ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 2/2561 เป็นต้นไป สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร จะจัดรายวิชาสัมมนา ให้นักศึกษานำเสนอรายงานวิจัยจากวารสารต่างประเทศ “เป็นภาษาอังกฤษ”

จึงให้นักศึกษาใช้แนวทางดังต่อไปนี้

Powerpoint Slide

ให้ใช้ภาษาอังกฤษทั้งหมด ใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ให้มองเห็นได้ชัดเจน ข้อความให้เขียนเป็นประเด็นๆ ไม่ควรคัดลอกมาทั้งประโยค

วิธีการวิจัย ให้สรุปเป็นแผนภูมิ มีภาพประกอบ เช่นภาพเครื่องมือ ภาพวัตถุดิบ ภาพผลิตภัณฑ์ ไม่ต้องอธิบายรายละเอียดของวิธีวิเคราะห์ เช่นสารเคมีอะไรความเข้มข้นเท่าไร ยกเว้นเป็นส่วนสำคัญของวิธีการทดลอง

การบรรยาย

สิ่งที่เกิดขึ้นเสมอหรือเป็นเรื่องของธรรมชาติ ให้ใช้ present tense ส่วนการทดลองที่ทำไปแล้ว และผลการทดลอง ให้ใช้ past tense

ให้ใช้รูปประโยคเป็นแบบถูกกระทำ เช่น

It was found that …
Samples were taken…

บทพูดจะละเอียดกว่าตัวหนังสือที่ย่อไว้ใน ppt ดังนั้นจะต้องเขียนเป็น script และท่องให้คล่อง เพราะเวลานำเสนอจะไม่มีเวลาอ่าน

การจัดทำ ppt และคำพูดบรรยายแต่ละหัวข้อ

1. Title Slide (1 slide)

Good morning/afternoon ladies and gentlemen. My name is ….
I will present a research paper titled “…..”
published in the Journal of ….
in Janurary/etc(month), 2018 (two thousand eighteen)

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

2 Topics (1 slide)

In my presentation I will talk about the Introduction, materials and methods, results and discussion and conclusions.

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

3 Introduction (2 – 3 slides)

กล่าวถึงสภาพปัจจุบัน หรือวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์อาหาร หรือวิธีการวิเคราะห์ที่ต้องการพัฒนา และช่องว่างของการวิจัยว่ายังไม่มีรายงานเกี่ยวกับเรื่องนี้ หรือยังมีน้อย โดยใช้ tense ให้ถูกต้อง ดังกล่าวมาแล้ว เช่น

Consumption of coffee has increased significantly during the past decade.

There was no information regarding ….

โดยให้เลือกมาจากบทนำของ paper และทำเป็นประโยคสั้นๆ ใน ppt และอธิบายขยายด้วยคำพูด เพิ่มเติมรูปภาพที่หาจาก internet ไม่ต้องใส่แหล่งที่มา หรือหากเป็นสิ่งของทั่วไปก็ถ่ายรูปมาเอง

ไม่ต้องตรวจเอกสารเพิ่มเติมเป็นทฤษฎีว่า โปรตีนคืออะไร แป้งมีกี่ชนิด ฯลฯ ให้เน้นเนื้อหาในบทนำของ paper นั้น

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

4. Objectives (1 slide)

ไม่ว่าใน paper จะมี objectives หรือไม่ก็ตาม แต่ให้ นศ. พิจารณาจากบทนำ เลือกมาทำเป็น objective อย่างน้อย 3 ข้อ เช่น
The objectives of this study were
– to compare …
– to improve …
– to develop …
– to analyse the composition of…
– to optimize the conditions for…

โดยสรุปคือ ในงานวิจัยนั้น จะทำอะไรบ้าง เพื่อให้ได้อะไร

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

5. Materials and Methods (จำนวน slide ตามจำเป็น)

ทำ flow chart หรือขั้นตอนการวิจัยให้ดูแล้วเข้าใจง่าย มีภาพประกอบให้เห็นภาพว่าสิ่งทดลองหรือเครื่องมือรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร

ในการบรรยาย ให้เขียน script ท่องไว้ ชี้ภาพไปตามขั้นตอนแล้วพูดเป็นประโยคเช่น

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง 1
Three Mango varieties were investigated in this research:
– variety one
– variety two and variety three.
ใน ppt เป็นภาพมะม่วงพันธุ์ต่างๆ

Mango fruits were peeled and pulped to obtain mango juice…
เป็นการอธิบาย flow chart มีขั้นตอน peeling, pulping

ตัวอย่าง 2
Samples were analyzed for volatile compounds using Gas Chromatography coupling with Mass Spectrometer (GC-MS)
บน ppt แสดงภาพ GC-MS
* ไม่ต้องอธิบายสภาวะของเครื่องว่าใช้คอลัมน์อะไร ใช้แก๊สอะไร ความเร็วแก๊สเท่าไร ฯลฯ เป็นรายละเอียดที่ไม่จำเป็นต้องนำเสนอในสัมมนา แต่ นศ. ต้องทราบถ้าถูกถาม

6 Results and Discussion

บาง paper รวมผลและวิจารณ์ไว้ด้วยกัน บาง paper แยกเป็นคนละส่วน ให้ นศ. นำเสนอเป็นแบบรวม คือเมื่อรายงานผลแล้วก็อธิบายเหตุผลที่ได้ผลเป็นเช่นนั้น หรือผลที่ได้ มีความสอดคล้องกับงานวิจัยก่อนหน้านี้หรือไม่ ดังนั้นถ้า paper ที่นำเสนอเป็นแบบแยก ให้เลือกผลมารายงานจากส่วน Results ก่อน แล้วค่อยไปดูใน discussion ว่าเขาอธิบายว่าอย่างไรจึงค่อยนำมาเติม

บาง paper จะ discuss ยาวมาก เล่าความเป็นมาทั้งหมดมากมาย ไม่จำเป็นต้องไปอ่าน ให้ลงมาส่วนที่กล่าวถึงผลวิจัยเลย ถ้าไม่ค่อยเข้าใจ ให้ไปนำข้อความมาจาก abstract ซึ่งมักจะรายงานผลที่สำคัญเอาไว้ เพียงแต่จะไม่มีอ้างอิงว่าผลตรงกับงานก่อนหน้านี้หรือไม่

ในประเด็น discussion ให้ นศ. พิจารณาเลือกที่สำคัญ ไม่ต้องเอามาเยอะ เน้นเสนอผลวิจัยเป็นหลัก เพื่อตัดปัญหาความยุ่งยากออก เพราะหากนำเสนอบทนำให้ละเอียดเป็นที่เข้าใจของผู้ฟังแล้ว เวลานำเสนอในส่วนของผลวิจัยก็จะเหลือไม่มากแล้ว

ใครที่กำลังนั่งทำ Presentation / PowerPoint  งานวิจัย วิทยานิพนธ์ แล้วคิดไม่ออกว่าจะทำออกมาหน้าตายังไงดีให้สวย ให้น่าสนใจ ให้โดนใจอาจารย์ หรือกรรมการสอบ มาลองดูไอเดียจากในบทวามนี้ได้ครับ

เป็นตัวอย่างจริงของงานวิจัย ผมลองหยิบมาแชร์ให้เพื่อนๆ กันครับ

คำแนะนำลองดูจากหัวข้อแล้วดูเป็นไอเดียว่าองค์ประกอบที่ใช้ในหน้านั่นมีอะไรบ้าง เช่น ไอคอน แผนที่ รูปภาพ แล้วลองนำไปปรับใช้กับงานของตัวเองกันดูนะครับ 🙂

 

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

 

จุดสังเกต

ในเกือบทุกสไลด์ผมจะมีการนำวัตถุดิบมาจัดวางประกอบเข้าไปในไสไลด์ เช่น ไอคอน แผนที่ ภาพกราฟฟิค และรูปภาพ เพราะวัตถุดิบเหล่านี้จะช่วยเป็นตัวแทนข้อความหรือตัวหนังสือ ทำให้ข้อความบนสไลด์ลดลงและยังช่วยให้สไลด์น่าสนใจ และเข้าใจง่ายขึ้นอีกด้วย แต่เราจะหาวัตถุดิบเหล่านี้จากที่ไหนบ้าง แนะนำให้อ่านบมความนี้เลยครับ

แหล่งวัตถุดิบฟรี ! ที่นักออกแบบสไลด์ชอบใช้

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

ข้อมูลเพิ่มเติม

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

TEMPLATE 

POWERPOINT

Template Research PowerPoint พร้อมใช้งาน !

สั่งซื้อ

ทีนี้ถ้าเกิดดูตัวอย่างด้านบนแล้ว ยังไม่โดนใจ ไม่ถูกใจ ผมแนะนำไปดูตัวอย่าง Presentation / PowerPoint  งานวิจัย วิทยานิพนธ์ เพิ่มเติมจากแหล่งรวมไอเดียงานออกแบบ กราฟิคต่างๆ เช่น Pinterest หรือ Dribble

ส่วนตัวผมเองจะชอบดูจากตัวอย่างใน Pinterest เป็นเว็บไซต์ / App ในการหา Reference หรือไอเดียต่างๆ ในทุกหมวดหมู่ เช่น อาหาร แต่งบ้าน แฟชั่น กีฬา ที่ท่องเที่ยว รวมไปถึงงานออกแบบอย่าง Presentation ด้วย

โดย Keyword ที่ใช้ในการค้นหาคือ Research Presentation 

ตัวอย่าง powerpoint สัมมนาวิทยาศาสตร์

 

เพื่อให้ทุกคนรู้จัก Pinterest มากขึ้น และรู้วิธีใช้ Keyword ในการค้นหาแบบอื่นๆ ด้วยแนะนำ (มากๆ) ให้อ่านเพิ่มเติมที่บทความ ไอเดียทำสไลด์สวยๆ ด้วย Pinterest