วงจรมอเตอร์ 1 เฟส คาปาซิเตอร์

1. สปลิทเฟสมอเตอร์(Split phase motor)

มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าสลับชนิดเฟสเดียวแบบสปลิท

เฟสมอเตอร์มีขนาดแรงม้าขนาดตั้งแต่ 1/4 แรงม้า , 1/3 แรงม้า, 1/2

แรงม้าจะมีขนาดไม่เกิน 1 แรงม้าบางทีนิยมเรียกสปลิทเฟสมอเตอร์นี้

ว่า อินดักชั่นมอเตอร์( Induction motor) มอเตอร์ชนิดนี้นิยมใช้งาน

มากในตู้เย็น เครื่องสูบน้ าขนาดเล็ก เครื่องซักผ้า เป็นต้น

2. คาปาซิเตอร์มอเตอร์ (Capacitor Motor)

คาปาซิเตอร์เตอร์เป็นมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟสที่มีลักษณะคล้ายสปลิทเฟสมอเตอร์มาก

ต่างกันตรงที่มีคาปาซิสเตอร์เพิ่มขึ้นมาท าให้มอเตอร์แบบนี้มีคุณสมบัติพิเศษกว่าสปลิทเฟสมอเตอร์ คือมี

แรงบิดขณะสตาร์ทสูงใช้กระแสขณะสตาร์ทน้อยมอเตอร์ชนิดนี้มีขนาดตั้งแต่ 1/20 แรงม้าถึง10 แรงม้า

มอเตอร์นี้นิยมใช้งานเกี่ยวกับ ปั๊มน ้า เครื่องอัดลม ตู้แช่ตู้เย็น ฯลฯ

     -2.1 คาปาซิเตอร์สตาร์ทมอเตอร์ ( Capacitor start motor ) ลักษณะโครงสร้างทั่วไปของคาปาซิ

สเตอร์สตาร์ทมอเตอร์เหมือนกับสปลิทเฟส แต่วงจรขดลวดสตาร์ทพันด้วยขดลวดใหญ่ขึ้นกว่าสปลิทเฟส

และพันจ านวนรอบมากขึ้นกว่าขดลวดชุดรัน แล้วต่อตัวคาปาซิเตอร์ ( ชนิดอิเล็กโทรไลต์ )อนุกรมเข้าใน

วงจรขดลวดสตาร์ท มีสวิตช์แรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางตัดตัวคาปาซิสเตอร์และขดสตาร์ทออกจากวงจร

วงจรมอเตอร์ 1 เฟส คาปาซิเตอร์

     -2.2 คาปาซิเตอร์รันมอเตอร์ ( Capacitor run motor ) ลักษณะโครงสร้างทั่วไปของคาพาซิสเตอร์รัน มอเตอร์เหมือนกับชนิดคาพาซิเตอร์สตาร์ท แต่ไม่มีสวิตช์แรงเหวี่ยง ตัวคาปาซิสเตอร์จะต่ออยู่ในวงจร ตลอดเวลา ท าให้ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ดีขึ้น และโดยที่คาปาซิสเตอร์ต้องต่อถาวรอยู่ขณะท างานดังนั้นคาปาซิ เตอร์ประเภทน้ ามัน หรือกระดาษฉาบโลหะ

     -2.3 คาปาซิเตอร์สตาร์ทและรันมอเตอร์ ( Capacitor start and run motor )

ลักษณะโครงสร้างของคาปาซิสเตอร์สตาร์ทและรันมอเตอร์ชนิดนี้จะมีคาปาซิเตอร์2 ตัวคือคาปาซิ

สเตอร์สตาร์ทกับคาปาซิสเตอร์รัน คาปาซิสเตอร์สตาร์ทต่ออนุกรมอยู่กับสวิตช์แรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางหรือ

เรียกว่าเซ็นติฟูกัลสวิตช์ส่วนคาปาซิสเตอร์รันจะต่ออยู่กับวงจรตลอดเวลา คาปาซิสเตอร์ทั้งสองจะต่อขนาน

กัน ซึ่งค่าของคาปาซิเตอร์ทั้งสองนั้นมีค่าแตกต่างกัน

3. รีพัลชั่นมอเตอร์(Repulsion Motor)

เป็นมอเตอร์ที่ มีขดลวดโรเตอร์ (Rotor) จะต่อเข้ากับคอมมิวเตเตอร์และมีแปรงถ่านเป็นตัวต่อ

ลัดวงจร จึงท าให้ปรับความเร็วและแรงบิดได้ โดยการปรับต าแหน่งแปรงถ่าน สเตเตอร์( Stator ) จะมี

ขดลวดพันอยู่ในร่องเพียงชุดเดียวเหมือนกับขดรันของสปลิทเฟสมอเตอร์ เรียกว่า ขดลวดเมน (Main

winding) ต่อกับแหล่งจ่ายไฟโดยตรง แรงบิดเริ่มหมุนสูง ความเร็วคงที่ มีขนาด 0.37-7.5 กิโลวัตต์ (10

แรงม้า) ใช้กับงาน ปั๊มคอมเพลสเซอร์ ปั๊มลม ปั๊มน้ าขนาดใหญ่

4. ยูนิเวอร์แซลมอเตอร์ (Universal Motor)

เป็นมอเตอร์ขนาดเล็กมีขนาดก าลังไฟฟ้าตั้งแต่ 1/200 แรงม้าถึง 1/30 แรงม้า น าไปใช้ได้กับ

แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงและใช้ได้กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับชนิด 1 เฟส มอเตอร์ชนิดนี้มีคุณสมบัติ

ที่โดดเด่น คือให้แรงบิดเริ่มหมุนสูง น าไปปรับความเร็วได้ทั้งปรับความเร็วได้ง่ายทั้งวงจรลดแรงดันและ

วงจรควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ นิยมน าไปใช้เป็นตัวขับเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน เช่น เครื่องบดและผสม

อาหาร มีดโกนหนวดไฟฟ้า เครื่องนวดไฟฟ้า มอเตอร์จักรเย็บผ้า สว่านไฟฟ้า เป็นต้น

5. เช็ดเด็ดโพลมอเตอร์ (Shaded Pole Motor) 

เป็นมอเตอร์ขนาดเล็กที่สุดมีแรงบิดเริ่มหมุนต่ำมากนำไปใช้งานได้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็ก ๆ เช่น ไดร์เป่าผม พัดลมขนาดเล็ก

1. แมกเนติกคอนแทคเตอร์ มีหน้าที่ในการตัดต่อวงจรไฟฟ้า ซึ่งสามารถสั่งการทำงานด้วยการจ่ายแรงดันไปที่ชุดสนามแม่เหล็กเพื่อตัดต่อวงจร โดยมีส่วนประกอบหลัก 2 ส่วน คือ

1.1 ชุดสร้างสนามแม่เหล็ก ที่ประกอบด้วย แกนเหล็กและขดลวด เป็นส่วนสั่งงานให้แมกเนติกทำงาน(ตัดหรือต่อวงจร)
1.2 ชุดหน้าสัมผัสหรือหน้าทองขาวทำหน้าที่ส่งผ่านกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไปยังโหลด (Load)

2. การเลือกแมกเนติกคอนแทคเตอร์ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน

2.1 พิจารณาจากแรงดัน(V) มีแรงดัน 2 ส่วน

2.1.1 แรงดันใช้งาน คือแรงดันส่วนหน้าสัมผัส จากคอนแทคเตอร์ไปโหลด (แรงดันมาตรฐานที่ใช้ในไทย380-415V)
2.1.2 แรงดันไฟเลี้ยง หรือแรงดันคอยล์(Voltage Coil) เป็นแรงดันที่ส่งไปที่ขดลวดให้คอนแทคเตอร์ทำงาน

2.2 พิจารณาจากกระแส(I)ใช้งาน กระแส(I)ใช้งานตามประเภทของโหลด โดยทั่วไปจะเป็น AC-1,AC-3

วงจรมอเตอร์ 1 เฟส คาปาซิเตอร์
รูปที่ 1 : ลักษณะกระแสของโหลดอ้างอิง IEC 60947-4-1

ลักษณะกระแสของโหลดแต่ละชนิดจะอ้างอิงจาก IEC 60947-4-1 (จากรูปที่ 1) สามารถแบ่งได้หลายประเภท โดยโหลดทั่วไปคือ AC-1 และ AC-3

วงจรมอเตอร์ 1 เฟส คาปาซิเตอร์
รูปที่ 2 : กระแสของโหลด AC ที่ Magnetic AF ใช้ได้ระบุ Pricelist

2.2.1 AC-1ใช้กับ Non-Inductive Load เช่น Heater
2.2.1 AC-3ใช้กับโหลดที่เป็นมอเตอร์

3. วิธีการอ่านรหัสรุ่น AF(ยกตัวอย่างรุ่น AF09-30-10-13)

วงจรมอเตอร์ 1 เฟส คาปาซิเตอร์
รูปที่ 3 : ความหมายของรหัสคอนแทคเตอร์รุ่น AF

3.1 AF คือ รุ่นที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์คอยล์

3.2 09 คือ ขนาดกระแสของหน้าคอนแทคหรือหน้าทองขาว

3.3 30 คือ เมนคอนแทค

30 = 3NO,0NC

3.4 10 คือ คอนแทคช่วย Auxiliary Contact

10 = 1 NO, 0 NC
01 = 0 NO, 1 NC
11 = 1 NO, 1 NC

3.5 13 คือ ไฟเลี้ยง(Operating Coil) สามารถจ่ายไฟเลี้ยงได้ (100-250VAC/DC) เป็นรุ่นที่มีสต็อค ส่วนรุ่นอื่นจะเป็นรุ่นสั่งนอก

11 = 24-60 VAC/20-60 VDC
12 = 48-130 VAC/DC
13 = 100-250 VAC/DC
14 = 250-500 VAC/DC

4. คุณสมบัติของแมกเนติกคอนแทคเตอร์ ABB รุ่น AF

วงจรมอเตอร์ 1 เฟส คาปาซิเตอร์
รูปที่ 4 : ย่านแรงดันไฟเลี้ยง

4.1 เป็นคอนแทคเตอร์แบบอิเล็คทรอนิกส์คอยล์(Electronic Coil)ทำให้รับไฟเลี้ยงได้ทั้ง AC และDC ย่านแรงดันกว้าง 100-250 VAC/VDC

4.2 มี Surge Suppressor ในตัวป้องกันระบบคอนโทรลไม่ให้เสียหายที่เกิดจากพลังงานสะสมไหลย้อนกลับ

วงจรมอเตอร์ 1 เฟส คาปาซิเตอร์
รูปที่ 5 : ขนาด Magnetic รุ่นใหม่ AF ที่ขนาดเล็กกว่ารุ่น A

4.3 มีขนาดเล็กลง เมื่อเทียบกับคอนแทคเตอร์รุ่นเก่าทำให้ประหยัดพื้นที่ในตู้

4.4 ประหยัดไฟมากขึ้น เพราะใช้หม้อแปลงขนาดเล็กลงทำให้กินไฟน้อยลง

5.ความแตกต่างของแมกเนติกคอนแทคเตอร์รุ่น AF และ UA

วงจรมอเตอร์ 1 เฟส คาปาซิเตอร์
รูปที่ 5 : คอนแทคเตอร์ ABB รุ่น AF และรุ่น UA
วงจรมอเตอร์ 1 เฟส คาปาซิเตอร์
รูปที่ 6 : ลักษณะกระแสใช้งาน AC1, AC3 และ AC6b

แมกเนติกคอนแทคเตอร์ของ ABB รุ่น UA ผลิตมาเพื่อการใช้งานสำหรับการตัดต่อวงจร Capacitor Bank โดยเฉพาะ ซึ่งมีชุดหน้าสัมผัส(หน้าทองขาว) ผลิตด้วยวัสดุชนิดพิเศษ ที่รองรับกระแสในช่วงการตัดต่อของวงจร Capacitor Bank ที่มีกระแสสูงถึง 100 เท่า แต่รุ่น UA ซึ่งผลิตมาเพื่อใช้กับโหลดประเภท AC-1 กับ AC-3 ซึ่งมีกระแสสูงสุดที่ 6 เท่า เพราะฉะนั้นจึงไม่ควรใช้คอนแทคเตอร์รุ่น AF แทนรุ่น UA สำหรับการตัดต่อวงจร Capacitor Bank ยกเว้นกับวงจร Capacitor Bank ขนาดใหญ่ที่มากกว่า 70KVAR