ข้อสอบ ระบบหายใจ ม.2 พร้อม เฉลย

1. ข้อใดเป็นหน้าที่ของระบบหายใจ
การถ่ายเทก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซออกซิเจน
การนำก๊าซออกซิเจนจากอากาศภายนอกเข้าสู่ร่างกายและถ่ายเทก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา
การหายใจผ่านหลอดลม
การขยายช่องอก เพื่อให้ปอดพองโต

2. ส่วนใดช่วยปรับอุณหภูมิของลมหายใจ
หลอดลม
ปอด
หัวใจ
กระบังลม

3. การหายใจถูกควบคุมโดย
จมูก
หลอดลม
ปอด
กระบังลม

4. การหายใจเข้า ลักษณะของกระบังลมเป็นอย่างไร
กระบังลมหดตัว
กระบังลมคลายตัว
กระบังลมคงที่
กระบังลมทำงานแผ่วลง

5. ข้อใดเป็นหน้าที่ของเยื่อบุจมูกและขนอ่อนในจมูก
หายใจเข้า - ออก
กรองฝุ่นละออง
แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ไอ จาม

6. ข้อใดเป็นส่วนที่หลอดอาหารและหลอดลมมาบรรจบกัน
คอหอย
กล่องเสียง
ขั้วปอด
ขั้วหัวใจ

7. ข้อใดเป็นส่วนที่แยกออกจากปลายล่างสุดของหลอดลม
หลอดอาหาร
คอหอย
กล่องเสียง
ขั้วปอด

8. ก๊าซชนิดใดที่มีผลต่อระบบทางเดินหายใจอย่างมาก
คาร์บอนไดออกไซด์
คาร์บอนมอนน๊อกไซด์
ออกซิเจน
ไนโตรเจน

9. โรคของระบบการหายใจข้อใด เกิดจากการหายใจเอาอากาศที่สกปรกเข้าสู่ร่างกายเป็นเวลานาน
หอบ , หืด
ถุงลมโป่งพอง
ปอดดำ
ริดสีดวงจมูก

10. ข้อใดเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากระบบการหายใจ
หอบ , หืด
วัณโรค
ถุงลมโป่งพอง
มะเร็งปอด

ผลคะแนน =
เฉลยคำตอบ:

เฉลย แบบทดสอบ ระบบหายใจ

Uploaded by

Happybaby

0% found this document useful (1 vote)

6K views

5 pages

Original Title

เฉลย แบบทดสอบ ระบบหายใจ(1)

Copyright

© © All Rights Reserved

Available Formats

DOCX, PDF, TXT or read online from Scribd

Share this document

Did you find this document useful?

Is this content inappropriate?

Report this Document

0% found this document useful (1 vote)

6K views5 pages

เฉลย แบบทดสอบ ระบบหายใจ

Original Title:

เฉลย แบบทดสอบ ระบบหายใจ(1)

Uploaded by

Happybaby

Full description

วิทยาศาสตร์ระดับประถม สารบัญ


หัวข้อก่อน หัวข้อถัดไป

แบบฝึกหัด:

  • ระบบนิเวศ
  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบนิเวศ
  • ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต/ การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
  • ทรัพยากร
  • พืช
  • โครงสร้างพืช
  • การขยายพันธุ์
  • สัตว์
  • การจำแนกสัตว์
  • การสืบพันธุ์ของสัตว์/ การขยายพันธุ์
  • สารอาหาร
  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารอาหาร
  • สารอาหารที่ให้พลังงาน
  • สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน
  • การทดสอบสารอาหาร
  • ระบบในร่างกาย
  • ระบบย่อยอาหาร
  • ระบบหมุนเวียนโลหิต
  • ระบบหายใจ
  • ระบบขับถ่าย
  • พันธุกรรม
  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับพันธุกรรม
  • สสาร
  • สาร และสมบัติทางกายภาพและเคมี
  • สมบัติของวัสดุ
  • เกณฑ์การจำแนกสาร
  • การแยกสาร
  • แรงและความดัน
  • แรง
  • ความดัน
  • พลังงาน
  • แสง
  • เสียง
  • ไฟฟ้า
  • อวกาศ
  • ระบบสุริยะ
  • ปรากฎการณ์ทางดาราศาสตร์
  • เทคโนโลยีทางอวกาศ
  • ความสัมพันธ์ของระบบโลก
  • โครงสร้างบรรยากาศ/ปรากฎการณ์เรือนกระจก
  • เมฆ/หมอก/หยาดน้ำฟ้า
  • สภาพอากาศ (อุณหภูมิ/ ความชื้น/ ความกดอากาศ/ลม)
  • อุปกรณ์วัดสภาพอากาศ
  • วัฎจักรหิน
  • ดิน
  • ธรณีพิบัติภัย

กลับไปเนื้อหา

ทั้งหมด 10 ข้อ

1

1

การนำก๊าซออกซิเจนเข้าไปเผาผลาญอาหาร ทำให้เกิดพลังงานเป็นกระบวนการในระบบใด

ก. ระบบหายใจ

ข. ระบบขับถ่าย

ค. ระบบย่อยอาหาร

ง. ระบบหมุนเวียนโลหิต

2

2

ในการหายใจแต่ละครั้งอวัยวะใดเป็นตัวควบคุมการหายใจเข้าและออก

ก. จมูก

ข. หลอดลม

ค. กระดูกซี่โครงและกะบังลม

ง. ปอด

3

3

การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้นที่ใด

ก. จมูก

ข. หลอดลม

ค. กะบังลม

ง. ถุงลม

4

4

ของเสียของระบบหายใจคืออะไร

ก. เลือดดำ

ข. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

ค. แก๊สไนโตรเจน

ง. ไอน้ำ

5

5

อะไรที่เป็นตัวกำหนดอัตราการหายใจเข้าหายใจออกให้หายใจเร็วขึ้นหรือหายใจช้าลง

ก. ปริมาณออกซิเจน

ข. ปริมาณของคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด

ค. ปริมาณน้ำในเลือด

ง. ปริมาณของคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ

6

6

ถ้าเปรียบโลกเป็นร่างกายมนุษย์ ต้นไม้บนโลกจะเปรียบได้กับอวัยวะส่วนใด

ก. ปอด

ข. หัวใจ

ค. กระเพาะอาหาร

ง. ตับ




7

7

ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการหายใจเข้า

กะบังลมกระดูกซี่โครงปริมาตรในช่องอกความดันในช่องอก

 ก.

หดตัว ยกตัวขึ้น เพิ่มขึ้น ลดลง

 ข.

หดตัว ยกตัวขึ้น ลดลง ลดลง

 ค.

คลายตัว เคลื่อนต่ำลง ลดลง ลดลง

 ง.

คลายตัว ยกตัวขึ้น เพิ่มขึ้น ลดลง

8

8

ระบบที่ทำงานสัมพันธ์กับระบบหายใจคือ

ก. ระบบย่อยอาหาร

ข. ระบบประสาท

ค. ระบบหมุนเวียนโลหิต

ง. ระบบต่อมไร้ท่อ

9

9

การได้รับควันบุหรี่อย่างสม่ำเสมอจากการสูบบุหรี่โดยตรงหรืออยู่ในห้องที่มีคนสูบบุหรี่ มีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดโรคต่างๆ ยกเว้นโรคใด

ก. ถุงลมโป่งพอง

ข. หลอดลมอักเสบ

ค. มะเร็งในปอด

ง. ปอดบวม

10

10

ในลมหายใจออกมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สามารถทดสอบได้ง่ายโดยใช้สารใด

ก. โซเดียมคลอไรด์

ข. น้ำปูนใส

ค. โซเดียมไฮตรอกไซด์

ง. สารละลายไอโอดีน

หัวข้อก่อน กลับไปเนื้อหา หัวข้อถัดไป