แผนการ จัดการ เรียน รู้ สังคมศึกษา ม.1 doc

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าสังคมศึกษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ จัดทำโดย นางสาวพิชชากรณ์ ใจหอม เลขที่ ๓ หมเู่ รยี น D๕ สาขาวิชาภาษาไทย เสนอ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. พัชรีภรณ์ บางเขียว แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนเี้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวชิ าการจดั การเรยี นรู้และการจัดการช้นั เรยี น รหัสวชิ า ๑๑๐๐๓๐๑ คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา

คำนำ แผนการจัดการเรยี นรู้รายวชิ าสังคมศึกษา ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ จดั ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางใน การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐา นพุทธศักราช ๒๕๕๑ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วยเนื้อหาสาระดังต่อไปน้ี แผนการจัดการเรียนรู้รายปี ซ่ึง ประกอบด้วยมาตรฐานและตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม แผนการ จัดการเรียนรู้รายคาบทั้งหมด ๓ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย “เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น” “สถาบัน การเงิน” และ “เศรษฐกิจประเทศไทย” ซึ่งแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ได้ระบุมาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามรูปแบบการจดั การเรียนรู้ที่หลากหลายอัน ได้แก่ รูปแบบ การเรียนรู้แบบซิปปา รูปแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง รูปแบบการ เรียนรู้ตามวัฎจักรการเรยี นรูแ้ บบ (4MAT) และรูปแบบการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ (student- center) ซึ่งแต่ละรูปแบบมีวิธีการจัดการเรียนการสอนที่แตกต่างกัน แต่ทั้งหมดนำมาซึง่ การบรรลุจุดประสงค์ การเรียนรู้นอกจากนี้ยังมีใบงานและเกณฑ์การประเมินผลเพื่อใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ ละคนว่าหลังจากเสร็จสิ้นการเรียน นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเนื้อหาสาระมากน้อยเพียงใดผ่านเกณฑ์การ ประเมินหรอื ไม่ ผู้จัดทำขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พัชรีภรณ์ บางเขียว เป็นอย่างยิ่งที่ให้คำปรึกษาและ คำแนะนำตลอดระยะเวลา การจัดทำแผนการจัดการเรียนรูแ้ ละหวังเปน็ อยา่ งย่ิงว่า แผนการจดั การเรียนรู้เล่ม น้ีเปน็ ประโยชนก์ บั การจัดการเรยี นรู้ในหอ้ งเรยี น ทำใหผ้ ้เู รยี นสามารถพฒั นาการเรยี นร้ไู ด้อยา่ ง มปี ระสทิ ธภิ าพ ตอ่ ไป นางสาวพชิ ชากรณ์ ใจหอม ผจู้ ดั ทำ

สารบญั เร่อื ง หนา้ แผนการจดั การเรียนรรู้ ายปี ๑ ตารางโครงสร้างรายวิชา ๑๗ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ ๒๓ ๔๑ ใบงานที่ ๑ ๔๓ ใบงานที่ ๒ ๔๔ ใบงานท่ี ๓ ๔๖ ใบงานที่ ๔ ๔๗ ใบงานที่ ๕ ๔๙ แบบทดสอบ ๖๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ ๗๔ ใบงานท่ี ๑ ๗๕ แบบทดสอบ ๘๔ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ ๑๐๐ ใบงานท่ี ๑ ๑๐๑ ใบงานที่ ๒ ๑๐๓ แบบทดสอบ

๑ แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๑ รายวิชาสงั คมศึกษา สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๓ หน่วยกิต ผู้สอน นางสาวพิชชากรณ์ ใจหอม ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติความสำคัญศาสดาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ตนนับถอื และศาสนาอนื่ มศี รทั ธาทถ่ี ูกต้องยดึ ม่ันและปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรมเพ่ืออยู่รว่ มกนั อย่างสันตสิ ุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนทด่ี ีและธำรงรกั ษาพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาทตี่ นนับถือ มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงามและธำรง รกั ษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทยดำรงชวี ติ อยูร่ ว่ มกนั ในสังคมไทยและสงั คมโลกอยา่ งสันตสิ ุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันยึดมั่นศรัทธาและสำรงรักษาไว้ ซ่งึ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ จำกัด ได้อย่างมีประสิทธภิ าพและคุ้มค่ารวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการ ดำรงชวี ิตอย่างมดี ลุ ยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา้ ใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจและความ จำเปน็ ของการร่วมมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ต่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจบุ ันในด้านความสัมพนั ธ์และการ เปลีย่ นแปลงของเหตุการณอ์ ยา่ งตอ่ เนือ่ งตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบทีเ่ กิดขนึ้ มาตรฐานส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทยวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทยมีความรักความภูมิใจและ สำรงความเปน็ ไทย มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโอกทางกายภาพและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน และกนั ในระบบของธรรมชาติใชแ้ ผนที่และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหาวิเคราะหส์ รุปและใช้ข้อมูลภูมิ สารสนเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๒ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรมมจี ติ สำนึกและมสี ่วนรว่ มในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาท่ีย่ังยนื ตวั ชว้ี ดั มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติความสำคัญศาสดาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ตนนบั ถอื และศาสนาอ่ืนมีศรัทธาท่ถี กู ต้องยึดมัน่ และปฏิบตั ิตามหลักธรรมเพ่ืออย่รู ว่ มกันอย่างสนั ตสิ ุข ส ๑.๑ ม.๑/๑ อธิบายการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาท่ตี นนับถือสปู่ ระเทศไทย ส ๑.๑ ม.๑/๒ วเิ คราะหค์ วามสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือทมี่ ีต่อสภาพแวดล้อม ในสงั คมไทยรวมทั้งการพฒั นาตนและครอบครวั ส ๑.๑ ม.๑/๓ วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงบำเพ็ญทุกรกิริยาหรือประวัติศาสดาที่ตนนับ ถอื ตามท่ีกำหนด ส ๑.๑ ม.๑/๔ วิเคราะหแ์ ละประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนนิ ชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวกชา ตกเร่อื งเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามท่กี ำหนด ส ๑.๑ ม.๑/๕ อธิบายพุทธคุณและข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน นบั ถอื ตามทีก่ ำหนด เหน็ คณุ ค่าและนำไปพฒั นาแก้ปญั หาของตนเองและครอบครวั ส ๑.๑ ม.๑/๖ เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโส มนสิการ วิธคี ดิ แบบคุณคา่ แท้-คุณคา่ เทยี มและวิธีคิดแบบคุณ-โทษและทางออกหรือการพฒั นาจิตตามแนวทาง ของศาสนาทต่ี นนับถือ ส ๑.๑ ม.๑/๗ สวดมนต์แผ่เมตตาบริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติหรือตามแนวทางของ ศาสนาทีต่ นนับถอื ตามที่กำหนด ส ๑.๑ ม.๑/๘ วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือในการดำรงชีวิตแบบ พอเพียงและดแู ลรกั ษาส่งิ แวดลอ้ มเพื่อการอย่รู ว่ มกันได้อย่างสันตสิ ขุ ส ๑.๑ ม.๑/๙ วิเคราะห์เหตผุ ลความจำเปน็ ท่ีทุกคนตอ้ งศึกษาเรยี นรู้ศาสนาอืน่ ๆ ส ๑.๑ ม.๑/๑๐ ปฏบิ ตั ติ นต่อศาสนกิ ชนอนื่ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ส ๑.๑ ม.๑/๑๑ วิเคราะห์การกระทำของบุคคลที่เป็นแบบอย่างต้านศาสนสัมพันธ์และนำเสนอแนว ทางการปฏิบัตขิ องตนเอง มาตรฐาน ส ๑.๒ เขา้ ใจตระหนักและปฏบิ ตั ติ นเปน็ ศาสนิกชนที่ดีและธำรงรักษาพระพทุ ธศาสนาหรือ ศาสนาท่ตี นนบั ถือ ส ๑.๒ ม.๑/๑ บำเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถานของศาสนาท่ตี นนบั ถือ ส ๑.๒ ม.๑/๒ อธิบายจริยวัตรของสาวกเพื่อเปน็ แบบอย่างในการประพฤตปิ ฏิบัติและปฏิบัตติ นอย่าง เหมาะเจมต่อสาวกของศาสนาที่ตนนับถอื

๓ ส ๑.๒ ม.๑/๓ ปฏบิ ตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลตา่ ง ๆ ตามหลกั ศาสนาที่ตนนับถือตามท่ีกำหนด ส ๑.๒ ม.๑/๔ จัดพิธกี รรมและปฏบิ ตั ติ นในศาสนพิธพี ิธกี รรมได้ถูกต้อง ส ๑.๒ ม.๑/๕ อธิบายประวัติความสำคัญและปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กำหนดได้ถกู ต้อง มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงามและธำรง รกั ษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทยดำรงชวี ติ อยู่ร่วมกนั ในสงั คมไทยและสังคมโลกอยา่ งสันตสิ ุข ส ๒.๑ ม.๑/๑ ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายในการคมุ้ ครองสทิ ธิของบคุ คล ส ๒.๑ ม.๑/๒ ระบคุ วามสามารถของตนเองในการทำประโยชนต์ อ่ สงั คมและประเทศชาติ ส ๒.๑ ม.๑/๓ อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีหรือ อาจนำไปส่คู วามเขา้ ใจผดิ ต่อกัน ส ๒.๑ ม.๑/๔ แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผ้อู ่นื มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันยึดมั่นศรัทธาและสำรงรักษาไว้ ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ส ๒.๒ ม.๑/๑ อธิบายหลักการเจตนารมณ์โครงสร้างและเทระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบนั โดยสังเขป ส ๒.๒ ม.๑/๒ วิเคราะห์บทบาทการถ่วงดลุ อำนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบับ ปจั จบุ ัน ส ๒.๒ ม.๑/๓ ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบันเกี่ยวข้องกับ ตนเอง มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ จำกัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือ การดำรงชีวิตอยา่ งมีดลุ ยภาพ ส ๓.๑ ม.๑/๑ อธบิ ายความหมายและความสำคญั ของเศรษฐศาสตร์ ส ๓.๑ ม.๑/๒ วิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในเจ้งคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของ ชมุ ชนและประเทศ ส ๓.๑ ม.๑/๓ อธิบายความเป็นมาหลักการและความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อ สงั คมไทย มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและ ความจำเป็นของการรว่ มมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก

๔ ส ๓.๒ ม.๑/๑ วิเคราะห์บทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและ ธนาคารกลาง ส ๓.๒ ม.๑/๒ ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัยกันและการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจใน ประเทศ ส ๓.๒ ม.๑/๓ ระบปุ จั จัยทีม่ ีอิทธพิ ลตอ่ การกำหนดอปุ สงค์และอุปทาน ส ๓.๒ ม.๑/๔ อภปิ รายผลขพการมีกฎหมายเกีย่ วกบั ทรพั ย์สินทางปัญญา มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมายความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ ส ๔.๑ ม.๑/๑ วเิ คราะหค์ วามสำคัญของเวลาในการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ ส ๔.๑ ม.๑/๒ เทยี บศักราชตามระบบตา่ ง ๆ ทีใ่ ชศ้ กึ ษาประวัตศิ าสตร์ ส ๔.๑ ม.๑/๓ นำวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาใชศ้ ึกษาเหตุการณท์ างประวตั ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณอ์ ย่างตอ่ เนื่องตระหนักถึงความสำคญั และสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบทีเ่ กดิ ขนึ้ ส ๔.๒ ม.๑/๑ อธบิ ายพัฒนาการทางสังคมเศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ส ๔.๒ ม.๑/๒ ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ มาตรฐานส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทยวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทยมีความรักความภูมิใจและ สำรงความเป็นไทย ส ๔.๓ ม.๑/๑ อธบิ ายเร่อื งราวทางประวัตศิ าสตรส์ มัยกอ่ นสโุ ขทัยในดนิ แดนไทยโดยสังเขป ส ๔.๓ ม.๑/๒ วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจกั รสุโขทยั ในดา้ นตา่ ง ๆ ส ๔.๓ ม.๑/๓ วิเคราะหอ์ ทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทยสมัยสโุ ขทยั และสงั คมไทยในปัจจุบนั มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโอกทางกายภาพและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน และกนั ในระบบของธรรมชาตใิ ชแ้ ผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหาวิเคราะห์สรุปและใช้ข้อมูลภูมิ สารสนเทศอย่างมีประสิทธภิ าพ ส ๕.๑ ม.๑/๑ เลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลกแผนที่กราฟแผนภูมิ) ในการสืบค้นข้อมูลเพื่อ วเิ คราะห์ลักษณะทางกายภาพและเข้งคมของประเทศไทยและทวีปเอเชียออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย ส ๕.๑ ม.๑/๒ อธบิ ายเส้นแบง่ เวลาและเปรียบเทยี บวันเวลาของประเทศไทยกับทวีปตา่ ง ๆ ส ๕.๑ ม.๑/๓ วเิ คราะห์เชือ่ มโยงสาเหตุและแนวทางป้องกันภยั ธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยและทวปี เอเชยี ออสเตรเลียและโอเชียเนยี

๕ มาตรฐานส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรมมีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาท่ี ยัง่ ยนื ส ๕.๒ ม.๑/๑ วิเคราะห์ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงทางธรรมชาติของทวีปเอเชียออสเตรเลียและ โอเชยี เนีย ส ๕.๒ ม.๑/๒ วิเคราะห์ความรว่ มมือของประเทศต่าง ๆ ที่มีผลต่อส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาตขิ องทวปี เอเชียออสเตรเลยี และโอเชียเนยี ส ๕.๒ ม.๑/๓ สำรวจและอธิบายทำเลที่ตัง้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คมในทวีปเอเชยี ออสเตรเลีย และโอเชียเนียโดยใชแ้ หล่งขอ้ มูลท่หี ลากหลาย ส ๕.๒ ม.๑/๔ วิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการเลื่อนไหลของความคิดเทคโนโลยี สนิ ค้าและประชากรในทวปี เอเชยี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี ๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ ดา้ นความรู้ (K) - นกั เรยี นสามารถอธบิ ายพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาท่ีตนเองนบั ถือได้ (K) - นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่มีต่อ สภาพแวดล้อมในสงั คมไทยรวมทัง้ การพฒั นาตนและครอบครัว (K) - นักเรียนสามารถวิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงบำเพ็ญทุกรกิริยาหรือประวัติศาสดาที่ตน นับถือตามท่กี ำหนดไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง (K) - นักเรยี นสรปุ และวิเคราะหพ์ ุทธประวัติ เรอ่ื ง การประสตู ิ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง (K) นักเรียนสามารถวิเคราะห์และอธิบายการปฏิบัติตนของพุทธสาวกและพุทธสาวิกาที่เป็นแบบอย่างได้อย่าง ถูกตอ้ ง (K) - นักเรยี นอธิบายพทุ ธคุณและข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ ได้อย่างถูกต้อง (K) - นักเรียนเชื่อมโยงและเปรียบเทียบอรยิ สัจ ๔ กับการเกิดทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ได้อย่างเหมาะสม (K) - นักเรียนอธิบายหลักธรรมโยนโิ สมนสิการ วิธีคิดแบบคณุ ค่าแท้-คุณค่าเทียมและวิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออกหรอื การพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือไดอ้ ย่างถูกต้อง - นักเรียนอธิบายสวดมนต์แผ่เมตตาบริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติหรือตามแนวทาง ของศาสนาท่ีตนนบั ถอื ตามทีก่ ำหนด (K)

๖ - นักเรียนอธิบายหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือในการดำรงชีวิตแบบพอเพียงและดูแลรักษา ส่งิ แวดล้อมเพอ่ื การอยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งสันติสขุ (K) - นักเรียนอธิบายการประพฤติตนและวิถีการดำเนินชีวิตแตกต่างกันตามหลักความเชื่อและคำสอน ของศาสนาท่ีตนเองนับถอื (K) - นักเรียนวิจารณ์บุคคลในท้องถิ่นหรือประเทศที่ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์หรือ ผลงานดา้ นศาสนสมั พนั ธ์ได้อยา่ งเหมาะสม (K) - นักเรียนวิเคราะห์การกระทำของบุคคลที่เป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์และนำเสนอแนวทาง การปฏบิ ตั ิของตนเอง (K) - นักเรียนสามารถอธิบายและสรุปการส่วนร่วมของการบำเพ็ญประโยชน์ต่อวัดและศาสนสถานที่ตน นับถือได้ (K) - นักเรียนสามารถอธิบายวิถีชีวิตของพระภิกษุสงค์หรือศาสนาที่ตนนับถือได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม (K) - นักเรยี นบอกวิธกี ารปฏิบตั ติ นท่ีเหมาะต่อบคุ คลตา่ ง ๆ ตามหลกั ศาสนาทต่ี นนบั ถอื ตามท่กี ำหนด (K) นักเรียนอธบิ ายการจดั พิธกี รรมและปฏิบัตติ นในศาสนพธิ ีพิธีกรรมไดถ้ ูกตอ้ ง (K) - นักเรยี นอธบิ ายประวัติความสำคัญและปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาทต่ี นนับถือตามที่กำหนดได้ ถูกตอ้ ง (K) - นักเรียนสามารถบอกกฎหมายในการคุ้มครองสทิ ธขิ องบุคคลได้ (K) - นักเรยี นสามารถบอกความสามารถของตนเองในการทำประโยชนต์ ่อสงั คมและประเทศชาตไิ ด้ (K) - นักเรยี นสามารถอธิบายถึงการเคารพในสทิ ธิเสรภี าพของตนเองและผอู้ น่ื ได้ (K) - นักเรียนอธิบายหลักการเจตนารมณ์โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทยฉบับปจั จุบนั โดยสงั เขป (K) - นักเรียนวิเคราะห์และสรุปบทบาทการถ่วงดุลอำนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจบุ นั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง (K) - นักเรียนสรุปและเชื่อมโยงการปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรไทยฉบับ ปัจจุบนั เก่ียวข้องกบั ตนเองไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง (K) - นกั เรยี นสามารถอธิบายความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ ไดอ้ ย่างถกู ต้อง (K) - นักเรียนสามารถอธิบายค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของ ชมุ ชนและประเทศได้อย่างถกู ตอ้ ง (K) - นักเรียนสามารถเชื่อมโยงและเปรียบเทียบวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนใน สงั คมซง่ึ ส่งผลต่อเศรษฐกจิ ของชมุ ชนและประเทศได้อยา่ งเหมาะสม (K)

๗ - นักเรียนสามารถอธิบายความเป็นมาหลักการและความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อ สังคมไทยไดอ้ ยา่ งถูกต้อง (K) - นักเรียนสามารถวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและ ธนาคารกลางไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง (K) - นกั เรียนวิเคราะหแ์ ละเชื่อมโยงการพึง่ พาอาศัยและการแข่งขนั ทางเศรษฐกจิ ในประเทศได้ - นักเรียนสรุปการยกตัวอย่างท่สี ะทอ้ นให้เหน็ การพึง่ พาอาศยั และการแขง่ ขันทางเศรษฐกิจในประเทศ ได้อย่างถูกต้อง (K) - นักเรียนสามารถอธบิ ายปจั จยั ท่มี ีอทิ ธิพลตอ่ การกำหนดอปุ สงคแ์ ละอุปทานได้อย่างถูกต้อง (K) - นักเรียนสามารถเชื่อมโยงและเปรียบเทียบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดอุปสงค์และอุปทานได้ อย่างถกู ต้อง (K) - นักเรยี นสามารถสรุปปัจจยั ท่มี อี ิทธพิ ลต่อการกำหนดอปุ สงค์และอุปทานได้ (K) - นกั เรียนสามารถสรุปผลของการมีกฎหมายเกยี่ วกบั ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญาได้ (K) นักเรยี นสามารถวเิ คราะหค์ วามสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัตศิ าสตร์ ได้อยา่ งถกู ต้อง (K) - นักเรียนสามารถบอกและเปรียบเทียบศักราชตามระบบต่าง ๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ได้อย่าง ถกู ต้อง (K) - นกั เรียนสามารถสรุปวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์มาใชศ้ ึกษาเหตกุ ารณ์ทางประวัตศิ าสตร์ได้ (K) - นักเรยี นสามารถเชือ่ มโยงวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรม์ าใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตรไ์ ด้ (K) - นักเรียนสามารถอธิบายพัฒนาการทางสังคมเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาค เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ไดอ้ ย่างถูกต้อง (K) - นักเรียนสามารถเปรียบเทียบพัฒนาการทางสังคมเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศต่าง ๆ ใน ภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (K) - นักเรียนระบุความสำคญั ของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ได้ (K) - นักเรียนสามารถอธิบายเรอ่ื งราวทางประวัติศาสตร์สมัยกอ่ นสโุ ขทัยในดนิ แดนไทยโดยสังเขปได้ (K) - นกั เรยี นสามารถวเิ คราะหพ์ ัฒนาการของอาณาจักรสุโขทยั ในดา้ นตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างถูกต้อง (K) - นักเรียนสามารถวิเคราะห์อิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทยใน ปจั จุบนั (K) - นักเรียนสามารถวิเคราะห์การเลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลกแผนที่กราฟแผนภูมิ) ใน การสืบค้นข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศไทยและทวีปเอเชียออสเตรเลยี และ โอเชยี เนียได้อยา่ งถกู ต้อง (K)

๘ - นักเรียนสามารถอธิบายเส้นแบ่งเวลาและเปรียบเทียบวันเวลาของประเทศไทยกับทวีปต่าง ๆ ได้ อย่างถูกตอ้ ง (K) - นักเรียนสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงสาเหตุและแนวทางป้องกันภัยธรรมชาติและการระวังภัยท่ี เกิดขึ้นในประเทศไทยและทวปี เอเชียออสเตรเลียและโอเชียเนยี ได้อยา่ งถูกต้อง (K) - นักเรียนสามารถสรุปการวิเคราะห์และเชื่อมโยงสาเหตุและแนวทางป้องกันภัยธรรมชาติและ การระวังภยั ที่เกิดขน้ึ ในประเทศไทยและทวีปเอเชียออสเตรเลยี และโอเชียเนียได้ (K) - นักเรียนสามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของทวีปเอเชียออสเตรเลีย และโอเชยี เนียได้อยา่ งถกู ตอ้ ง (K) - เชื่อมโยงการหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทุน ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตผู้บริโภค และสถาบนั การเงิน (K) - นักเรียนสามารถสรุปการวิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย (K) - นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความร่วมมือของประเทศต่าง ๆ ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของ ทวีปเอเชยี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนียไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง (K) - นักเรียนสามารถสำรวจและอธิบายทำเลที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชยี เนียโดยใช้แหล่งขอ้ มลู ท่หี ลากหลายได้ (K) - นักเรียนสามารถสรุปทำเลที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชียออสเตรเลียและโอ เชยี เนยี โดยใชแ้ หลง่ ข้อมูลทหี่ ลากหลายได้ (K) - นักเรียนสามารถวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยสี ินคา้ และประชากรในทวปี เอเชยี ออสเตรเลียและโอเชียเนียได้ (K) - นักเรียนสามารถสรุปปัจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการเลื่อนไหลของความคิดเทคโนโลยี สนิ คา้ และประชากรในทวีปเอเชยี ออสเตรเลียและโอเชียเนยี ไดอ้ ย่างเหมาะสม (K) ๒.๒ ดา้ นทักษะ (P) - นักเรียนสามารถนำเสนอการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทยได้อย่าง ถกู ต้อง (P) - นักเรียนอภิปรายความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่มีต่อสภาพแวดล้อมใน สังคมไทยรวมทัง้ การพฒั นาตนและครอบครวั ได้อย่างเหมาะสม (P) - นกั เรยี นนำเสนอ เร่ืองการประสตู ิ เรอื่ งการแสวงหาความรู้ และการบำเพ็ญทุกกรกรยิ า (P) นกั เรยี นสามารถนำเสนอชาดกในบทเรียนได้ (P)

๙ - นกั เรยี นสามารถอภปิ รายศาสนิกชนตวั อยา่ งได้ (P) นักเรยี นนำข้อคดิ จากพุทธศาสนสภุ าษิตมาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน (P) - นักเรยี นสาธติ เหตุการณส์ มมตขิ องหลกั ธรรมของโยนิโสมนสกิ ารไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (P) - นกั เรยี นสามารถแสดงสวดมนต์และแผ่เมตตาได้ (P) นกั เรยี นอภปิ รายการดำเนนิ ชีวติ แบบพอเพียงไดอ้ ย่างเหมาะสม (P) - นกั เรยี นนำเสนอการดแู ลสิง่ แวดล้อมเพื่อการเปน็ อยูอ่ ย่างสนั ตสิ ุขได้อย่างเหมาะสม (P) - นักเรียนวเิ คราะห์ความจำเปน็ ทท่ี กุ คนต้องศกึ ษาเรยี นรู้ศาสนาอ่นื ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม (P) - นกั เรียนปฏบิ ัตติ ัวอย่างเหมาะสมตอ่ ศาสนิกชนอนื่ ในสถานการณต์ ่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (P) - นักเรียนอภปิ รายการปฏบิ ัติตนทีเ่ หมาะสมดา้ นศาสนสมั พันธไ์ ด้ (P) - นกั เรียนมสี ่วนร่วมของการบำเพญ็ ประโยชนต์ ่อวดั และ ศาสนสถานทตี่ นนบั ถือได้ (P) - นักเรียนนำเสนอแบบอยา่ งในการประพฤตปิ ฏบิ ัตแิ ละปฏบิ ตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนาที่ ตนนบั ถอื (P) - นักเรยี นแสดงบทบาทสมมติในการปฏบิ ตั ติ นทีเ่ หมาะสมตอ่ บุคคลตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (P) - นักเรียนสาธติ การจดั พิธกี รรมและปฏบิ ัติตนในศาสนพิธพี ธิ ีกรรมไดอ้ ย่างเหมาะสม (P) - นกั เรยี นอภิปรายประวัตคิ วามสำคัญในทางพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือได้อย่างเหมาะสม (P) - นักเรียนนำเนื้อหาในบทเรียนเรื่องปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาที่ตนนับถือมาปรับใช้ใน ชีวิตประจำวนั ได้อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม (P) - นกั เรียนสามารถปฏบิ ัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสทิ ธิของบคุ คลได้ (P) - นักเรียนสามารถมสี ว่ นรว่ มในการทำประโยชนต์ อ่ สงั คมและประเทศชาติ (P) - นักเรียนสามารถอภปิ รายเก่ียวกับคุณค่าทางวฒั นธรรมท่เี ป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีหรือ อาจนำไปส่คู วามเขา้ ใจผิดตอ่ กันได้ (P) - นกั เรยี นสามารถแสดงถึงการเคารพในสิทธเิ สรภี าพของตนเองและผูอ้ ืน่ ได้อย่างเหมาะสม (P) - นักเรียนอภิปรายหลักการเจตนารมณ์โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทยฉบบั ปัจจบุ ันได้อย่างเหมาะสม (P) - นักเรียนนำเสนอบทบาทการถ่วงดุลอำนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ ปัจจบุ ันได้ (P) - นักเรยี นปฏิบตั ิตนตามบทบญั ญัติของรัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรไทยฉบับปจั จุบันเกี่ยวข้องกับตนเอง ได้ (P) - นักเรียนสามารถนำเสนอความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ได้ (P)

๑๐ - นักเรียนสามารถค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในเจ้งคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชน และประเทศ (P) - นักเรียนประยุกต์ความเป็นมาหลักการและความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อ สังคมไทยมาใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั (P) - นักเรียนสามารถอภิปรายบทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและ ธนาคารกลางไดอ้ ย่างเหมาะสม (P) - นักเรยี นนำเสนอการพึ่งพาอาศยั และการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจในประเทศได้อย่างถกู ต้อง (P) - นกั เรียนอภปิ รายปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธิพลตอ่ การกำหนดอุปสงค์และอุปทาน (P) - นักเรยี นสามารถอภิปรายผลของการมีกฎหมายเก่ยี วกับทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาได้ (P) - นักเรยี นสามารถอภิปรายความสำคญั ของเวลาในการศึกษาประวตั ิศาสตรไ์ ด้ (P) - นกั เรยี นตรวจสอบวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาใชศ้ ึกษาเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตรไ์ ด้ (P) - นักเรยี นนำเสนอความสำคญั ของแหล่งอารยธรรมในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ได้ (P) - นกั เรยี นสามารถสรุปเรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตรส์ มยั กอ่ นสโุ ขทยั ในดนิ แดนไทยได้ (P) - นักเรยี นอภิปรายการพฒั นาการของอาณาจักรสโุ ขทัยในด้านตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม (P) - นกั เรยี นนำเสนอการวิเคราะห์อิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทยสมัยสุโขทยั และสังคมไทยใน ปจั จบุ นั ได้ (P) - นักเรียนสามารถเลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลกแผนที่กราฟแผนภูมิ) ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อวเิ คราะหล์ ักษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศไทยและทวปี เอเชียออสเตรเลียและโอเชยี เนียมาปรับ ใชใ้ นวชิ าที่เรียนได้ (P) - นักเรียนสามารถตรวจสอบเสน้ แบ่งเวลาและเปรยี บเทยี บวนั เวลาของประเทศไทยกับทวีปตา่ ง ๆ ได้ อย่างถกู ต้อง (P) - นักเรียนสามารถนำเสนอแนวทางป้องกนั ภัยธรรมชาตแิ ละการระวังภัยที่เกิดข้ึนในประเทศไทยและ ทวีปเอเชยี ออสเตรเลียและโอเชียเนียไดอ้ ย่างเหมาะสม (P) - นักเรียนสามารถอภิปรายการวิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของทวปี เอเชยี ออสเตรเลยี และโอเชียเนียได้ (P) - นักเรียนสามารถประยุกต์ความร่วมมือของประเทศต่าง ๆ ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของ ทวปี เอเชยี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนียมาใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ (P)

๑๑ ๒.๓ ดา้ นจติ พิสัย (A) - นักเรยี นเล็งเห็นถงึ คุณค่าและภูมิใจของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศ ไทย (A) - นักเรยี นเล็งเห็นถงึ ความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนเองนับถอื จากบทเรียนได้ (A) - นักเรยี นเหน็ คณุ คา่ ของการศึกษาพุทธประวตั ิของพระพุทธศาสนา (A) - นักเรียนเล็งเห็นคุณค่าของข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างที่กำหนด ได้ (A) - นักเรียนช่ืนชมศาสนกิ ชนตัวอยา่ งในบทเรยี นได้อย่างเหมาะสม (A) - นักเรียนเห็นประโยชน์และคุณค่าของพุทธคุณและข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรม ของศาสนาทตี่ นนบั ถือตามทีก่ ำหนด และสามารถนำไปพฒั นาแกป้ ัญหาของตนเองและครอบครัวได้ (A) - นกั เรยี นเหน็ คณุ ค่าและประโยชนข์ องหลักธรรมโยนโิ สมนสกิ าร (A) - นกั เรียนเหน็ คณุ ค่าและประโยชนข์ องสวดมนต์และแผ่เมตตาได้ (A) - นกั เรยี นเห็นคุณคา่ และความสำคญั การดำรงชีวิตแบบพอเพยี งและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่ ร่วมกนั ได้อย่างสันติสุข (A) - นักเรยี นเล็งเหน็ ถึงคุณคา่ และความสำคญั ของการเรียนรศู้ าสนาอนื่ ๆ ได้ (A) - นกั เรียนเห็นคุณคา่ และเหน็ ประโยชนข์ องการให้เกียรตติ ่อศาสนิกชนอ่นื (A) - นักเรียนเล็งเห็นถึงความสำคัญของการบำเพ็ญประโยชน์ต่อวัดและศาสนสถานที่ตนนับถือได้อย่าง เหมาะสม (A) - นักเรยี นเห็นคุณค่าและศรัทธาในบทบาทของพระภิกษใุ นการเผยแพร่ศาสนาและศาสนาท่ีตนนับถือ (A) - นกั เรยี นเล็งเห็นถงึ คณุ ค่าและความสำคัญของการปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ บคุ คลตา่ ง ๆ ตามหลัก ศาสนาทีต่ นนับถอื ตามทกี่ ำหนด (A) - นักเรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญของการจัดพิธีกรรมและปฏิบัติตนในศาสนพิธีพิธีกรรมใน บทเรียน (A) - นักเรียนพึงพอใจและเห็นประโยชน์ของประวัติความสำคัญและปฏิบัติตนในวันสำคัญทางศาสนาท่ี ตนนบั ถอื ตามท่ีกำหนดได้ถกู ต้อง (A) - นักเรยี นยอมรับและเหน็ ความสำคญั ของกฎหมายในการค้มุ ครองสิทธขิ องบุคคลได้ (A) - นักเรยี นมีความภมู ิใจในความสามารถของตนเองต่อการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ (A) - นักเรียนความสำคัญเกี่ยวกับคณุ ค่าทางวัฒนธรรมที่เปน็ ปจั จัยในการสร้างความสมั พันธ์ที่ดีหรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกนั (A)

๑๒ - นกั เรยี นเล็งเหน็ ถึงคณุ คา่ และความสำคัญของการเคารพในสทิ ธิเสรีภาพของตนเองและผู้อนื่ (A) - นักเรียนเห็นความสำคัญของหลักการเจตนารมณ์โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทยฉบับปจั จุบนั (A) - นักเรียนเห็นคุณค่าและยอมรับบทบาทการถ่วงดุลอำนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทยฉบับปัจจุบัน (A) - นักเรียนยอมรับและเห็นคุณค่าปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรไทยฉบับ ปจั จุบนั เกยี่ วขอ้ งกบั ตนเอง (A) - นกั เรยี นเลง็ เห็นถึงความสำคัญของความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ (A) - นักเรียนเหน็ ประโยชนข์ องการวเิ คราะหค์ ่านยิ มและพฤติกรรมการบรโิ ภคของคนในสงั คมซ่ึงสง่ ผลต่อ เศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ (A) - นักเรยี นภูมใิ จและซาบซึง้ ในปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งต่อสงั คมไทย (A) - นักเรียนเห็นคณุ ค่าและความสำคัญของหลักการและความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ต่อสังคมไทย (A) - นักเรียนเห็นความสำคัญและประโยชน์ของบทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ ละประเภทและธนาคารกลางที่มีในบทเรยี น (A) - นักเรียนเห็นประโยชน์ของการยกตัวอย่างการพึ่งพาอาศัยและการแข่งขันทางเศรษฐกิจในประเทศ (A) - นกั เรยี นเห็นคุณค่าและเห็นประโยชน์ของปจั จัยที่มอี ิทธิพลตอ่ การกำหนดอุปสงค์และอปุ ทาน (A) - นักเรียนเล็งเห็นถึงความสำคัญของการอภิปรายผลของการมีกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา (A) - นักเรียนเห็นคุณค่าและและประโยชน์ของการวิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษา ประวตั ิศาสตร์ (A) - นักเรียนเห็นประโยชนข์ องการศักราชตามระบบตา่ ง ๆ ที่ใช้ศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ (A) - นักเรียนเห็นประโยชน์วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรม์ าใชศ้ กึ ษาเหตกุ ารณท์ างประวตั ิศาสตร์ (A) - นักเรียนเห็นความสำคัญของการพัฒนาการทางสงั คมเศรษฐกิจและการเมอื งของประเทศตา่ ง ๆ ใน ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ (A) - นักเรียนเล็งเห็นความสำคญั ของแหล่งอารยธรรมในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (A) - นกั เรยี นเหน็ ความสำคัญของเรอื่ งราวทางประวตั ิศาสตรส์ มัยกอ่ นสุโขทยั ในดินแดนไทย (A) นักเรยี นเหน็ คณุ ค่าและซาบซึง้ ในการพัฒนาการของอาณาจกั รสโุ ขทัยในดา้ นตา่ ง ๆ (A)

๑๓ - นักเรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญของการวิเคราะห์อิทธิพลของวฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทยสมัย สุโขทัยและสังคมไทยในปัจจุบนั (A) - นักเรียนเห็นประโยชน์ของเลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลกแผนที่กราฟแผนภูมิ) ใน การสืบค้นข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศไทยและทวีปเอเชียออสเตรเลียและ โอเชยี เนีย (A) - นักเรียนเห็นประโยชน์ของเส้นแบ่งเวลาและเปรียบเทียบวันเวลาของประเทศไทยกับทวีปตา่ ง ๆ ได้ (A) - นักเรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญของแนวทางป้องกันภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยและทวีปเอเชยี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี ได้ (A) - นักเรยี นเห็นคุณค่า ความสำคัญและประโยชน์ของการวิเคราะหผ์ ลกระทบจากการเปล่ียนแปลงทาง ธรรมชาติของทวีปเอเชยี ออสเตรเลยี และโอเชียเนีย (A) - นักเรียนเห็นคณุ ค่า ความสำคัญและประโยชน์ของการวิเคราะห์ความร่วมมือของประเทศตา่ ง ๆ ที่มี ผลต่อสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติของทวีปเอเชียออสเตรเลียและโอเชียเนยี (A) - นักเรียนเห็นประโยชน์ของการสำรวจและอธิบายทำเลที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีป เอเชยี ออสเตรเลียและโอเชยี เนยี โดยใช้แหลง่ ขอ้ มูลท่ีหลากหลาย (A) - นักเรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญของปัจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการเลื่อนไหลของ ความคิดเทคโนโลยีสินคา้ และประชากรในทวปี เอเชียออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี (A) สาระสำคญั แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็น ผกู้ ระทำ ความดี มคี า่ นยิ มทด่ี งี าม พฒั นาตนเองอยเู่ สมอ รวมทง้ั บำเพญ็ ประโยชน์ต่อสงั คมและส่วนรวม ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสำคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทาง วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หนา้ ท่ี เสรภี าพการดำเนินชวี ติ อยา่ งสันตสิ ุขในสังคมไทยและสังคมโลก การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน ชีวติ ประจำวัน

๑๔ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึง ปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญทีม่ ีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ ในอดตี ความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรมและภูมิปัญญา ไทย แหลง่ อารยธรรมทส่ี ำคญั ของโลก ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศของประเทศ ไทย และภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่าง ๆ ใน ระบบธรรมชาติ ความสัมพนั ธข์ องมนุษย์กับสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และสง่ิ ทม่ี นษุ ยส์ ร้างขึ้น การนำเสนอ ขอ้ มลู ภูมสิ ารสนเทศ การอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมเพื่อการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื สาระการเรยี นรู้ เป็นเนื้อสาระที่เน้นความเข้าใจประวัติ ความสำคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน นบั ถอื และสามารถนำหลักธรรมของศาสนา มาเป็นหลกั ปฏบิ ตั ิในการอยู่ร่วมกัน ยึดมัน่ ในศีลธรรม การกระทำ ความดี มีค่านิยมที่ดีงาม และศรัทธาในพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ประพฤติ ปฏิบัติตนตาม หลักธรรม และศาสนพิธีของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ค่านิยมที่ดีงาม และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาตน บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม สิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข เน้นการปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีตามกฎหมาย ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุขมีความเข้าใจระบบการเมือง การปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นสาระทีเ่ นน้ ความเข้าใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลติ และการบรโิ ภค การใช้ทรพั ยากรที่ มีอยูจ่ ำกดั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และคุ้มคา่ รวมท้งั เศรษฐกิจอยา่ งพอเพยี ง เพื่อการดำรงชวี ติ อย่างมีดุลยภาพ เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ต่าง ความสัมพันธ์ของระบบ เศรษฐกจิ และความจำเป็นของการร่วมมือ กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก รวมไปถึงสร้างความเข้าใจ ความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ และสามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์บนพื้นฐานของความเป็นเหตุเป็นผล มาวิเคราะห์ เหตกุ ารณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ เข้าใจพฒั นาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถงึ ปจั จุบนั ในแงค่ วามสัมพนั ธแ์ ละ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบท่ี เกิดขึ้นเข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย และเปน็ สาระท่เี น้นความเข้าใจลกั ษณะของโลกทางกายภาพตระหนักถึงความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งท่ีปรากฏใน ระวางที่ ซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภมู ิศาสตรใ์ นการค้นหาข้อมูล ภูมิสารสนเทศ ซึ่งจะนำไปสู่การใช้ และการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ

๑๕ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ที่ก่อให้ เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและมีจิตสำนึก อนุรักษ์ทรัพยากร และ ส่ิงแวดล้อมเพือ่ การพัฒนาทยี่ ั่งยืน คำอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพนั ธ์ของสรรพส่งิ ซึ่งมผี ลต่อกันใช้แผนทแ่ี ละเครื่องมือ ทางภูมิศาสตรใ์ นการคน้ หาวิเคราะห์ และสรุปขอ้ มูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ตลอดจนใช้ภมู ิสารสนเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ การวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวีปเอเชียทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนียโดยใช้ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์สืบค้นข้อมูลโดยอธิบายพิกัดภูมิศาสตร์ (ละติจูดและลองจิจูด) เส้นแบ่งเวลาและ เปรียบเทียบวัน เวลาของโลก วิเคราะห์สาเหตุ การเกิดภัยพิบตั ิของทวีปเอเซียทวปี ออสเตรเลียและโอเชียเนีย ความเข้าใจปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สงิ่ แวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อใหเ้ กิด การสรา้ งสรรค์ วถิ ีการดำเนินชวี ิต มีจิตสำนักและมสี ่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และสิง่ แวดล้อม เพ่อื การพัฒนาทย่ี ่ังยืนสำรวจและระบุทำเล ที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย วิเคราะห์ปัจจัยทาง กายภาพและปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อทำเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชียทวีป ออสเตรเลียและโอเชียเนียการสืบค้นอภิปรายประเด็นปัญหาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมทาง กายภาพกับมนุษย์ที่เกดิ ในทวีปเอเซียทวปี ออสเตรเลียและโอเชยี เนีย สามารถวเิ คราะห์แนวทางการจัดการภัย พิบัติและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวีปเอเซียทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย ความเข้าใจและ สามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด ได้อย่างมี ประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมทั้งเข้าใจหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การวิเคราะห์ ค่านิยมและ พฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคม ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ การอธิบายความเป็นมา หลักการและความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ต่อสังคมไทยความเข้าใจระบบและสถาบันทาง เศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและธนาคารกลาง การ อภิปรายผลของการมีกฎหมายเกีย่ วกบั ทรัพย์สินทางปัญญา โดยใช้ทักษะกระบวนการสืบค้นค้นหา สำรวจลักษณะทางกายภาพของโลก แผนที่และเครื่องมือทาง ภมู ศิ าสตรแ์ ละลักษณะทางกายภาพของทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย เนน้ การวเิ คราะห์และสรุป เป็นหลักอธบิ าย การอภิปราย การบรหิ าร จัดการทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภคทักษะการคิดและมีส่วน ร่วมกบั การเห็นความสำคญั ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งต่อสังคมไทยและเศรษฐกิจในสังคมโลก เพื่อให้เกิดการมีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาท่ี ยั่งยืนการใช้ทรัพยากรที่มอี ยู่จำกัด อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมทั้งเข้าใจหลักการของปรัชญาเศรษฐกจิ

๑๖ พอเพยี งเพื่อการดำรงชวี ิตอย่างมีดลุ ยภาพ พร้อมทงั้ ตอ้ งมีความสามารถการคิดความสามารในการแก้ไขปัญหา มคี วามสามารถใชท้ กั ษะชีวิต และมคี ุณธรรมด้านการมีวนิ ัย รหัสตัวชี้วดั ส ๑.๑ : ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๑๐ ม.๑/๑๑ ส ๑.๒ : ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ส ๒.๑ : ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ส ๒.๒ : ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ส ๓.๑ : ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ส ๓.๒ : ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ส ๔.๑ : ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ส ๔.๒ : ม.๑/๑ ม.๑/๒ ส ๔.๓ : ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ส ๕.๑ : ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ส ๕.๒ : ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ รวมท้ังหมด ๔๕ ตวั ชวี้ ดั

๑๗ โครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ า สังคมศกึ ษา รหัสวชิ า ส ๒๑๑๐๑ กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง/๑.๕.หน่วยกิต หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา (ชัว่ โมง) การเรียนร้/ู ตัวชี้วดั ๑ ประวตั แิ ละความสำคญั ของพระพุทธศาสนา ๕ ๑.๑ การสงั คายนา ส๑.๑ ม.๑/๑ ๑ ๑.๒ ความสำคัญของพระพุทธศาสนาตอ่ สังคมไทย ส๑.๑ ม.๑/๒ ๓ ๑.๓ พทุ ธประวตั ิ ส๑.๑ ม.๑/๓ ๑ ๑. ประวัติ ๒.เทวทตู ๔ ๓. การแสวงหาความรู้ ๔.การบำเพ็ญทกุ รกริ ยิ า ๒ พุทธประวตั พิ ระสาวกศาสนกิ ตวั อยา่ งและชาดก ๔ ๒.๑ พุทธสาวกและพุทธสาวกิ า ส๑.๑ ม.๑/๔ ๒ ๒.๒ ชาดกในบทเรียน ๒ ๓ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส๑.๑ ม.๑/๕ ๙ ส๑.๑ ม.๑/๕ ๓ ๓.๑ อรยิ สัจ๔ ส๑.๑ ม.๑/๖ ๒ ๓.๒ พทุ ธคณุ ๙ ส๑.๑ ม.๑/๗ ๒ ๓.๓ โยนโิ สมนสิการ ๒ ๓.๔ สวดมนตแ์ ผเ่ มตตาบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญา ส๑.๑ ม.๑/๕ ๓ ๔ พทุ ธศาสนสภุ าษติ ๒ ๔.๑ การนำข้อคดิ จากพุทธศาสนสุภาษิตมาประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ ซง่ึ มี ดังนี้ ๑.ยํ เวเสวติ ตาทโิ ส คบคนเชน่ ใดเปน็ คนเชน่ นน้ั ๒. อตฺตนา โจทยตฺตานํ จงเตอื นตนด้วยตน ๓.นิสมมฺ กรณํ เสยโฺ ย ใครค่ รวญก่อนทำจึงดี ๔.ทรุ าวาส ฆราทุกขฺ า

๑๘ หนว่ ยท่ี ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา (ชว่ั โมง) เรือนที่ครองไม่ดนี ำทกุ ข์มาให้ การเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด ๔.๒ คณุ คา่ ของการพัฒนาจิตเพอ่ื การเรยี นรู้ ส๑.๑ ม.๑/๖ ๑ ๕ เครื่องมือทาง ภมู ิศาสตรแ์ ละการแบ่งเขตเวลาของโลก ๖ ๕.๑ เลือกใชเ้ คร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์ ส๕.๑ ม.๑/๑ ๔ ๕.๒ เสน้ แบง่ เวลาและเปรยี บเทยี บวันเวลาของประเทศไทยกบั ทวปี ต่างๆ ส๕.๑ ม.๑/๒ ๒ ๖ ภูมิศาสตรป์ ระเทศไทย ๘ ส๕.๑ ม.๑/๑ ๒ ๖.๑ ทำเลที่ตง้ั ลกั ษณะทางกายภาพ ส๕.๒ ม.๑/๑ ๔ ๖.๒ การเปลยี่ นแปลงทางธรรมชาติมผี ลต่อกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และ ส๕.๒ ม.๑/๒ ส๕.๒ ม.๑/๔ ๒ สังคม ๕ ๖.๓ การเลือ่ นไหลของความคดิ เทคโนโลยี สนิ คา้ และประชากรในประเทศไทย ๗ ไขม่ กุ อันดามัน ๗.๑ ทำเลท่ตี ้งั ลักษณะทางกายภาพและการเปล่ียนแปลงทางธรรมชาติ ส๕.๑ ม.๑/๑ ๑ ๗.๒ การเปลย่ี นแปลงทางธรรมชาตมิ ผี ลต่อกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และ ส๕.๒ ม.๑/๑ ๓ ส๕.๒ ม.๑/๒ สงั คม ส๕.๒ ม.๑/๓ ๑ ส๕.๒ ม.๑/๔ ๘ ๗.๓ การเลอื่ นไหลของความคดิ เทคโนโลยี สนิ คา้ และประชากรในประเทศไทย ๘ ภมู ศิ าสตรท์ วปี เอเชีย ๘.๑ ภูมศิ าสตร์ทวีปเอเชยี ส๕.๒ ม.๑/๑ ๔ ๘.๒ พัฒนาการทางสังคมเศรษฐกิจและการเมอื งของประเทศตา่ งๆในภูมิภาค ส๕.๒ ม.๑/๑ ๔ ส๕.๒ ม.๑/๒ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ส๕.๒ ม.๑/๓ ๗ ๙ ภูมศิ าสตร์ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี ๙.๑ ทำเลที่ต้ังกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ส๕.๑ ม.๑/๑ ๔ ๙.๒ ปจั จัยทางกายภาพและสังคมทมี่ ีผลตอ่ การเล่ือนไหลของความคิดเทคโนโลยี ส๕.๒ ม.๑/๑ ๓ ส๕.๒ ม.๑/๒ สินค้าและประชากร ส๕.๒ ม.๑/๓ ๕ ๑ ๑๐ ภยั ธรรมชาตแิ ละการระวังภยั ส๕.๑ ม.๑/๓ ๒ ๑๐.๑ เชื่อมโยงสาเหตุและแนวทางป้องกนั ภยั ธรรมชาตแิ ละการระวงั ภยั ส๕.๒ ม.๑/๑ ๑๐.๒ ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงทางธรรมชาติ

๑๙ หน่วยที่ ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา (ชว่ั โมง) ๑๐.๓ ความรว่ มมอื ของประเทศต่างๆท่ีมผี ลตอ่ สิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ การเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ดั สอบกลางภาค สอบปลายภาค ส๕.๑ ม.๑/๒ ๒ รวม ๑ ๑ ๖๐

๒๐ โครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ า สังคมศกึ ษา รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๒ กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง/๑.๕.หน่วยกิต หน่วยท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา (ชว่ั โมง) การเรียนรู้/ตัวช้ีวดั ๑ หนา้ ทชี่ าวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ๕ ๑.๑ บำเพ็ญประโยชนต์ ่อศาสนสถานของศาสนาท่ีตนนบั ถอื ส๑.๒ ม.๑/๑ ๒ ๑.๒ อธิบายจรยิ วัตรของสาวก ส๑.๒ ม.๑/๒ ๓ ๒ วนั สำคญั ทางพระพทุ ธศาสนาและศาสนพิธี ๕ ๒.๑ พธิ กี รรมและปฏบิ ัติตนในศาสนพธิ พี ธิ ีกรรม ส๑.๒ ม.๑/๔ ๓ ๒.๒ ประวัติความสำคัญและปฏิบัติตนในวนั สำคญั ทางศาสนา ส๑.๒ ม.๑/๕ ๒ ๓ การบริหารจติ และเจริญปญั ญา ๔ ส๑.๑ ม.๑/๗ ๓.๑ การสวดมนต์ แผ่เมตตา ส๑.๑ ม.๑/๖ ๒ ๓.๒ บริหารจติ และเจริญปัญญาดว้ ยอานาปานสติ ๑ ๓.๓ การคิดแบบคุณคา่ แท้-คุณค่าเทยี มและวธิ ีคดิ คณุ โทษและทางออก ๒ ๑ ๔ ศาสนสมั พันธ์ ๕ ๔.๑ การปฏิบตั ติ นในศาสนพิธพี ิธีกรรม ส๑.๒ ม.๑/๔ ๓ ๔.๒ การปฏบิ ตั ติ นอยา่ งเหมาะสมตอ่ บุคคลต่างๆตามหลักศาสนาท่ีตนนบั ถือ ส๑.๒ ม.๑/๓ ๒ ๕ บทบาทและหนา้ ทข่ี องเยาวชน ทีม่ ีตอ่ สังคมและประเทศชาติ ๕ ๓ ๕.๑ บทบาทและหนา้ ท่ีของเยาวชนท่ีมีต่อสังคมและประเทศชาติ ส๒.๑ ม.๑/๒ ๒ ส๒.๑ ม.๑/๔ ๕.๒ คุณคา่ ทางวัฒนธรรม ส๒.๑ ม.๑/๓ ๒ ๕.๓ แสดงออกถงึ การเคารพในสทิ ธเิ สรภี าพของตนเองและผอู้ ืน่ ส๑.๑ ม.๑/๔ ๑ ๖ รัฐธรรมนูญกบั การเมืองการปกครองของไทย ๕ ๖.๑ หลกั การเจตนารมณโ์ ครงสร้างและสาระสำคญั ของรัฐธรรมนญู แหง่ ๓ ๒ ส๒.๒ ม.๑/๑ ราชอาณาจักรไทยฉบบั ปัจจบุ นั ๒ ๖.๒ บทบาทการถ่วงดุลอำนาจอธปิ ไตยในรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย ส๒.๒ ม.๑/๒ ฉบบั ปจั จบุ นั นติ บิ ัญญตั ิ บริหาร ตลุ าการ

๒๑ หนว่ ยท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา (ชว่ั โมง) การเรียนร้/ู ตัวชี้วัด ๖.๓ ปฏบิ ตั ิตนตามบทบญั ญัติของรัฐธรรมนูญแหง่ อาณาจกั รไทยฉบับปจั จบุ นั ส๒.๒ ม.๑/๓ ๑ ๗ กฎหมายค้มุ ครองสิทธิของบคุ คล ๕ ๗.๑ กฎหมายในการคมุ้ ครองสิทธิของบุคคล ส๒.๑ ม.๑/๑ ๔ ๑.๑ กฎหมายคมุ้ ครองเด็ก ๑.๒ กฎหมายการศึกษา ๑.๓ กฎหมายคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค ๑.๔ กฎหมายลขิ สิทธ์ิ ๗.๒ ประโยชนข์ องการปฏิบัติตนตามกฎหมายคมุ้ ครองสิทธขิ องบุคคล ๑ ๘ วฒั นธรรมไทยและวฒั นธรรมของประเทศเพ่อื นบา้ น ๓ ๘.๑ พัฒนาการทางสังคมเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศต่างๆ ในภูมิภาค ส๔.๒ ม.๑/๑ ๒ เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ๑ ๕ ๘.๒ ความสำคญั ของแหลง่ อารยธรรมในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ส๔.๒ ม.๑/๒ ๙ เศรษฐศาสตรเ์ บ้ืองตน้ ๙.๑ ความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ ส๓.๑ ม.๑/๑ ๒ ๙.๒ ค่านิยมและพฤติกรรมการบรโิ ภคของคนในสงั คม ส๓.๑ ม.๑/๒ ๒ ๙.๓ อปุ สงค์และอปุ ทาน ส๓.๒ ม.๑/๓ ๑ ๑๐ สถาบันการเงนิ ๔ ๑๐.๑ สถาบนั การเงนิ แตล่ ะประเภทและธนาคารกลาง ส๓.๒ ม.๑/๑ ๒ ๒ ๑๐.๒ บทบาทหน้าทแี่ ละความแตกต่างของสถาบันการเงนิ แต่ละประเภทและ ธนาคารกลาง ๓ ๑๑ เศรษฐกจิ ประเทศไทย ๑๑.๑ การพงึ่ พาอาศยั และการแข่งขันทางเศรษฐกจิ ในประเทศ ส๓.๒ ม.๑/๒ ๒ ๑๑.๒ กฎหมายเก่ียวกับทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา ส๓.๒ ม.๑/๔ ๑ ๑๒ เศรษฐกิจพอเพียง ๔ ๑๒.๑ ความเปน็ มาของหลักการ ส๓.๑ ม.๑/๓ ๒ ๑๒.๒ ความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒ ๑ สอบกลางภาค ๑ สอบปลายภาค

๒๒ หน่วยท่ี ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน เวลา (ชัว่ โมง) การเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด รวม ๖๐

๒๓

๒๔ แผนการจดั การเรยี นรู้ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวชิ าสังคมศกึ ษา ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๙ เร่ือง เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เวลา ๕ ชว่ั โมง ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ พอเพียงเพื่อการดำรงชวี ิตอย่างมีดลุ ยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็นของการร่วมมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก ตัวชีว้ ดั ส ๓.๑ ม.๑/๑ อธิบายความหมายและความสำคญั ของเศรษฐศาสตร์ ส ๓.๑ ม.๑/๒ วิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อ เศรษฐกิจของชมุ ชนและประเทศ ส ๓.๒ ม.๑/๓ ระบุปจั จัยทีม่ อี ิทธิพลตอ่ การกำหนดอปุ สงคแ์ ละอุปทานจุดประสงค์การเรียนรู้ ๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรดู้ ้านความรู้ (K) - นักเรยี นสามารถอธบิ ายความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ได้อยา่ งถกู ต้อง - นักเรียนสามารถอธิบายค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อ เศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้อยา่ งถูกต้อง - นักเรียนสามารถเชื่อมโยงและเปรียบเทียบวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของ คนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกจิ ของชุมชนและประเทศไดอ้ ยา่ งเหมาะสม - นกั เรยี นสามารถอธบิ ายปัจจยั ที่มอี ทิ ธพิ ลต่อการกำหนดอุปสงคแ์ ละอปุ ทานได้อยา่ งถกู ต้อง - นักเรียนสามารถเชื่อมโยงและเปรียบเทียบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดอุปสงค์และ อปุ ทานได้อยา่ งถกู ตอ้ ง - นกั เรียนสามารถสรปุ ปจั จยั ที่มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การกำหนดอุปสงคแ์ ละอุปทานได้

๒๕ ดา้ นทักษะ (P) - นักเรยี นสามารถนำเสนอความหมายและความสำคญั ของเศรษฐศาสตร์ได้ - นักเรียนสามารถค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในเจ้งคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจ ของชมุ ชนและประเทศ - นกั เรียนอภิปรายปัจจัยท่ีมอี ทิ ธิพลตอ่ การกำหนดอุปสงคแ์ ละอุปทาน ดา้ นจิตพิสยั (A) - นกั เรียนเล็งเห็นถึงความสำคัญของความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ - นักเรียนเห็นประโยชน์ของการวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคม ซึ่งส่งผลตอ่ เศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ - นักเรียนเห็นคุณค่าและเห็นประโยชน์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดอุปสงค์และ อุปทาน ๓. สาระสำคัญ เศรษฐศาสตร์ หมายถึง ความสำคัญทั้งในระดับบุคคลและครัวเรือน ระดับผู้ผลิต และ ระดับประเทศ ดังนั้นทุก คนจึงควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับขอบข่ายและเป้าหมายของวิชา เศรษฐศาสตร์ ปัจจัยทมี่ ีอทิ ธิพลตอ่ ค่านิยมและพฤติกรรมการบรโิ ภคของคนในสงั คมปจั จบุ นั มีหลายประการ ซ่งึ มีผล ตอ่ เศรษฐกจิ ของชุมชนและประเทศ คา่ นิยมและพฤตกิ รรมการบรโิ ภคของคนในสังคม มคี วามสัมพนั ธ์กับกฎอุปสงค์ อปุ ทาน ๔. สาระการเรยี นรู้ ๑. อธบิ ายความหมายและความสำคญั ของเศรษฐศาสตรเ์ บื้องต้น ๒. นำเสนอความหมายและความสำคญั ของเศรษฐศาสตร์ได้ ๓. นำเสนอความหมายของคำว่าทรัพยากรมีจำกัด กับความต้องการมีไม่จำกัด ความขาด แคลน การเลือกและค่าเสียโอกาส ๔. อธบิ ายความหมายและความสำคญั ของการบริโภคอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๕. อธิบายหลักการในการบริโภคทดี่ ี ๖. เชื่อมโยงและเปรียบเทียบปัจจยั ทม่ี อี ิทธพิ ลตอ่ พฤติกรรมการบรโิ ภค

๒๖ ๗. ค่านิยมและพฤติกรรมของการบริโภคของคนในสังคมปัจจุบันรวมทั้งผลดีและผลเสียของ พฤตกิ รรมดงั กล่าว ๘. อธิบายความหมายและกฎอุปสงค์ อุปทาน ๙. เชอื่ มโยง เปรียบเทยี บและสรปุ ปัจจยั ที่มอี ทิ ธิพลตอ่ การกำหนดอุปสงค์และอปุ ทาน ๑๐. อภิปรายปัจจยั ที่มอี ิทธิพลต่อการกำหนดอุปสงค์และอุปทาน ๕. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น (เฉพาะทเี่ กดิ ในหนว่ ยการเรียนรู้นี้)  ความสามารถในการสื่อสาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแก้ปญั หา  ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๖. ทกั ษะของผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ 21 (3R 8C + 2L) (จุดเนน้ สู่การพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน)  ทักษะการอ่าน (Reading)  ทักษะการ เขยี น (Writing)  ทักษะการ คิดคำนวณ (Arithmetic)  ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking and problem solving)  ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and innovation)  ทักษะดา้ นความรว่ มมอื การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration , teamwork and leadership)  ทักษะดา้ นความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural understanding)  ทักษะดา้ น การสื่อสาร สารสนเทศ และรูเ้ ท่าทันสื่อ (Communication information and media literacy)  ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (Computing)  ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change)  ทักษะการเปลยี่ นแปลง (Change)  ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Skills)  ภาวะผู้นำ (Leadership)

๒๗ ๗. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ( หลกั ฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ) - ใบงาน - แบบทดสอบเกบ็ คะแนน - รายงานสำรวจ ๘. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ชวั่ โมงท่ี ๑-๒ (ใชร้ ปู แบบการเรยี นรู้ รปู แบบซปิ ปา) ขัน้ ท่ี ๑ ทบทวนความรู้เดมิ ๑. ครูให้นักเรียนดูภาพกิจกรรมด้านเศรษฐกิจกับการดำรงชีวิต เช่น การซื้อขายในตลาดสด ห้างสรรพสินค้าการประกอบอาชพี ตา่ ง ๆ ฯลฯ แลว้ ตอบคำถามดังน้ี - กิจกรรมในแต่ละภาพสง่ ผลดตี ่อเศรษฐกจิ ของประเทศอย่างไร - กจิ กรรมในภาพใดมคี วามสัมพันธก์ นั พร้อมท้งั อธิบายเหตผุ ล ๒. ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่ากิจกรรมต่าง ๆ ในภาพนั้นแสดงถึงวิถีการดำเนิน ชีวิตของมนุษย์ทางด้านเศรษฐกิจทั้งในระดับครัวเรือนระดับผู้ผลิตและระดับประเทศ ซึ่งส่งผลต่อ สภาพเศรษฐกจิ ของประเทศ ขน้ั ท่ี ๒ แสวงหาความรู้ใหม่ ๑. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มกลุ่มละ ๔ คนคละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลาง ค่อนข้างเก่ง ปานกลาง ค่อนข้างอ่อนและอ่อน และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมมือกันศึกษาความรู้ พ้ืนฐานเก่ยี วกับเศรษฐศาสตร์จากหนงั สือเรียน หนงั สอื ค้นคว้าเพิ่มเติมและแหล่งข้อมลู สารสนเทศ ใน หัวข้อต่อไปนี้ ๑) ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ ๒) ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ในระดับบุคคลและครัวเรือนระดับผู้ผลิตและ ระดบั ประเทศ ข้ันที่ ๓ ศกึ ษาทำความเขา้ ใจข้อมูล / ความรู้ใหม่และเชอ่ื มโยงความรู้ใหมก่ บั ความรเู้ ดิม ๑. สมาชิกแต่ละคนร่วมกันอภิปรายความรู้ที่ตนได้ไปศึกษามาให้สมาชิกคนอื่น ๆ ในกลุ่มฟัง จนมคี วามเขา้ ใจท่ีชัดเจน ๒. สมาชิกในกลมุ่ จับคู่กันเป็น ๒ คใู่ หแ้ ต่ละคูร่ ่วมมอื กนั ทำใบงานที่ ๑ เร่อื ง เศรษฐศาสตร์กับ การดำรงชีวิตโดยนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าและความรู้เดิมมาเป็นพื้นฐาน ในการทำชั่วโมง ท่ี ๒

๒๘ ขน้ั ที่ ๔ แลกเปล่ยี นความรคู้ วามเขา้ ใจกับกลุ่ม ๑. สมาชิกแต่ละคู่ผลัดกันอธิบายคำตอบในใบงานที่ ๑ ให้สมาชิกอีกคู่หนึ่งภายในกลุ่มฟังถ้า ในกรณีท่สี มาชิกมคี วามสงสยั ให้ชว่ ยกนั อธบิ ายหรอื ถามครจู นมีความเขา้ ใจทช่ี ดั เจน ๒. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันเฉลยคำตอบในใบงานที่ ๑ ขน้ั ที่ ๕ สรุปและจดั ระเบยี บความรู้ สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันสรุปขอบข่ายและเป้าหมายในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์แล้ว เขียนเปน็ บทสรุปโดยใชส้ ำนวนของตนเองหรอื เขยี นเป็นผังมโนทัศน์ ขนั้ ท่ี ๖ ปฏบิ ตั แิ ละ / หรือแสดงผลงาน ตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียนโดยมีครูเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้องและเสนอแนะ เพิ่มเติม ขั้นที่ ๗ ประยกุ ต์ใช้ความรู้ ครูให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นว่านักเรียนจะสามารถนำความรู้เกี่ยวกับเป้าหมาย ของวิชาเศรษฐศาสตร์ไปเป็นแนวทางการประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน ชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ งไรบา้ งโดยครเู ปน็ ผเู้ สริมเพิ่มเติม และครูได้มอบหมายงานใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่ม หาสือ่ โฆษณาในชีวิตประจำวันมาในชั่วโมงถัดไป ชว่ั โมงท่ี ๓-๔ (ใชร้ ูปแบบการเรียนรู้ รปู แบบซิปปา) ขั้นที่ ๑ ทบทวนความรูเ้ ดมิ ๑. จากชั่วโมงที่ ๒ ครูได้มอบหมายงานให้นักเรียนแต่ละกลุ่มหาสื่อโฆษณาในชีวิตประจำวัน ทั้งจากสื่อรายการโทรทัศน์ สื่อวิทยุ สื่อป้ายสื่อโฆษณาและสื่อหนังสือพิมพ์ เพื่อให้นักเรียนวิเคราะห์ และตอบคำถามตอ่ ไปนี้ - ถ้าให้นักเรียนซื้อสินค้าดังกล่าวนักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออย่างไรอธิบายเหตุผล นักเรียนคดิ วา่ สนิ ค้าในขา่ วมีความจำเป็นต่อการดำรงชวี ิตของนกั เรยี นหรือไม่อธบิ ายเหตุผล - ครูอธบิ ายเช่ือมโยงให้นกั เรียนเขา้ ใจถึงปัจจัยที่มอี ทิ ธิพลต่อการบรโิ ภคชวั่ โมงที่ ๔ ข้ันท่ี ๒ แสวงหาความรใู้ หม่ ๑. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มกลุ่มละ ๔ คน ตามกลุ่มเดิมในชั่วโมงที่ ๑ (ซึ่งใช้วิธีการคละกัน ตามความสามารถ) ให้นักเรยี นแต่ละกล่มุ ร่วมมือกันศึกษาความรู้พื้นฐานในหัวข้อต่อไปนี้ ๑) อธิบายความหมายและความสำคญั ของการบรโิ ภคอย่างมีประสิทธภิ าพ ๒) อธิบายหลกั การในการบริโภคทีด่ ี

๒๙ ขน้ั ท่ี ๓ ศกึ ษาทำความเข้าใจข้อมูล / ความรใู้ หม่และเช่ือมโยงความรใู้ หมก่ ับความรเู้ ดมิ นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมมือกันศึกษาความรู้เรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภค ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมปัจจุบันและผลดีผลเสียของพฤติกรรมดังกล่าวจาก หนงั สือเรียนและหอ้ งสมุด ขนั้ ที่ ๔ แลกเปล่ียนความรคู้ วามเข้าใจกบั กล่มุ ๑. สมาชกิ แต่ละกลุ่มจับค่กู ันเปน็ ๒ คใู่ ห้แตล่ ะคู่ช่วยกนั ทำใบงาน ดังนี้ คูท่ ี่ ๑ ทำใบงานที่ ๒ เรอื่ งปัจจัยทม่ี อี ิทธพิ ลตอ่ การบริโภค คทู่ ี่ ๒ ทำใบงานท่ี ๓ เร่ืองพฤตกิ รรมผู้บรโิ ภค ๒. สมาชิกแต่ละคู่ผลัดกันอธิบายผลงานในใบงานที่คู่ของตนรับผิดชอบช่วยกันเสริมเพิ่มเติม และตรวจสอบความถูกตอ้ ง ๓. ครแู ละนักเรยี นช่วยกันเฉลยคำตอบในใบงานท่ี ๔ และ ๕ ขน้ั ที่ ๕ สรปุ และจดั ระเบยี บความรู้ ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคค่านิยมและพฤติกรรม การบริโภคของคนในสังคมปัจจุบันรวมทง้ั ผลดแี ละผลเสียของพฤติกรรมดังกลา่ ว ขนั้ ท่ี ๖ ปฏบิ ตั ิและ / หรือแสดงผลงาน ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนโดยมีครเู ปน็ ผู้ตรวจสอบความถกู ต้องและเสนอแนะ เพม่ิ เตมิ ข้นั ที่ ๗ ประยุกต์ใช้ความรู้ ครูให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นว่านักเรียนจะสามารถนำความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรม การบริโภคค่านิยมเป็นแนวทางการประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการเลือกซื้อสินค้าอุปโภคและ บรโิ ภคในชีวิตประจำวนั ได้อย่างไรบา้ งโดยครูเป็นผเู้ สริมเพม่ิ เติม ชั่วโมงท่ี ๕ (ใช้รูปแบบการเรียนรู้ รูปแบบซปิ ปา) ขั้นที่ ๑ ขั้นท่ี ๑ ทบทวนความรูเ้ ดมิ ๑. ครนู ำภาพสินคา้ ประเภทตา่ งๆที่พ่อคา้ แม่คา้ มาวางกองขายพรอ้ มมีประกาศลดราคาสินค้า มีประชาชนไปซื้อกันจำนวนมากมาให้นักเรยี นดู ๒. ครูให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพโดยการตอบคำถามต่อไปน้ี ทำไม ประชาชนหรือผู้บริโภคจึงพากันไปซื้อสินค้าจำนวนมาก ถ้านักเรียนเห็นสินค้าลดราคามากกว่าเดิม นักเรยี นจะไปซอื้ หรือไม่อธบิ ายเหตผุ ล

๓๐ ขน้ั ท่ี ๒ แสวงหาความรใู้ หม่ ครอู ธบิ ายเชอ่ื มโยงใหน้ กั เรียนเขา้ ใจว่าถ้าราคาสินค้าต่ำผู้บรโิ ภคจะซ้อื สินคา้ นน้ั มากขน้ึ แต่ถ้า ราคาสินคา้ สงู ผู้บริโภคจะซอื้ สินค้านนั้ น้อยลงซึ่งเปน็ ไปตามกฏอปุ สงค์อุปทาน ขั้นท่ี ๓ ศึกษาทำความเขา้ ใจขอ้ มลู / ความรู้ใหมแ่ ละเช่ือมโยงความร้ใู หมก่ บั ความรู้เดมิ นักเรียนแบ่งกล่มุ ร่วมกันศกึ ษาความรู้ เรื่อง อุปสงคอ์ ุปทาน จากหนงั สอื เรียนในหัวข้อต่อไปน้ี ๑) กฎของอุปสงค์ ๒) ปัจจยั ที่มีอทิ ธพิ ลตอ่ การกำหนดอปุ สงค์ ๓) กฏของอปุ ทาน ๔) ปจั จัยทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อการกำหนดอปุ ทาน ขน้ั ที่ ๔ แลกเปลีย่ นความรู้ความเข้าใจกับกล่มุ ๑. สมาชิกแต่ละคนนำความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการศึกษามาอภิปรายประเดน็ สำคญั ร่วมกันในกลมุ่ ๒. สมาชิกแต่ละกลุ่มนำความรู้ที่ได้จากการศึกษามาเป็นพื้นฐานในการตอบคำถามในใบงานที่ ๔ เร่อื งอุปสงค์ อุปทาน ๓. นักเรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มมือกนั ทำใบงานท่ี ๕ ขั้นท่ี ๕ สรปุ และจดั ระเบยี บความรู้ ๑. นักเรยี นและครูช่วยกันเฉลยคำตอบในใบงานที่ ๔ และ ๕ ๒. นักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับกฎของอุปสงค์กฎของอุปทานปัจจัยที่มีผลต่อการ กำหนดอปุ สงค์อปุ ทาน ข้นั ท่ี ๖ ปฏบิ ตั ิและ / หรอื แสดงผลงาน ตัวแทนกล่มุ นำเสนอผลงานหน้าช้นั เรียนโดยมีครูเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้องและเสนอแนะ เพม่ิ เติม ขั้นท่ี ๗ ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันแสดงความคิดเหน็ เร่ืองการกำหนดอุปสงคอ์ ุปทานซึ่งเป็นการ นำความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์อุปทานมาเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์เพื่อขยายความรู้ความเข้าใจ ว่า นักเรียนจะสามารถนำความรู้เกี่ยวกับกฎอุปสงค์และอุปทาน ไปการประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ใน การเลอื กซอ้ื สินค้าอุปโภคและบริโภคในชวี ติ ประจำวันไดอ้ ย่างไรบ้างโดยครเู ป็นผเู้ สรมิ เพิ่มเติม

๓๑ ๙. สอื่ การสอน ๑. สือ่ การสอนในรปู แบบ “power point” ๒. ภาพกิจกรรมด้านเศรษฐกจิ กับการดำรงชวี ติ และภาพสนิ ค้าประเภทต่าง ๆ ๓. หนังสือเรียน ๔. สื่อโฆษณาในชีวติ ประจำวัน ไดแ้ ก่ สื่อรายการโทรทัศน์ ส่ือวทิ ยุ สอ่ื ปา้ ยส่ือโฆษณาและส่ือ หนังสือพมิ พ์ ๕. ใบงาน ๑๐. แหลง่ เรยี นรู้ในหรอื นอกสถานท่ี สือ่ สารสนเทศและหอ้ งสมุด

๓๒ ๑๑. การวดั และประเมินผล ชิน้ งาน /ภาระงาน วิธีวัด เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ ารให้ เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน ๑.ใบงานที่ ๑ เรอ่ื ง ตรวจใบงานท่ี ๑ ใบงาน ตอบคำถาม คะแนน๑๖-๒๐ =ดมี าก เศรษฐศาสตร์กับการ ดำรงชวี ติ ตอบถูกต้องตามใบ คะแนน๑๑-๑๕ =ดี งานทีท่ ำ คะแนน๖-๑๐ =พอใช้ คะแนน๐-๕ =ปรับปรุง ผ่านเกณฑใ์ นระดบั ดขี ้ึนไป ๒.ใบงานที่ ๒ เร่อื งปจั จัย ตรวจใบงานที่ ๒ ใบงาน ตอบคำถาม คะแนน๑๖-๒๐ =ดมี าก ท่ีมผี ลต่อการบรโิ ภค ตอบถกู ตอ้ งตามใบ คะแนน๑๑-๑๕ =ดี งานทท่ี ำ คะแนน๖-๑๐ =พอใช้ คะแนน๐-๕ =ปรับปรุง ผ่านเกณฑ์ในระดับดขี ้นึ ไป ๓.ใบงานที่ ๓เร่ือง ตรวจใบงานท่ี ๓ ใบงาน ตอบคำถาม คะแนน๑๖-๒๐ =ดีมาก พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภค ตอบถกู ตอ้ งตามใบ คะแนน๑๑-๑๕ =ดี งานท่ที ำ คะแนน๖-๑๐ =พอใช้ คะแนน๐-๕ =ปรับปรุง ผ่านเกณฑใ์ นระดบั ดีขนึ้ ไป ๔.ใบงานท่ี ๔ เร่ืองอปุ ตรวจใบงานที่ ๔ ใบงาน ตอบคำถาม คะแนน๑๖-๒๐ =ดีมาก สงค์ อุปทาน ตอบถูกต้องตามใบ คะแนน๑๑-๑๕ =ดี งานทที่ ำ คะแนน๖-๑๐ =พอใช้ คะแนน๐-๕ =ปรับปรุง ผา่ นเกณฑ์ในระดบั ดีขึน้ ไป

๓๓ ชนิ้ งาน /ภาระงาน วธิ วี ดั เครื่องมอื วดั เกณฑ์การให้ เกณฑ์การประเมิน ตรวจใบงานท่ี ๕ ใบงาน ๕.ใบงานท่ี ๕ เรือ่ ง คะแนน การกำหนดอุปสงค์ อุปทาน ตอบคำถาม คะแนน๑๖-๒๐ =ดีมาก ตอบถูกตอ้ งตามใบ คะแนน๑๑-๑๕ =ดี งานท่ที ำ คะแนน๖-๑๐ =พอใช้ คะแนน๐-๕ =ปรบั ปรุง ผา่ นเกณฑใ์ นระดบั ดขี นึ้ ไป

๓๔ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ ีวัด เคร่ืองมอื วัด เกณฑ์การให้ เกณฑ์การประเมิน หรอื สิง่ ที่ตอ้ งการจะ คะแนน ประเมิน ๑.ตอบคำถามภาพจาก สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑต์ งั้ แตร่ ะดับดขี ้นึ หวั ขอ้ ที่ครูกำหนดให้ พฤติกรรมการ คะแนนพฤตกิ รรม ไป ทำงานรายบคุ คล การเรียนรู้ ๒.นักเรียนแต่ละกลุ่ม สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต ตารางเกณฑ์การให้ ผ่านเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดบั ดขี ึ้น ศึกษาความรูพ้ ืน้ ฐาน พฤตกิ รรมการ คะแนนพฤติกรรม ไป เกยี่ วกับเศรษฐศาสตรจ์ าก ทำงานกลมุ่ การปฏบิ ัติงาน หนงั สอื เรียน ๓.สามารถนำความรู้ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมนิ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดบั ดีขึ้น เกีย่ วกับเปา้ หมายของวชิ า คณุ ลักษณะอันพงึ คะแนนพฤติกรรม ไป เศรษฐศาสตร์ไปเปน็ แนว ประสงค์ การเรยี นรู้ ทางการประยุกต์ใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ๔. นกั เรยี นสามารถ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกต ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑต์ งั้ แตร่ ะดบั ดขี ้ึน วิเคราะห์ส่อื โฆษณาจาก พฤตกิ รรมการ คะแนนพฤตกิ รรม ไป คำถามท่กี ำหนด ทำงานรายบุคคล การเรยี นรู้ ๕.นักเรียนร่วมมือกัน สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกต แบบสังเกต ผ่านเกณฑต์ ง้ั แต่ระดับดขี ึ้น ศกึ ษาหาความร้พู ืน้ ฐาน พฤตกิ รรมการ พฤติกรรมการ ไป ความหมายละความสำคัญ ทำงานกล่มุ ทำงานกลุม่ ของการบรโิ ภค

๓๕ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีวดั เคร่ืองมือวัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน หรอื สงิ่ ท่ีต้องการจะ ประเมนิ ๖.นกั เรยี นสามารถสรปุ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดับดีขึน้ คะแนนพฤตกิ รรม ไป ผลดแี ละผลเสยี จากปจั จัย พฤตกิ รรมการ การเรียนรู้ ท่มี ีผลตอ่ พฤติกรรมการ ทำงานรายบคุ คล บรโิ ภค ๗.นกั เรียนแสดงความ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดับดีขึ้น คะแนนพฤติกรรม ไป คดิ เหน็ เกี่ยวกบั ภาพที่ พฤติกรรมการ การเรยี นรู้ กำหนดให้ ทำงานรายบุคคล ๘.นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กนั สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต แบบสงั เกต ผา่ นเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดับดีขนึ้ ศึกษาหาความรูเ้ กีย่ วกับ สงั เกตพฤติกรรม พฤติกรรมการ พฤติกรรมการ ไป กฎของอปุ สงคแ์ ละกฎ ทำงานกล่มุ ทำงานกลุ่ม อปุ ทานอันเปน็ ปัจจยั ตอ่ ผ่านเกณฑต์ ั้งแต่ระดบั ดีขึ้น การกำหนดอุปสงค์ แบบสังเกต แบบสังเกต ไป อุปทาน พฤติกรรมการ พฤติกรรมการ ๙.นกั เรียนชว่ ยกนั ตอบ ทำงานกลมุ่ ทำงานกลุ่ม คำถามเก่ยี วกับการ ประยุกตใ์ ช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ในการเลือกซ้ือ สนิ ค้าอปุ โภคและบรโิ ภค ในชีวิตประจำวนั ได้

๓๖ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน วธิ วี ดั เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารให้ เกณฑ์การประเมิน คะแนน ๑.ความสามารถในการ สงั เกต แบบสังเกต ผ่านเกณฑต์ ัง้ แต่ระดบั ปาน สอื่ สาร พฤตกิ รรมการ ตารางใหค้ ะแนน กลางข้ึนไป ทำงานรายบุคคล สมรรถนะสำคญั ๒.ความสามารถในการคดิ สงั เกต แบบประเมนิ ใบ ผูเ้ รยี น ผา่ นเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดับปาน งาน ตารางใหค้ ะแนน กลางขน้ึ ไป ๓.ความสามารถในการ สังเกต สมรรถนะสำคญั แก้ปัญหา แบบสงั เกต ผู้เรียน ผ่านเกณฑต์ ั้งแต่ระดับปาน พฤติกรรมการ ตารางให้คะแนน กลางขึน้ ไป ๔.ความสามารถในการใช้ สงั เกต ทำงานรายบุคคล สมรรถนะสำคญั ทกั ษะชวี ิต แบบสงั เกต ผ้เู รียน ผ่านเกณฑต์ ัง้ แต่ระดบั ปาน พฤตกิ รรมการ ตารางใหค้ ะแนน กลางข้นึ ไป ๕.ความสามารถในการใช้ สังเกต ทำงานรายบุคคล สมรรถนะสำคญั เทคโนโลยี แบบสังเกต ผเู้ รยี น ผ่านเกณฑต์ ั้งแตร่ ะดบั ปาน พฤติกรรมการ ตารางให้คะแนน กลางขน้ึ ไป ทำงานรายบคุ คล สมรรถนะสำคญั ผเู้ รียน

๓๗ ทักษะของผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี วิธีวดั เครอื่ งมอื วัด เกณฑ์การให้ เกณฑก์ ารประเมนิ ๒๑ แบบประเมินด้าน คะแนน ๑.ทักษะการอา่ น(Reading) สงั เกต ทกั ษะและ กระบวนการ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑ์ตงั้ แตร่ ะดบั ปาน แบบประเมนิ ดา้ น คะแนนทกั ษะของ กลางขนึ้ ไป ทกั ษะและ กระบวนการ ผเู้ รียนในศตวรรษ แบบประเมินดา้ น ท๒่ี ๑ ทักษะและ ๒.ทกั ษะการเขียน(Writing) สงั เกต กระบวนการ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑต์ ง้ั แตร่ ะดบั ปาน แบบประเมินด้าน คะแนนทกั ษะของ กลางข้นึ ไป ทักษะและ กระบวนการ ผูเ้ รียนในศตวรรษ แบบประเมินด้าน ท๒่ี ๑ ทักษะและ ๓.ทักษะด้านการคดิ อยา่ งมี สงั เกต กระบวนการ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑ์ตั้งแต่ระดบั ปาน วิจารณญาณและทักษะในการ แก้ปัญหา (Critical thinking คะแนนทักษะของ กลางขึ้นไป and problem solving) ๔.ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ สังเกต ผู้เรียนในศตวรรษ และนวัตกรรม (Creativity and innovation) ที่๒๑ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑ์ตง้ั แต่ระดบั ปาน คะแนนทกั ษะของ กลางขึน้ ไป ผู้เรยี นในศตวรรษ ที่๒๑ ๕.ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ สงั เกต ตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑ์ตงั้ แต่ระดบั ปาน การทำงานเปน็ ทมี และภาวะ สงั เกต ผูน้ ำ(Collaboration, คะแนนทักษะของ กลางขึ้นไป teamwork and leadership) ผู้เรยี นในศตวรรษ ๖.ทักษะด้านการสอื่ สาร สารสนเทศและรูเ้ ท่าทันสือ่ ที่๒๑ (Communication information and แบบประเมินดา้ น ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑต์ ง้ั แต่ระดบั ปาน media literacy) ทักษะและ คะแนนทกั ษะของ กลางขึ้นไป กระบวนการ ผเู้ รียนในศตวรรษ ท๒ี่ ๑

๓๘ ทกั ษะของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ วิธวี ดั เครอื่ งมอื วดั เกณฑ์การให้ เกณฑ์การประเมิน ๒๑ แบบประเมินดา้ น คะแนน ๗.ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ สงั เกต ทกั ษะและ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและ กระบวนการ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑต์ งั้ แต่ระดบั ปาน การสอ่ื สาร(Computing) แบบประเมนิ ด้าน คะแนนทักษะของ กลางขึ้นไป ๘.ทักษะการเรียนรู้ (Learning สังเกต ทักษะและ Skills) กระบวนการ ผู้เรียนในศตวรรษ ๙.ภาวะผนู้ ำ (Leadership) สงั เกต แบบประเมนิ ดา้ น ท่๒ี ๑ ทกั ษะและ กระบวนการ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ระดับปาน คะแนนทักษะของ กลางขนึ้ ไป ผ้เู รียนในศตวรรษ ท่ี๒๑ ตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑต์ ัง้ แต่ระดบั ปาน คะแนนทกั ษะของ กลางขน้ึ ไป ผู้เรียนในศตวรรษ ที่๒๑ ๑๒. กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ๑๓. บนั ทกึ ผลหลังการสอน สรปุ ผลการเรยี นการสอน นกั เรียนทงั้ หมดจำนวน.....................คน

๓๙ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ขอ้ ที่ จำนวนนกั เรียนที่ผา่ น จำนวนนกั เรยี นทไี่ มผ่ า่ น 1 จำนวนคน ร้อยละ จำนวนคน ร้อยละ 2 3 ๑๔. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ๑๕. ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ลงช่อื ........................................................................ () ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ....................................... ลงช่อื ................................................................ หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ () ลงชื่อ.......................................................... รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ (………………………………………..)

๔๐ ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศึกษา ไดท้ ำการตรวจแผนการเรยี นรู้ของ....................................................แล้วมคี วามคิดเห็นดังนี้ ๑. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง ๒. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้  เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม  ยังไม่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป ๓. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ ................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................... ลงชอ่ื ............................................................................................... ( ………………………………………………… ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น………………………………………………………….

๔๑

๔๒

๔๓

๔๔

๔๕

๔๖