค่ าสอนของ โรมนั คาทอลิกไปท่วั โลกผลของการปฏริ ูปการศาสนา มดี งั นี้ 1. คริสตศาสนาแบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือ โรมันคาทอลิก มีศูนย์กลางที่กรุงโรม มี สันตะปาปาเป็นประมุข และนิกายโปรเตสแตนต์ ซ่ึงแยกเป็นนิกายต่างๆ ได้แก่ นิกายลูเธอร์แรน นิกายคาลวิน นิกายแองกลิคัน เป็นต้น (ส่วนนิกายออร์ทอดอกซ์แยกตัวไม่ข้ึนกับสันตะปาปา ใน ค.ศ. 1045 โดยมีสังฆราช ที่เรียกว่า PATRIARCH เป็นประมุข ซ่ึงแพร่หลายในกรีซ รัสเซียเซอร์เบีย โรมาเนยี บัลแกเรยี ) ทาใหค้ วามเปน็ เอกภาพทางศาสนาส้ินสดุ ลง 2. เกิดการกระตุ้นให้ศึกษาหลักธรรมทางคริสต์ศาสนามากยิ่งข้ึนในหมู่สามัญชน มีการ เผยแผ่คริสต์ศาสนาไปยังดินแดนตา่ งๆ 3. เกิดกระแสชาตนิ ยิ มในประเทศต่างๆ เนือ่ งจากนิกายโปรเตสแตนต์ส่งเสรมิ วัฒนธรรม ท้องถ่ิน และส่งเสริมให้อานาจแกผ่ ้ปู กครองในทอ้ งถิน่ เป็นตวั แทนของพระเจา้ ในการปกครอง ประเทศ 4. เกิดสงครามศาสนาในยุโรปหลายครัง้ ส่งผลให้สถาบันกษตั ริยม์ ีอานาจเหนอื ครสิ ตจกั ร ในท่ีสดุ

ใบกิจกรรมที่ 8 ประวตั ศิ าสตร์สากล ส 31104ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เรื่อง การปฏวิ ตั ิวิทยาศาสตร์และอตุ สาหกรรม ครูศริ ิมา เมฆปัจฉาพชิ ิต ชือ่ -สกุล .............................................................................. ชนั้ ............... เลขที่ ............คาช้ีแจง ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเร่ืองการปฏิวัติวิทยาศาสตร์และการปฏิวัติอุตสาหกรรม พร้อมอธิบายหัวข้อต่างๆในแบบกิจกรรมนี้ การปฏวิ ัตทิ างวทิ ยาศาสตร์การฟ้ืนฟูศิลปวิทยาการในช่วงคริสตศ์ ตวรรษท่ี 14-16 ถือว่าเปน็ การเริ่มต้นของการปฏิวัติ ทางวิทยาศาสตร์ เน่ืองจากเปน็ ผลมาจากความรเู้ ก่ยี วกบั ธรรมชาติ การแสวงหาความรู้ใหมด่ ้วย การสงั เกต ทดลอง และการใชเ้ หตุผล ในยุคฟ้ืนฟูศิลปวิทยาการ ศลิ ปินที่สาคญั ต่างๆ ต่างใช้หลกั วชิ ากายวภิ าคศาสตร์ เช่น กล้ามเน้ือและโครงสร้างของมนุษย์มาสร้างสรรค์งานศิลปกรรมทั้ง งานจิตรกรรมและประติมากรรมที่เน้นสัดส่วนและความงดงามของสรีระของมนุษย์อย่างแท้จริง ความสนใจในเรื่องการเดนิ เรอื ทาให้มนษุ ยใ์ นยโุ รปสมยั กลางคดิ ประดษิ ฐ์เคร่ืองมือสาหรับการ เดินทาง เช่น เลนส์สาหรับกล้องส่องทางไกลและกล้องดูดาว พัฒนาเทคนคิ การตอ่ เรือ เปน็ ตน้จากยุคโบราณถึงยุคกลาง การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และปรัชญาเป็นวิชาแขนงเดียวกัน นอกจากนี้คริสต์ศาสนายังมีอิทธิพลครอบงาความรู้ด้านต่างๆ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 จึงมีการแยกวิชาปรัชญาออกจากวิทยาศาสตร์ ซ่ึงในระยะแรกเป็นการศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติ ส่วนปรัชญา เป็นเร่ืองการศึกษาความคิด วิธีการศึกษาในช่วงคริสต์ศตวรรษท่ี 16 ก็เปล่ียนไปจากเดิมมาก ซ่ึง แต่เดิมเป็นความเชื่อตามศาสนาและเชื่อตามนักปราชญ์โบราณ ในยุคนี้ปัญญาชนได้ใช้วิ ธีสังเกต คิดประดิษฐ์อปุ กรณ์มาช่วยในการสงั เกต และใช้การทดลองอย่างมเี หตุผล ทาให้วทิ ยาศาสตร์ ก้าวหน้ามากข้ึน ช่วยให้การศึกษาคณิตศาสตร์ดาราศาสตร์ มีความลึกซง้ึ มากกว่าเดมิ นอกจากน้ี ยังทาให้เกิดความรู้ด้านอนื่ ๆ พัฒนาข้ึนด้วย1. นกั วทิ ยาศาสตร์และผลงานในชว่ งน้ี ไดแ้ ก่บุคคลสาคัญ ผลการคน้ พบ/ขอ้ เสนอ/ทฤษฎตี ่างๆนิโคลสั โคเปอร์นิคสั .........................................................................................................................................................(NICOLUS COPERNICUS .........................................................................................................................................................: ค.ศ. 1473 -1543) ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................กาลิเลโอ กาลิเลอิ .........................................................................................................................................................(GALILEO GALILEI .........................................................................................................................................................: ค.ศ. 1564 - 1642) ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................เซอร์ ฟรานซสิ เบคอน .........................................................................................................................................................(SIR FRANCIS BACON .........................................................................................................................................................: ค.ศ. 1561 -1626) .........................................................................................................................................................เรอเน เดส์การส์ .........................................................................................................................................................(RENE DESCARTES .........................................................................................................................................................: ค.ศ. 1596- 1650) .........................................................................................................................................................เซอร์ ไอแซก นวิ ตัน (SIR .........................................................................................................................................................ISAAC NEWTON .........................................................................................................................................................: ค.ศ. 1642- 1727) ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................

2. สาเหตทุ ี่ทาใหเ้ กิดการปฏวิ ัตทิ างวทิ ยาศาสตร์ สาเหตทุ ี่ทาใหเ้ กิดการปฏิวัตทิ างวทิ ยาศาสตร์ มี 2 ประการ ดังน้ี …………………………………………………………………………...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................. ...........................................................................................................................................................................................................................3. ผลของการปฏวิ ตั ิทางวิทยาศาสตร์ มดี ังน้ี 1. ทาให้เกิดความรู้ใหม่แตกแยกออกไปหลายสาขา ทั้งคณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ พฤกษศาสตร์ และการแพทย์ความรู้ทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ถกู นามาประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ เชน่ ………………………………………………………………………………………....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................... 2. มอี ิทธพิ ลต่อความคิดและความเชอื่ ของชาวยุโรปก่อใหเ้ กดิ ………………………………………………………………………………................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................... .................. 3. นาไปสกู่ ารปฏิวตั ทิ างภมู ิปญั ญา (INTELLECTUAL REVOLUTION) ในคริสต์ศตวรรษท่ี 18 อกี ดว้ ย ซ่ึงหมายถงึ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... *************************************** การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม การปฏิวัติอุตสาหกรรม (INDUSTRIAL REVOLUTION) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงใน วิธีการผลิตและระบบการผลติ จากเดมิ ระบบการผลติ มักทากันภายในครอบควั พ่อค้ามกั เปน็ นายทุนซ้ือวัตถุดิบแล้วแจกจ่ายให้แต่ละครอบครัวรับมาทา แล้วพ่อค้าจะรับผลิตภัณฑ์ที่สาเร็จ แล้วไปขาย คนงานก็จะได้ค่าจ้างเป็นการตอบแทน การผลิตสินค้าเดิมใช้แรงงานคนแรงงานสตั ว์ รวมท้งั พลังงานจากธรรมชาติ เคร่ืองมือแบบง่ายๆ มาเป็นการใช้เคร่ืองจักรกลแทน เร่ิมจากแบบ ง่ายๆ จนถึงแบบซับซ้อนท่ีมีกาลังผลิตสูง จนเกิดเป็นการผลิตในระบบโรงงาน (FACTORY SYSTEM) การผลิตภายในครอบครัวก็ค่อยๆ หมดไปและผ้คู นจานวนมากตามชนบทต้องอพยพเข้ามาทางานเป็นกรรมกรในโรงงาน การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งแรกเกิดในประเทศอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และได้แพร่ขยายไปยังประเทศตะวันตกอื่นๆ ท่ัวโลก การปฏิวัติอุตสาหกรรมนับเป็นปรากฏการณ์ใหม่ท่ีมีผล กระทบต่อการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของมนุษยชาตทิ ั่วโลก อังกฤษ : ผู้นาการปฏิวัติอุตสาหกรรม การปฏิวัติอุตสาหกรรมเริ่มต้นท่ีอังกฤษเพราะอังกฤษมีปัจจัยสนับสนุนการขยายตวั ทาง อตุ สาหกรรมครบถว้ น คือ มที นุ วตั ถุดิบ แรงงาน และตลาดการคา้ องั กฤษเปน็ ผูน้ าในการปฏวิ ัติเกษตรกรรม (AGRICULTURAL REVOLUTION) โดย………………………………………………….............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................. ..................

การเกษตรกรรมในอังกฤษได้ผลดีขึ้น ทาให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองขึ้น ประเทศมีความมั่งคั่งขึ้นใน ค.ศ. 1694 รัฐบาลจัดต้ังธนาคารแห่งประเทศอังกฤษ (BANK OF ENGLAND) เพื่อ…………………………………………………………………………………………………...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................... ปัจจัยสาคัญท่ีทาให้อังกฤษเป็นประเทศผู้นาการปฏิวัติอุตสาหกรรม เน่ืองจากในระหว่างคริสต์ศตวรรษท่ี 17-18อังกฤษมีอาณานิคมที่อยู่โพ้นทะเลที่เป็นแหล่งวัตถุดิบและตลาดท้ังใน ทวีปเอเชียและอเมริกา จนในที่สุดการค้าได้กลายเป็นนโยบายหลักของประเทศ เรือรบของอังกฤษ ทาหน้าที่รักษาเส้นทางทางการค้าทางทะเล และให้ความคุ้มครองแก่เรือพาณิชย์ที่เดินทางไปค้าขายทั่วโลก ส่ิงเหล่านี้คือปัจจัยที่ทาให้ชาวอังกฤษคิดค้นประดิษฐ์เครื่องจักรมาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง การปฏิวัติอุตสาหกรรมแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ. 1760-1840เป็นระยะที่มีการประดิษฐ์เครื่องจักรช่วยในการผลิตและการปรับปรุง โรงงานอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพ และการปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะท่ี 2 ระหว่าง ค.ศ. 1861- 1865 เป็นการปรับปรุงการคมนาคมส่ือสาร ซึ่งเป็นผลมาจากความสาเร็จของอตุ สาหกรรมเหลก็ และเครอื่ งจกั รไอน้า การปฏวิ ัติอุตสาหกรรมในระยะแรก คือ การประดษิ ฐ์เพ่อื ตอบสนองอตุ สาหกรรมการ ทอผ้า เชน่ปคี ริสต์ศกั ราช บคุ คลสาคัญ ผลงานของบุคคลสาคญัค.ศ. 1733 จอห์น เคย์ .................................................................................................................................... (JOHN KAY) .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................ค.ศ. 1764 เจมส์ ฮาร์กรีฟส์ .................................................................................................................................... (JAMES .................................................................................................................................... HARGREAVES) ....................................................................................................................................ค.ศ. 1769 ริชารด์ อาร์กไรต์ .................................................................................................................................... (RICHARD .................................................................................................................................... ARKWRIGHT) ....................................................................................................................................ค.ศ. 1793 วิตนยี ์ .................................................................................................................................... (ELI WHITNEY) .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................ค.ศ. 1769 เจมส์ วัตต์ .................................................................................................................................... (JAMES WATT) .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................ค.ศ. 1769 เฮนรี คอร์ต .................................................................................................................................... (HENRY CORT) .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................ค.ศ. 1807 นกั ธุรกิจชาวองั กฤษ .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................ค.ศ. 1851 นทิ รรศการครั้งใหญ่ .................................................................................................................................... (GREAT EXHIBITION) .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................

การปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมระยะที่ 2 เป็นการปรับปรุงการคมนาคมสื่อสาร ซึ่งเป็นผลมาจากความสาเร็จของอุตสาหกรรมเหล็กและเครอ่ื งจักรไอน้า ปี บุคคลสาคญั ผลงานของบุคคลสาคัญครสิ ต์ศักราช .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................ค.ศ. 1804 รชิ าร์ด เทรวที กิ .................................................................................................................................... (RICHARD TREVITICK) .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................ค.ศ. 1789 ฝ ร่ั ง เ ศ ส ภ า ย ห ลั ง ก า ร .................................................................................................................................... ปฏวิ ตั ิใน ค.ศ. 1789 .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................ค.ศ. 1807 โรเบิรต์ ฟุลตัน .................................................................................................................................... (ROBERT FULTON) .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................ค.ศ. 1840 แซม มวล คนู าร์ด .................................................................................................................................... (SEMUEL CUNARD) .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... คารล์ เบนซ์ ....................................................................................................................................ค.ศ. 1857 และกอตต์ลบี เดมเลอร์ .................................................................................................................................... (KARL BENZ & .................................................................................................................................... GOTTLIEB DAIMLER) .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................ค.ศ. 1812 วงการการพิมพ์ .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ปลาย แซมมวล มอรส์ ....................................................................................................................................ครสิ ต์ศตวรรษ (SEMUEL MORSE) .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ที่ 19 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม ....................................................................................................................................ค.ศ. 1837 เบลล์ (ALEXANDER .................................................................................................................................... GRAHAM BELL) ............................................................................................................................. ....... ....................................................................................................................................ค.ศ. 1876 วงการการโทรเลข .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ธอมัส แอลวา เอดสิ ัน ....................................................................................................................................ค.ศ. 1901 (THOMAS ALVA .................................................................................................................................... EDISON) ....................................................................................................................................

ผลของการปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม มดี ังน้ี 1. ประชากรท่ัวโลกเพิม่ ข้นึ อยา่ งรวดเรว็ ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. การก่อสร้างอาคารบ้านเรอื นและสถาปัตยกรรมพัฒนาก้าวหนา้ มากขึน้ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................. .................. 3. เกิดปัญหาสงั คมต่างๆ มากมาย เช่น ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. เกิดลทั ธิเสรนี ิยม (LIBERALISM) ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... กล่าวได้ว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรมก่อให้เกิดการแบ่งค่ายระหว่างลัทธิทุนนิยมกับลัทธิ สังคมนิยมอย่างเป็นรูปธรรมต่อมาใน ค.ศ. 1889 ได้มีการประกาศให้วันท่ี 1 พฤษภาคมของทุกปีเป็นวันเมย์เดย์หรือวันแรงงานสากล (MAY DAY)นอกจากน้ียังทาให้เกิดวรรณกรรมแนวสัจนิยม (REALISM) ในกลางคริสต์ศตวรรษท่ี 19 ที่พยายามเสนอเรื่องความเป็นจริงเบื้องหลัง ความสาเร็จ ของระบบสังคมอุตสาหกรรม ทชี่ นชั้นกรรมกรมชี วี ิตท่ียากไร้และถกู เอารัดเอาเปรยี บ 5. การปฏวิ ตั ิทางอตุ สาหกรรมได้ขยายไปท่วั ภูมิภาคตา่ งๆ ของโลก .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................

ใบกิจกรรมท่ี 8 ประวัติศาสตรส์ ากล ส 31104ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เร่ือง การปฏวิ ัติวิทยาศาสตร์และอตุ สาหกรรม ครูศิรมิ า เมฆปัจฉาพชิ ิต ช่อื -สกุล .............................................................................. ชัน้ ............... เลขที่ ............คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเร่ืองการปฏิวัติวิทยาศาสตร์และการปฏิวัติอุตสาหกรรม พร้อมอธิบายหัวข้อต่างๆในแบบกจิ กรรมน้ี การปฏวิ ตั ทิ างวิทยาศาสตร์ การฟื้นฟศู ิลปวทิ ยาการในชว่ งคริสตศ์ ตวรรษท่ี 14-16 ถอื วา่ เปน็ การเร่ิมต้นของการปฏิวัติ ทางวิทยาศาสตร์ เนื่องจากเป็นผลมาจากความรู้เก่ียวกบั ธรรมชาติ การแสวงหาความรูใ้ หม่ดว้ ย การสงั เกต ทดลอง และการใช้เหตุผล ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ศลิ ปินทส่ี าคัญตา่ งๆ ต่างใช้หลกั วชิ ากายวิภาคศาสตร์ เช่น กล้ามเน้ือและโครงสร้างของมนุษย์มาสร้างสรรค์งานศิลปกรรมทั้ง งานจิตรกรรมและประติมากรรมท่ีเน้นสัดส่วนและความงดงามของสรีระของมนุษย์อย่างแท้จริง ความสนใจในเร่ืองการเดินเรือทาให้มนษุ ยใ์ นยุโรปสมัยกลางคิดประดิษฐ์เครื่องมือสาหรับการ เดินทาง เช่น เลนส์สาหรับกล้องส่องทางไกลและกล้องดูดาว พฒั นาเทคนคิ การตอ่ เรือ เปน็ ต้น จากยุคโบราณถึงยุคกลาง การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และปรัชญาเป็นวิชาแขนงเดียวกัน นอกจากนี้คริสต์ศาสนายังมีอิทธิพลครอบงาความรู้ด้านต่างๆ ในคริสต์ศตวรรษท่ี 16 จึงมีการแยกวิชาปรัชญาออกจากวิทยาศาสตร์ ซ่ึงในระยะแรกเป็นการศึกษาเกี่ยวกบั ธรรมชาติ ส่วนปรัชญา เป็นเร่ืองการศึกษาความคิด วิธีการศึกษาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ก็เปลี่ยนไปจากเดิมมาก ซึ่ง แต่เดิมเป็นความเช่ือตามศาสนาและเช่ือตามนักปราชญ์โบราณ ในยุคนี้ปัญญาชนได้ใช้วิ ธีสังเกต คิดประดิษฐ์อุปกรณม์ าชว่ ยในการสังเกต และใชก้ ารทดลองอยา่ งมเี หตผุ ล ทาให้วิทยาศาสตร์ ก้าวหน้ามากขึ้น ช่วยให้การศึกษาคณิตศาสตร์ดาราศาสตร์ มีความลึกซึ้งมากกวา่ เดิม นอกจากน้ี ยังทาใหเ้ กิดความรู้ดา้ นอนื่ ๆ พัฒนาขนึ้ ดว้ ย1. นกั วทิ ยาศาสตรแ์ ละผลงานในช่วงนี้ ไดแ้ ก่ บุคคลสาคัญ ผลการค้นพบ/ข้อเสนอ/ทฤษฎีต่างๆ เสนอทฤษฎีว่าดวงอาทิตย์เป็น ศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีดาวเคราะห์รวมทั้ง โลกหมุนรอบ ดวงอาทิตย์ ทฤษฎีของเขาล้มล้างความเชื่อของคนในสมัย โบราณ และสมัยกลางที่ยึดถือข้อสมมติฐานของอริสโตเติล (ARISTOTLE) และงานเขียน ของโตเลมี (PTOLEMY) ท่ีอธิบายว่า โลกเปน็ ศูนย์กลางของจักรวาล นิ โ ค ลั สโคเปอร์นิคัส (NICOLUS COPERNICUS :ค.ศ. 1473-1543)

ประดิษฐ์กล้องโทรทัศน์ เพ่ือสังเกตการโคจรรอบดวงดาว ทาให้นักดาราศาสตร์ ได้รับความรู้เกี่ยวกับจักรวาลและการ เคล่ือนท่ีในระบบสุริยจักรวาลตามทฤษฎี ของโคเปอร์นิคัส ทฤษฎีของ กาลิเลโอขัดแย้งกับคริสต์ศาสนา ทาให้ถูกลงโทษ จากครสิ ตจกั ร กาลิเลโอ กาลิเลอิ (GALILEO GALILEI : ค.ศ.1564- 1642) วางรากฐานการศึกษางานด้าน วิทยาศาสตร์ จนในท่ีสุดทาให้มีการจัดต้ังราช บัณฑิตยสมาคม ที่ เรียกว่า THE ROYAL SOCIETY OF LONDON FOR THE PROMOTION OF NATURAL KNOWLEDGE ข้ึนเพ่ือส่งเสริมการค้นคว้าทาง วทิ ยาศาสตร์เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (SIR FRANCISBACON : ค.ศ. 1561-1626) เสนอหลกั การใช้เหตุผล และการศึกษาคน้ คว้า วจิ ัยในการแสวงหาความรู้และการ วเิ คราะห์ทางคณิตศาสตร์วา่ สามารถนามาพิสูจนแ์ ละตรวจสอบขอ้ เท็จจริงได้เรอเน เดส์การ์ส (RENE DESCARTES :ค.ศ. 1596- 1650)

ค้นพบกฎแรงดึงดูด (LAW OF UNIVERSAL ATTRACTION) และกฎแห่งความ โนม้ ถว่ ง (LAW OF GRAVITY) ซ่ึงเป็นผลให้นกั วทิ ยาศาสตร์อธิบายการโคจรของ โลกและดาวเคราะหต์ ่างๆ ที่หมนุ รอบดวงอาทติ ยไ์ ด้เซอร์ ไอแซก นิวตัน (SIR ISAAC NEWTON: ค.ศ. 1642- 1727)2. สาเหตทุ ่ีทาให้เกดิ การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์สาเหตุทีท่ าใหเ้ กิดการปฏวิ ัติทางวทิ ยาศาสตร์ มีดงั นี้ 1. การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ เป็นผลให้ชาวยุโรปสนใจใฝุหาความรู้และกระตือรือร้นท่ีจะ หาความรู้ใหม่ๆ นอกจากนี้ระบบการพิมพ์ก็กา้ วหนา้ ขน้ึ ทาให้ประชาชนสนใจทจ่ี ะศึกษามากขึน้ 2. การสารวจทางทะเลและการค้นพบดินแดนใหม่ๆ ทาให้ชาวยุโรปพบเห็นสิ่งใหม่ๆ พืชพันธ์ุใหม่ คนต่างเช้ือชาติต่างวฒั นธรรม ทาใหเ้ กิดอยากเรยี นร้เู สาะหาขอ้ เท็จจรงิ ใหม่ๆ ยิง่ ข้ึน3. ผลของการปฏวิ ัติทางวทิ ยาศาสตร์ มีดังน้ี 1. ทาให้เกิดความรู้ใหม่แตกแยกออกไปหลายสาขา ท้ังคณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ พฤกษศาสตร์ และการแพทย์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้ถูกนามาประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ เช่น การประดิษฐ์นาฬิกา การคานวณการยิงปืนใหญ่ มีการจัดต้ังราชบณั ฑติ ยสถานทาง วทิ ยาศาสตรท์ ี่องั กฤษใน ค.ศ. 1662 2. มีอิทธิพลต่อความคิดและความเชื่อของชาวยุโรป ทาให้ชาวยุโรปเช่ือม่ันตนเอง และเช่ือมั่นในอนาคตว่าจะสามารถนาความสาเร็จมาสชู่ วี ติ ได้ ทาใหเ้ กิดความปรารถนาทจี่ ะเรยี นรู้ และประดษิ ฐส์ งิ่ ต่างๆ 3. นาไปสู่การปฏวิ ตั ทิ างภูมปิ ญั ญา (INTELLECTUAL REVOLUTION) ในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 18 อกี ด้วย ซึ่งหมายถึงยุคท่ีชาวยุโรปกล้าใชเ้ หตุผลแสดงความเห็นเก่ียวกับการเมือง การปกครอง ตลอดจนเรียกร้องสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคเท่าเทียมกัน เกิดนักปรัชญา ทางการเมืองท่ีสาคัญ เช่น วอล์แตร์ (VOLTAIRE) และมองเตสกิเออร์ (MONTESQUICU) ซ่ึงเป็นพน้ื ฐานสาคัญทาใหต้ ะวนั ตกเข้าสคู่ วามเจริญในยุคใหม่ ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 18 จึงได้รับสมญาว่าเป็น ยุคแห่งความรู้แจ้งหรือยุคภูมิธรรม (THE AGE OF ENLIGHTENMENT) อนั เป็นความคดิ พ้นื ฐานของ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยในเวลาต่อมา

การปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรม การปฏิวัติอุตสาหกรรม (INDUSTRIAL REVOLUTION) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงใน วิธีการผลิตและระบบการผลิต จากเดมิ ระบบการผลติ มักทากนั ภายในครอบคัว พอ่ คา้ มกั เปน็ นายทุนซื้อวัตถุดิบแล้วแจกจ่ายให้แต่ละครอบครัวรับมาทา แล้วพ่อค้าจะรับผลิตภัณฑ์ท่ีสาเร็จ แล้วไปขาย คนงานก็จะได้ค่าจ้างเป็นการตอบแทน การผลิตสินค้าเดิมใช้แรงงานคนแรงงานสัตว์ รวมท้งั พลงั งานจากธรรมชาติ เครื่องมือแบบง่ายๆ มาเป็นการใช้เครื่องจักรกลแทน เริ่มจากแบบ ง่ายๆ จนถึงแบบซับซ้อนท่ีมีกาลังผลิตสูง จนเกิดเป็นการผลิตในระบบโรงงาน (FACTORY SYSTEM) การผลิตภายในครอบครัวก็ค่อยๆ หมดไปและผคู้ นจานวนมากตามชนบทตอ้ งอพยพเข้ามาทางานเป็นกรรมกรในโรงงาน การปฏิวัติอุตสาหกรรมคร้ังแรกเกิดในประเทศอังกฤษในคริสต์ศตวรรษท่ี 18 และได้แพร่ขยายไปยังประเทศตะวันตกอื่นๆ ท่ัวโลก การปฏิวัติอุตสาหกรรมนับเป็นปรากฏการณ์ใหม่ที่มีผล กระทบต่อการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และวฒั นธรรมของมนษุ ยชาตทิ ัว่ โลก อังกฤษ : ผู้นาการปฏิวัติอุตสาหกรรม การปฏิวัติอุตสาหกรรมเร่ิมต้นท่ีอังกฤษเพราะอังกฤษมีปัจจัยสนับสนุนการขยายตวั ทาง อตุ สาหกรรมครบถว้ น คอื มีทนุ วตั ถุดบิ แรงงาน และตลาดการคา้ อังกฤษเป็นผู้นาในการปฏิวัติเกษตรกรรม (AGRICULTURAL REVOLUTION) โดยนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาปรบั ปรุงการเกษตรให้พฒั นาขน้ึ โดยในครสิ ต์ศตวรรษที่ 16 อังกฤษนาระบบล้อม เขตที่ดิน (ENCLOSURE SYSTEM) มาใช้เพื่อเพ่ิมผลผลิตทางเกษตรอย่างแพร่หลาย ซ่ึงเป็นผลให้เจ้าของที่ดินรายใหญ่สามารถรวบรวมที่ดินของตนเป็นผืนใหญ่ และสร้างร้ัวล้อมที่ดินของตนเพื่อ ปูองกันความเสียหายของพืชผลจากการทาลายของคนและสัตว์ นอกจากน้ียังนาวิทยาการใหม่ๆ มาใช้ในการผลิต การปรับปรงุ วธิ กี ารทานาให้มีประสทิ ธิภาพยิ่งขึ้น การปฏิวตั ิเกษตรกรรมนาไปสู่การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม การเกษตรกรรมในองั กฤษไดผ้ ลดีขน้ึ ทาให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองข้ึน ประเทศมีความมั่งคั่งข้ึนใน ค.ศ. 1694 รัฐบาลจดั ตงั้ ธนาคารแห่งประเทศอังกฤษ (BANK OF ENGLAND) เพ่ือเป็นแหล่งระดมทุนของรัฐ ทรัพยากรมนุษย์ของอังกฤษก็มีความพร้อมสนับสนุนการปฏิวัติอุตสาหกรรม เพราะชาวอังกฤษไม่เคร่งครัดต่อการแบ่งแยกชนชั้น เช่น สังคมอื่นๆ ในยุโรป ท้ังยังให้การ ยอมรับชนทุกชัน้ ทสี่ ามารถสรา้ งฐานะเปน็ ปึกแผน่ ดงั น้ันขนุ นางอังกฤษจึงไมร่ งั เกยี จที่จะทาการค้า เช่นเดียวกับคนชั้นกลางที่พยายามยกสถานภาพทางเศรษฐกิจให้เท่าเทียมขุนนาง นอกจากน้ีรัฐยังส่งเสริมให้การค้าขยายตัว เช่น มีการออกพระราชบัญญัติสร้างถนน ท่าจอดเรือ และขุดคูคลอง ต่างๆ เป็นจานวนมาก เพ่ือใช้เป็นเส้นทางคมนาคมทางการค้า มีการยกเลิกการเก็บภาษีผ่านด่าน และมีนโยบายการค้าแบบเสรี ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้มีการขยายตัวของตลาดการค้าภายในอย่างกวา้ งขวาง ปัจจัยสาคัญที่ทาให้อังกฤษเป็นประเทศผู้นาการปฏิวัติอุตสาหกรรม เน่ืองจากในระหว่างคริสต์ศตวรรษท่ี 17-18อังกฤษมีอาณานิคมท่ีอยู่โพ้นทะเลท่ีเป็นแหล่งวัตถุดิบและตลาดทั้งใน ทวีปเอเชียและอเมริกา จนในที่สุดการค้าได้กลายเป็นนโยบายหลกั ของประเทศ เรือรบขององั กฤษ ทาหน้าที่รักษาเส้นทางทางการค้าทางทะเล และให้ความคุ้มครองแก่เรือพาณิชย์ท่ีเดินทางไปค้าขายท่ัวโลก สิ่งเหล่านี้คือปัจจัยท่ีทาให้ชาวอังกฤษคิดค้นประดิษฐ์เคร่ืองจักรมาใช้ในโรงงาน อุตสาหกรรมอย่างตอ่ เนือ่ ง การปฏิวัติอุตสาหกรรมแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ. 1760-1840เป็นระยะที่มีการประดิษฐ์เครื่องจักรช่วยในการผลิตและการปรับปรุง โรงงานอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพ และการปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1861- 1865 เป็นการปรับปรุงการคมนาคมสื่อสาร ซึ่งเป็นผลมาจากความสาเร็จของอุตสาหกรรมเหล็กและเครือ่ งจกั รไอน้า การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในระยะแรก คอื การประดษิ ฐ์เพื่อตอบสนองอตุ สาหกรรมการ ทอผา้ เชน่ปีครสิ ต์ศกั ราช บุคคลสาคญั ผลงานของบุคคลสาคัญค.ศ. 1733 จอหน์ เคย์ ได้ประดิษฐ์กี่กระตุก (FLYING SHUTTLE) ซ่ึงช่วยให้ช่างทอผ้าสามารถ (JOHN KAY) ผลิตผา้ ไดม้ ากกวา่ เดิมถงึ 2 เทา่ค.ศ. 1764 เจมส์ ฮารก์ รีฟส์ สามารถผลิตเคร่ืองป่นั ดา้ ย (SPINNING JENNY) ได้สาเร็จ (JAMES HARGREAVES)ค.ศ. 1769 รชิ าร์ด อารก์ ไรต์ ได้ปรับปรุงเคร่ืองป่ันด้ายให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และพัฒนาเป็น

(RICHARD ARKWRIGHT) เครอื่ งจักรกลที่ใช้พลังน้าหมุนแทนพลังคนเรียกว่า WATER FRAME ทาให้ เกิดโรงงาน ทอผ้าตามริมฝ่ังแม่น้าทั่วประเทศ มีการ ขยายตัวทาไร่ฝูายใน อเมรกิ าค.ศ. 1793 วติ นีย์ (ELI WHITNEY) สามารถประดษิ ฐ์เครื่องแยกเมลด็ ฝูายออกจากใย (COTTON GIN)ค.ศ. 1769 เจมส์ วัตต์ (JAMES WATT) ประดิษฐเ์ คร่ืองจักรไอน้าโดยใช้ขบั เคลื่อนเครื่องจกั รกลแทนพลงั งานนา้ค.ศ. 1769 เฮนรี คอร์ต (HENRY CORT) คิดค้นวิธีการหลอมเหล็กให้มีคุณภาพดีข้ึนส่งผลให้มีการปรับปรุงคุณภาพ ของปืนใหญ่ ตลอดจนยุทโธปกรณ์ต่างๆให้มปี ระสิทธภิ าพข้นึค.ศ. 1807 นกั ธรุ กจิ ชาวอังกฤษ ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมจาหน่ายเคร่ืองจักร ณ เมืองลีจ (LIEGE) ประเทศเบลเยียม ทาให้เกิดการปฏิวัตอิ ุตสาหกรรมข้นึ ในเบลเยียมค.ศ. 1851 นทิ รรศการคร้งั ใหญ่ แสดงความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยแี ละอตุ สาหกรรมเหล็กขององั กฤษ (GREAT EXHIBITION)การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมระยะที่ 2 เป็นการปรับปรุงการคมนาคมส่ือสาร ซ่ึงเป็นผลมาจากความสาเร็จของอุตสาหกรรมเหลก็ และเคร่อื งจักรไอน้าปคี รสิ ต์ศักราช บุคคลสาคัญ ผลงานของบุคคลสาคัญ นาพลังงานไอน้ามาขับเคลื่อนรถบรรทุก รถจักรไอน้าจึงมีบทบาทสาคัญใน อุตสาหกรรมขนส่ง ที่มีช่ือเสียงมาก คือ หัวรถจักรไอน้า ช่ือ ร็อกเกต (ROCKET) ของจอร์จ สตีเฟนสัน (GEORGE STEPHENSON) ทาให้มีการค.ศ. 1804 รชิ าร์ด เทรวที กิ เปิดบริการรถจักรไอน้าบรรทุกสินค้าเป็นครั้งแรก ต่อ มามีการดัดแปลงมา (RICHARD TREVITICK) รับส่งผู้โดยสาร ถือเป็นจุดเริ่มต้นการเข้าสู่ยุคการใช้รถไฟ ซ่ึงเป็นผลทาให้ ความเจริญขยายตัวจากเขตเมืองไปสู่ชนบท เปล่ียนชนบทให้กลายเป็น เมือง นอกจากนี้รถไฟยังเป็นพาหนะสาคัญในการลาเลียงกาลังพลและ อาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆ และเป็นส่ิงกระตุ้นให้ยุโรป สนใจกระบวนการ ปฏิวัติอุตสาหกรรมในครสิ ต์ศตวรรษที่ 19ค.ศ. 1789 ฝรั่งเศสภายหลังการปฏิวัติใน ได้หันมาสนใจปฏิวัติอุตสาหกรรมเช่นเดียวกับเยอรมนีและสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1789 และกา้ วขึ้นเป็นคแู่ ขง่ กับองั กฤษค.ศ. 1807 โรเบริ ต์ ฟลุ ตนั ประสบความสาเรจ็ ในการนาพลงั ไอนา้ มาใช้กบั เรือเพอ่ื รับสง่ ผโู้ ดยสาร (ROBERT FULTON)ค.ศ. 1840 แซม มวล คูนารด์ เปิดเดินเรือกลไฟแล่นข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกได้ภายใน 14 วัน และมี (SEMUEL CUNARD) การปรับปรงุ เรอื กลไฟใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพยิ่งขึ้นทางด้านรถยนต์มีการนาพลัง ไอน้ามาใชก้ ับรถสามล้อ คารล์ เบนซ์ (KARL BENZ) สามารถนาเครือ่ งยนตท์ ใ่ี ช้น้ามันเบนซินมาใช้กับรถยนต์ทาให้อุตสาหกรรมค.ศ. 1857 และ กอตตล์ ีบ เดมเลอร์ รถยนตเ์ จรญิ ก้าวหน้าขึ้น (GOTTLIEB DAIMLER) ประดษิ ฐเ์ คร่อื งพมิ พ์แบบลกู กล้ิงข้ึนใช้ ทาให้การพิมพพ์ ัฒนาได้ปริมาณมากค.ศ. 1812 วงการการพิมพ์ ขึ้นและเร็วทันเหตุการณ์ หนังสือพิมพ์จึงแพร่หลาย การเผยแพร่ความรู้ และข่าวสารกแ็ พรห่ ลายในวงกวา้ งข้นึ ปลาย แซมมวล มอรส์ ประดษิ ฐ์โทรเลขได้สาเร็จเป็นคนแรกครสิ ตศ์ ตวรรษ (SEMUEL MORSE) ที่ 19 อเลก็ ซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ค.ศ. 1837 (ALEXANDER GRAHAM ประดษิ ฐ์โทรศัพท์ได้สาเร็จ BELL)

ค.ศ. 1876 มีการประดิษฐ์วิทยุโทรเลขได้และส่งโทรเลขข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกได้ สาเรจ็ค.ศ. 1901 ธอมสั แอลวา เอดสิ นั ประดิษฐห์ ลอดไฟฟาู เคร่ืองเล่นจานเสยี ง และ กลอ้ งถา่ ยภาพยนตรไ์ ด้ (THOMAS ALVA EDISON)ผลของการปฏวิ ัตอิ ตุ สาหกรรม มดี ังน้ี1. ประชากรทั่วโลกเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และทางด้านการแพทย์เจริญก้าวหน้าข้ึนอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความสมบูรณ์ของอาหาร ระบบ สาธารณสุขและการดูแลสุขภาพอนามัย การเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็ว ทาใหเ้ กดิ การอพยพจากชนบทมาหางานทาใน เมืองจนเกดิ ปัญหาความแออัดของประชากรในเขตเมือง2. การก่อสร้างอาคารบ้านเรือนและสถาปัตยกรรมพัฒนาก้าวหน้ามากข้ึน เพราะการพัฒนาอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีการก่อสร้าง ทาให้อาคารแข็งแรงขึ้น การออกแบบ ก่อสร้างหอไอเฟล (EIFFEL TOWER) ท่ีกรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศสใน ค.ศ. 1889 ถอื เป็นสัญลกั ษณข์ องการเร่ิมต้นการกอ่ สรา้ งท่ีทันสมัยของโลก3. เกิดปัญหาสังคมต่างๆ มากมาย เช่น ชุมชนแออัด การแพร่กระจายของเช้ือโรค ปัญหาอาชญากรรม การใช้แรงงานเด็ก การเอารัดเอาเปรียบกัน ทาให้เกิดแนวคิดของ ลัทธิสังคมนิยม (SOCIALISM) ของคาร์ล มาร์กซ์ (KARL MARX) ที่เรียกร้องใหก้ รรมกรรวมพลงั กนั เพ่อื ก่อการปฏิวัติโคน่ ล้มระบบทุนนิยม ทาใหล้ ทั ธิสงั คมนิยมมีบทบาทและอทิ ธิพลมากขึ้น4. เกิดลทั ธิเสรนี ยิ ม (LIBERALISM) ซึง่ เปน็ พน้ื ฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตยและแนวคิดนีแ้ พรห่ ลายกว้างขวางข้ึน ท้ังด้านการเมืองและเศรษฐกิจ ค.ศ. 1776 แอดัม สมิธ (ADAM SMITH) ได้พิมพ์งานเขียนชื่อ THE WEALTH OFNATIONS เพอ่ื เสนอแนวคิดว่าความม่งั คง่ั ของประเทศจะเกดิ จากระบบการค้าแบบเสรี (LAISSEZ FAIRE)กล่าวได้ว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรมก่อให้เกิดการแบ่งค่ายระหว่างลัทธิทุนนิยมกับลัทธิ สังคมนิยมอย่างเป็นรูปธรรมต่อมาใน ค.ศ. 1889 ได้มีการประกาศให้วันท่ี 1 พฤษภาคมของทุกปีเป็นวันเมย์เดย์หรือวันแรงงานสากล (MAY DAY)นอกจากน้ียังทาให้เกิดวรรณกรรมแนวสัจนิยม (REALISM) ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่พยายามเสนอเร่ืองความเป็นจริงเบื้องหลงั ความสาเรจ็ ของระบบสงั คมอุตสาหกรรม ท่ชี นชั้นกรรมกรมีชวี ิตที่ยากไรแ้ ละถูกเอารัดเอาเปรยี บ5. การปฏิวัติทางอุตสาหกรรมได้ขยายไปท่ัวภูมิภาคต่างๆ ของโลก ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสงั คม การเมือง และทาให้ประเทศต่างๆ เหลา่ น้มี ี “วัฒนธรรมรว่ ม” ตามตะวนั ตกไปด้วย