ประกันสังคม มาตรา 39 ขาดส่ง 2564

ประกันสังคม เตือนผู้ประกันตนมาตรา 39 ขาดส่งสิทธิระวังจะสิ้นสภาพการเป็น ม.39 เช็กรายละเอียดเลยขาดส่งเงินสมทบไม่เกินเท่าไหร่ถึงจะยังได้สิทธิ์อยู่

ประกันสังคม เตือนผู้ประกันตนมาตรา 39 ไม่อยากสิ้นสภาพอย่าพลาด ขาดส่ง ขาดสิทธิ์ เพราะหาก ขาดส่ง เงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือ ส่งไม่ครบ 9 เดือน ภายในระยะเวลา 12 เดือน (1ปี) ก็หมดสิทธิ์ในการเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ทันที

นอกจากนี้ ประกันสังคมยังระบุว่า หากไม่อยากเสียสิทธิ์ แต่ขี้ลืมสุดๆ ไม่รู้จะทำยังไง ให้เราช่วยเตือนสิ แค่ลงทะเบียนเข้าสู่ระบบของผู้ประกันตนทาง Line สำนักงานประกันสังคม ทาง Rich Menu เพื่อรับการแจ้งเตือนกรณีค้างชำระการนำส่งเงินสมทบมาตรา 39 หรือ สะดวกกว่านั้น เพียงแค่ สมัครนำส่งเงินสมทบโดยหักผ่านบัญชีธนาคาร แค่นี้ก็เซฟสิทธิ์ได้แล้ว

สำหรับธนาคารที่เข้าร่วมการหักเงินสมทบผ่านบัญชีธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ,ธนาคารกรุงไทย ,ธนาคารกสิกรไทย, ธนาคารทหารไทยธนชาต , ธนาคารไทยพาณิชย์ ,ธนาคารกรุงเทพ เพียงเตรียมสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร และหนังสือยินยอมให้หักผ่านบัญชีเงินฝากธนาคาร (ถ้ามี) ติดต่อ สปส. ใกล้บ้านได้

ทั้งนี้ ผู้ประกันตนมาตรา 39 หมายถึงเป็นผู้ประกันตนโดยสมัครใจโดยมีคุณสมบัติและเงื่อนไข คือ เคยเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 มาก่อน ส่งเงินสมทบมากกว่า 12 เดือน ลาออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน โดยผู้ประกันตนมาตรา 39 ที่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนครบจะได้รับความคุ้มครอง ดังนี้

ผู้ประกันตนมาตรา 39 จะได้รับความคุ้มครอง ดังนี้

  1. กรณีเจ็บป่วย
  2. กรณีคลอดบุตร
  3. กรณีทุพพลภาพ
  4. กรณีตาย
  5. กรณีสงเคราะห์บุตร
  6. กรณีชราภาพ
  7. กรณีเสียชีวิต

โหลดเพิ่ม

ประกันสังคม มาตรา 39 ขาดส่ง 2564

แท็กที่เกี่ยวข้อง

ประกันสังคมผู้ประกันตนมาตรา 39ม 39ขาดส่งเงินสมทบสิ้นสภาพผู้ประกันตนมาตรา 39สิ้นสภาพ ม 39ข่าวเศรษฐกิจธุรกิจ

วันที่ 24 เม.ย.2562 นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน เปิดเผยถึงผลการดำเนินงานคืนสิทธิผู้ประกันตนมาตรา 39 ตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน 2561 จนถึงวันที่ 19 เมษายน 2562 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายของคืนสิทธิ ผลปรากฎว่า ผู้ประกันตนมาตรา 39 ที่สิ้นสภาพจากระบบประกันสังคมได้กลับเข้าสู่ระบบแล้วจำนวน 384,086 คน จากตัวเลขดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความต้องการของผู้ประกันตนมาตรา 39 ที่ให้ความสำคัญกับระบบประกันสังคมที่ช่วยดูแลและสร้างหลักประกันคุณภาพชีวิตที่ดีให้ ซึ่งเมื่อกลับเข้าสู่การเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ยังคงให้ความคุ้มครอง 6 กรณีเช่นเดิม คือ เจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ เสียชีวิต สงเคราะห์บุตร และชราภาพ เพียงจ่ายเงินสมทบจำนวน 432 บาทต่อเดือน

เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กล่าวย้ำว่า ขอให้ผู้ประกันตนที่กลับเข้าสู่ระบบแล้วคำนึงถึงสิทธิของตนเอง โดยให้ความสำคัญในการตรวจสอบการนำส่งเงินสมทบกับสำนักงานประกันสังคมอย่างสม่ำเสมอ และควรนำส่งเงินสมทบอย่างต่อเนื่อง หากขาดส่งเงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือภายในระยะเวลา 12 เดือน ส่งเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือน จะสิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตนทันที ทั้งนี้ ผู้ประกันตนสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ทั้ง 12 แห่ง/จังหวัด/สาขา/ ที่ท่านสะดวก หรือโทร.1506 (เจ้าหน้าที่ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.sso.go.th

ประกันสังคม มาตรา 39 ขาดส่ง 2564

สำหรับมาตรา 39 ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ระบุว่า

“ผู้ใดเคยเป็นผู้ประกันตนตาม มาตรา 33 โดยจ่ายเงินสมทบมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสิบสองเดือน และต่อมาความเป็นผู้ประกันตนได้สิ้นสุดลงตาม มาตรา 38 (2) ถ้าผู้นั้น ประสงค์จะเป็นผู้ประกันตนต่อไป ให้แสดงความจำนงต่อสำนักงานตามระเบียบที่เลขาธิการ กำหนดภายในหกเดือนนับแต่วันสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน

จำนวนเงินที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบที่ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่ง ต้องส่งเข้ากองทุนตาม มาตรา 46 วรรคสอง ให้เป็นไปตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้โดยให้คำนึงถึงความเหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจในขณะนั้นด้วย ให้ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งนำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนเดือนละครั้ง ภายในวันที่ สิบห้าของเดือนถัดไป

ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งซึ่งไม่ส่งเงินสมทบหรือส่งไม่ครบจำนวนภายในเวลา ที่กำหนดตามวรรคสาม ต้องจ่ายเงินเพิ่มในอัตราร้อยละสองต่อเดือนของจำนวนเงินสมทบที่ยังมิได้นำส่งหรือของจำนวนเงินสมทบที่ยังขาดอยู่นับแต่วันถัดจากวันที่ต้องนำส่งเงินสมทบ สำหรับเศษ ของเดือนถ้าถึงสิบห้าวัน หรือกว่านั้นให้นับเป็นหนึ่งเดือน ถ้าน้อยกว่านั้นให้ปัดทิ้ง”

เมื่อเป็นเช่นนี้ ย่อมเท่ากับบุคคลที่เคยเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 มาก่อน เมื่อได้สิ้นสุดความเป็นลูกจ้างของบริษัทที่เราเป็นลูกจ้าง ก็ทำให้ความเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 สิ้นสุดตามไปด้วย แต่ทั้งนี้ หากเรายังมีความประสงค์จะรักษาสถานภาพการเป็นผู้ประกันตนต่อก็สามารถทำได้ ด้วยการส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมเอง เพราะทางประกันสังคมต้องการเปิดโอกาสให้ทุกคนมีสิทธิประโยชน์ใกล้เคียงกับ ตามนโยบายพื้นฐานที่ว่าด้วยการเฉลี่ยความสุขและทุกข์

ประกันสังคม ผู้ประกัน ม.39 ไม่อยากสิ้นสภาพ ขาดสิทธิ์ เช็กเลย มีกรณีไหนที่จะทำให้หมดสิทธิ์ในการเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39

เกาะติด"ประกันสังคม" ผู้ประกันตนมาตรา 39 สมัครได้ ก็หมดสิทธิ์ในการเป็นผู้ประกัน ม.39 ได้

สำนักงานประกันสังคม ชี้ไม่อยากสิ้นสภาพ อย่าพลาด ขาดส่ง ขาดสิทธิ์  เพราะหากขาดส่ง เงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือส่งไม่ครบ 9 เดือน ภายในระยะเวลา 12 เดือน (1ปี) ก็หมดสิทธิ์ในการเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ทันที

ประกันสังคม มาตรา 39 ขาดส่ง 2564

ประกันสังคม แจ้งว่า ถ้าไม่อยากเสียสิทธิ์ แต่เป็นคนขี้ลืม แค่ลงทะเบียนเข้าสู่ระบบของผู้ประกันตนทาง Line สำนักงานประกันสังคม ทาง Rich Menu เพื่อรับการแจ้งเตือนกรณีค้างชำระการนำส่งเงินสมทบมาตรา 39  หรือ เพียงแค่ สมัครนำส่งเงินสมทบโดยหักผ่านบัญชีธนาคาร 
 

ธนาคารที่เข้าร่วมการหักเงินสมทบผ่านบัญชีธนาคาร ได้แก่  ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ,ธนาคารกรุงไทย ,ธนาคารกสิกรไทย, ธนาคารทหารไทยธนชาต , ธนาคารไทยพาณิชย์ ,ธนาคารกรุงเทพ เพียงเตรียมสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร และหนังสือยินยอมให้หักผ่านบัญชีเงินฝากธนาคาร (ถ้ามี)  ติดต่อ สปส.ใกล้บ้านได้

ประกันสังคมม.39ขาดส่งได้กี่วัน

📌ไม่อยากสิ้นสภาพ อย่าพลาด ขาดส่ง ขาดสิทธิ์! เพราะหากขาดส่ง เงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือส่งไม่ครบ 9 เดือน ภายในระยะเวลา 12 เดือน (1ปี) ก็หมดสิทธิ์ในการเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ทันที

ขาดส่งมาตรา 39 ต่อได้ไหม

ขาดส่งประกันสังคมมาตรา39 ประมาณ 5-6เดือน กลับมาส่งต่อได้ไหม | คำถามประกันสังคมจากทางบ้าน ตอบ : ไม่สามารถส่งประกันสังคมมาตรา 39 ได้ครับ เพราะหลุดจากมาตรา39แล้ว ต้องส่งมาตรา 40แทนครับ ขาดส่งประกันสังคมมาตรา39 ประมาณ 5-6เดือน กลับมาส่งต่อได้ไหม | คำถามประกันสังคมจากทางบ้าน ตอบ : ไม่สามารถส่งประกันสังคมมาตรา 39 ได้ครับ ...

ประกันสังคม ม39 จ่ายกี่บาท 2565

ผู้ประกันตนมาตรา 39 ปรับลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม จากเดิมในอัตราเดือนละ 432 บาทเป็นอัตราเดือนละ 240 บาท เพื่อลดภาระนายจ้างและผู้ประกันตนให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจและค่าครองชีพ

ม.40ขาดส่งกี่เดือน

โฆษกสำนักงานประกันสังคม เน้นย้ำว่า กรณีสมัครประกันสังคมมาตรา 40 ไว้ และไม่ได้จ่ายเงินสมทบอีกเลย สถานะยังคงเป็นผู้ประกันตน มาตรา 40 อยู่ แต่ขาดสิทธิรับเงินกรณีต่างๆ กรณีเช่นนี้ไม่จำเป็นต้องส่งย้อนหลัง แต่สามารถส่งเงินสมทบล่วงหน้าได้ 12 เดือน ส่วนวิธีป้องกันการลืมจ่ายเงินสมทบสามารถดำเนินการขอหักบัญชีธนาคารที่เข้าร่วม ...