โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรไล่แมลง

บทที่ 1 บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของโครงงาน

       สมุนไพรชนิดต่างๆ มาใช้ในการรักษาโรคได้นั้น น่าจะเกิดจากการเรียนรู้จากพฤติกรรมของสัตว์ การบอกเล่าต่อๆ กันมา หรือเกิดจากการทดลอง และสั่งสมประสบการณ์มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่สมัยโบราณ เนื่องจากสมุนไพรมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับชีวิตมนุษย์มาตั้งแต่สมัยที่มนุษย์ยังดารงชีวิตด้วยการหาของป่าล่าสัตว์

       มนุษย์มีวิวัฒนาการในการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ จึงรู้จักนาสมุนไพรมาใช้เป็นอาหาร เชื้อเพลิง เครื่องนุ่งห่ม และส่วนหนึ่งก็ใช้เป็นยารักษาโรค กาจัดแมลง รูปแบบการใช้สมุนไพรก็จะมีความแตกต่างกัน ตามความหลากหลายของเผ่าพันธุ์มนุษย์ และความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อมของแต่ละท้องถิ่นสมุนไพรป้องกันกำจัดศัตรูพืช ยังมีข้อดีหลายอย่างคือ มีราคาถูก ปลอดภัย ต่อเกษตรกรผู้ใช้ ไม่มีสารพิษตกค้างในผลผลิตจึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค รวมทั้งไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆที่เป็นประโยชน์ในแปลงพืชผักไม่ตกค้างในดินและสภาพแวดล้อม จากกรณีศึกษาสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพป้องกันกาจัดหนอน คือ เถาบอระเพ็ด ข่าแก่ ใบสะเดา ก่อนที่จะนาสมุนไพรแต่ละชนิดมาในการป้องกันกาจัดหนอน ควรมีการศึกษาหาข้อมูลการใช้สมุนไพรกาจัดศัตรูพืชให้ได้ดีเสียก่อนว่าจะนำส่วนไหนมาใช้และใช้ในช่วงเวลาใดจึงจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการป้องกันกำจัดแมลง เพราะบางคนรู้เพียงว่าใช้พืชตัวนั้นตัวนี้ในการป้องกันกาจัดแต่ไม่ทราบว่าใช้ส่วนใดเวลาใดจึงจะเกิดประสิทธิภาพดีที่สุดจึงทำให้เกิดการศึกษาทำให้เกิดโครงงานนี้ขึ้น

วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้จัดทำได้กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ดังนี้โครงงาน

1. เพื่อเปรียบเทียบในการกำจัดหนอนผักกาดกวางตุ้งโดยใช้น้ำบอระเพ็ด น้ำใบสะเดา น้ำข่า

สมมติฐานในการทำโครงงาน

ถ้าใบสะเดาสามารถกำจัดหนอนกินผักกาดได้ดีมากที่สุด

ตัวแปรที่ศึกษา

ตัวแปรต้น ได้แก่ น้ำบอระเพ็ด น้ำข่าแก่ น้ำใบสะเดา

ตัวแปรตาม ได้แก่ ความสามารถกำจัดหนอนผัดกาด

ตัวแปรควบคุม ได้แก่ ปริมาณสมุนไพร อัตราส่วนของสมุนไพร ระยะเวลาในการทดลอง ภาชนะที่ใช้ทดลอง

ขอบเขตการศึกษาในการครั้งนี้มีขอบเขตการศึกษาดังนี้

1. สมุนไพรที่ใช้ศึกษามี 3 ชนิด คือ สะเดา เถาบอระเพ็ด ข่าแก่

2. พืชสมุนที่ใช้ทดลองเป็นชนิดสด โดยใช้หัว ลำต้น ใบ

3. ใช้หนอนผักกาดกวางตุ้งเป็นตัวทดลอง

4. ใช้ระยะเวลา

5. สถานที่ โรงเรียนสายธรรมจันทร์

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

ทำให้ทราบว่าสมุนไพรชนิดไหนกำจัดศัตรูพืชได้ดี

นิยามปฏิบัติการ

1. พืชสมุนไพร หมายถึงพันธุ์ไม้ต่าง ๆ ที่สามารถนำมาใช้ปรุงหรือประกอบเป็นยารักษา โรคต่าง ๆ ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพร่างกายได้

2. พืชที่กำจัดศัตรูพืช หมายถึง เป็นทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศที่สาคัญ และมีการนา ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้มาใช้ประโยชน์ โดยผ่านทางภูมิปัญญาชาวบ้านที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมา แต่การนาทรัพยากรที่มีมาใช้เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากลยังขาดการสนับสนุนทางด้านการวิจัยและการพัฒนาเพื่อนาสมุนไพรไทยเหล่านั้นมาสกัด หรือประยุกต์ใช้ให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มบริโภคทั่วโลก

TITLE NAME

ชื่อโครงการ (Project Name)

โครงงานเรื่อง สมุนไพรกำจัดแมลงชนิดต่างๆ

ผู้พัฒนา (Owner)

- ธำรงกุล พึ่งปาน
- นารีรัตน์ พันธ์พระ

อาจารย์ที่ปรึกษา (Advisor)

- กิจวิภู เรืองศรี

โรงเรียน (School)

รร.ขุนหาญวิทยาสรรค์

เนื้อหาบทคัดย่อ (Abstract Detail)

ในปัจจุบันมีผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นจำนวนมาก และได้มีการใช้ยาฆ่าแมลงในการกำจัดแมลงชนิดต่างๆ ทำให้เกิดอันตรายต่อตัวเกษตรกรและผู้บริโภคโดยตรงและยังทำให้ดินที่ใช้ในการปลูกพืชเสียหายและยังส่งผลทำให้ได้ผลผลิตน้อยลง กลุ่มของเราจึงได้เห็นถึงปัญหาในเรื่องแมลงชนิดต่างๆ ที่เป็นปัญหาใหญ่ของเกษตร เราจึงได้คิดค้นผลิตภัณฑ์สมุนไพรไล่แมลงโดยใช้พืชสมุนไพรที่พบมากในท้องถิ่น

บทที่1

บทนำ

ทม่ี าและความสำคัญ

ในปัจจุบนั สภาพแวดลอ้ มท่ีไม่ดีทำให้สัตวห์ รือแมลงอยไู่ ม่ได้ จงึ มาคุกคามมนุษย์เปน็ จำนวนมาก เช่น
มด อันตรายจากมด การปอ้ งกนั ตัวของมด โดยการกดั ศัตรู ใหไ้ ดร้ บั ความเจ็บปวด จะปลอ่ ยพษิ ออกมา ทำใหเ้ ปน็
ผื่นคนั ผวิ หนงั ปวดบวมอักเสบ ในบางครงั้ มดจะมาแยง่ กนิ อาหาร ทำให้อาหารเน่าบดู อาจทำให้เกิดโรคท้องเสยี
ได้ อยากจัดสวนในบรเิ วณบ้าน แต่บริเวณบา้ นมมี ดคันไฟเยอะมากเลย เคยกำจัดหลายคร้ังแล้วแต่กก็ ลบั มาใหม่ใน
เวลาทีร่ วดเร็ว เรามกั จะพบมดตามท่แี ห้งบรเิ วณที่เป็นซอกหรอื รอยแตกของพ้ืนปูน พนื้ ไม้ หรือตามตน้ ไม้ แมแ้ ต่ใน
บ้านเรากพ็ บมดเชน่ กนั ข้ึนอยู่ตามเสือ้ ผา้ อาหารซง่ึ ทำใหเ้ กิดความเสียหาย

การซอื้ ยาฆา่ แมลงตามทอ้ งตลาดมาใช้นัน้ จะมรี าคาแพงซงึ่ สว่ นใหญ่จะผลติ จากสารเคมี ทำให้เกดิ
อันตรายต่อสภาพแวดล้อมหรอื หากบา้ นไหนมเี ดก็ เล็กๆหรอื สตั วเ์ ลีย้ งก็อาจจะเกดิ อนั ตรายไดแ้ ทนทจี่ ะเป็นมด
คณะผจู้ ดั ทำจงึ ศึกษาสมนุ ไพรทห่ี างา่ ยในท้องถิน่ การใชส้ มนุ ไพรไทยบางชนดิ หรอื วัตถุดบิ จากธรรมชาติอนื่ ๆมา
ประยกุ ต์เพือ่ กำจัดมด จงึ เป็นทางเลอื กทนี่ า่ จะมีความเหมาะสมทส่ี ดุ เพราะกำจัดมดดว้ ยวิธนี ี้ ยอ่ มไมท่ ำอนั ตรายต่อ
เดก็ หรือสตั ว์เล้ียงอยา่ งแน่นอนและเปน็ สมนุ ไพรทหี่ าง่ายในบา้ นหรือทอ้ งถ่ินของเรา

จดุ มุ่งหมายและวตั ถุประสงค์

1. เพอื่ เปรยี บเทยี บประสทิ ธิภาพการทำรังของมดด้วยยากำจัดมดสมุนไพร

2. เพอื่ ชว่ ยให้คนทีท่ ำสวนผักไม่ถูกมดสร้างรังข้ึน

3. เพื่อใหเ้ ราไม่ไดร้ บั อันตรายจากมด

สมมุตฐิ านการทดลอง

สมุนไพรทน่ี ำมาทำสเปรยไ์ ล่มดมกี ลน่ิ ฉนุ สามาถทำให้ไลม่ ดไปได้เร็วกวา่ สมุนไพรท่ไี มม่ กี ลน่ิ

ตวั แปร

ตัวเเปรต้น : สมนุ ไพร ได้เเก่ ขิง ตะไคร้ มะกรูด ขมิ้นเเละพรกิ

ตัวเเปรตาม : ประสทิ ธภิ าพในการไลม่ ด

ตวั เเปรควบคมุ : ปรมิ าณสมุนไพร,มด
ขอบเขตการศกึ ษา
ศกึ ษาสดั ส่วนและอัตราส่วนท่ีเหมาะสมของสมนุ ไพรท่ีจะนำมาทำเป็นสมนุ ไพรไล่มด ระยะเวลาในการทำงาน
4 เดือน ตง้ั แต่วันท่ี 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2561-23 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2562

นิยามศัพท์เฉพาะ
สมุนไพรไลม่ ด คอื ขิง ตะไคร้ มะกรดู ขม้ินเเละพรกิ ข้หี นู นำมาใลม่ ดโดยการนำสมุนไพรขงิ ตะไคร้ มะกรดู ขมนิ้
เเละพรกิ ขห้ี นู ไปหมัก คอื การนำสมุนไพรขิง ตะไคร้ มะกรดู ขมิ้นเเละพริกข้ีหนู มาหมกั ใหเ้ ขา้ กันโดยมอี ัตราส่วน
ทเ่ี ทา่ กนั ทุกอันและไมเ่ ทา่ กันเพื่อนำมาทดสอบประสิทธิภาพของสมนุ ไพรวา่ จะสามารถไลม่ ดได้เท่ากันหรอื ไม่

ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
1. ทำให้ทราบว่าสมุนไพรสามารถทำให้ไล่มดไปท่ีอื่นได้
2. ทำใหท้ ราบถงึ สดั ส่วนและอตั ราส่วนทเี่ หมาะสมของสมุนไพรทนี่ ำมาไลม่ ด
3. ทำใหท้ ราบถึงสรรพคณุ ของสมนุ ไพร

บทท่ี2
เอกสารและโครงงานท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกนั

ส่ิงที่นำมาศกึ ษา

1. มด
เป็นแมลงในวงศ์ Formicidaeอนั ดับ Hymenoptera มดมกี ารสรา้ งรงั เปน็ อาณาจกั รขนาดใหญ่ บางรัง

จำนวนประชากรมากถงึ ลา้ นตวั มีการแบง่ วรรณะกนั ทำหน้าทคี่ อื วรรณะมดงาน เป็นมดเพศเมียเป็นหมนั ทำ
หนา้ ทห่ี าอาหาร สร้างและซอ่ มแซมรัง ปกป้องรังจากศัตรู ดูแลตวั ออ่ น และงานอ่ืน ๆ ทัว่ ไป เปน็ วรรณะทพี่ บไมาก
ที่สดุ วรรณะสืบพันธ์ุ เป็นมดเพศผู้ และราชนิ ี เพศเมีย มหี น้าทสี่ บื พันธุ์ เนอื่ งจากมดเปน็ สัตวใ์ นวงศ์ Formicidae
จงึ สามารถผลิตกรดมดหรือกรดฟอร์มกิ ไดเ้ ปน็ ลักษณะเฉพาะของสตั วใ์ นวงศ์น้ีมดหลายชนดิ มพี ฤตกิ รรมในการทำ
การเกษตรหรอื เพาะปลกู พืชหรือเช้อื ราบางชนดิ เพื่อใช้เปน็ อาหาร โดยเชือ่ ว่า มีพฤตกิ รรมเช่นนมี้ านานถึง 30 ลา้ น
ปแี ล้ว โดยการศึกษาของนกั กฏี วิทยาพบวา่ มดหลายชนดิ มพี ฤตกิ รรมการร้จู กั การเพาะปลกู ในเชงิ สลบั ซบั ซอ้ น
คล้ายกบั การเพาะปลูกของมนุษย์ รจู้ กั ทจ่ี ะฝงั เมลด็ พืชลงสพู่ ้ืนดินอยา่ งไรถึงจะให้ผลผลติ ทีใ่ ช้เปน็ อาหารได้ อีกทงั้
รู้จักหลักในการควบคมุ อณุ หภูมิหรอื ความช้นื อกี ดว้ ยปัจจบุ นั มีการคน้ พบมดมากกวา่ 12,000 ชนิด โดยพบมากใน
เขตรอ้ นของโลก เฉพาะในภูมิภาคอาเซียน ประมาณว่ามมี ด 1,300-1,500 ชนิด สำหรบั ในประเทศไทยเรม่ิ มี
การศึกษามดอย่างจริงจังในปี ค.ศ. 1997 พบมดแล้วกวา่ 700 ชนิด และคาดว่าอาจมีมากได้ถงึ 1,000 ชนิด

2. ขงิ

ขิง ช่อื สามญั : Ginger

ช่อื วิทยาศาสตร์ : Zingiberofficinale Roscoe

วงศ์ : Zingiberaceae

ช่ืออื่น : ขิงแกลง, ขงิ แดง, ขงิ เผือก, สะเอ, ขงิ บา้ น, ขงิ แครง, ขิงปา่ , ขงิ เขา, ขงิ ดอกเดยี ว, เกีย

ขงิ เป็นพชื ลม้ ลกุ มีเหงา้ ใตด้ ิน เปลือกนอกสีน้ำตาลแกมเหลอื ง เน้อื ในสนี วลมีกลนิ่ หอมเฉพาะ แทงหน่อหรอื ลำต้น

เทยี มขน้ึ เปน็ กอประกอบด้วยกาบหรือโคนใบหมุ้ ซ้อนกนั ใบ เปน็ ชนดิ ใบเดยี่ ว ออกเรยี งสลับกันเปน็ สองแถว ใบรปู

หอกเกลย้ี งๆ กว้าง 1.5 - 2 ซม. ยาว 12 - 20 ซม. หลงั ใบห่อจีบเป็นรปู รางนำปลายใบสอบเรยี วแหลม โคนใบสอง

แคบและจะเป็นกาบหุ้มลำตน้ เทยี ม ตรงช่วงระหวา่ งกาบกบั ตวั ใบจะหกั โคง้ เป็นข้อศอก ดอก สีขาว ออกรวมกัน

เป็นชอ่ รปู เห็ดหรือกระบองโบราณ แทงขน้ึ มาจากเหง้า ชูกา้ นสูงข้นึ มา 15 - 25 ซม. ทกุ ๆดอกทกี่ าบสีเขยี วปนแดง

รูปโคง้ ๆ ห่อรองรับ กาบจะปิดแน่นเมอื่ ดอกยงั ออ่ น และจะขยายอา้ ให้เห็นดอกในภายหลงั กลีบดอกและกลีบรอง

กลบี ดอก มีอย่างละ 3 กลบี อุม้ นำ้ และหลุดร่วงไว โคนกลบี ดอกมว้ นหอ่ สว่ นปลายกลีบผายกว้างออกเกสรผู้มี 6

อัน ผล กลม แข็ง โต วัดผา่ ศูนยก์ ลางประมาณ 1 ซม.

3. ตะไคร้
ตะไคร้ (ชอื่ สามญั : Lemongrass) (ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์ Cymbopogoncitratus); ชื่อท้องถิน่ : จะไคร (ภาคเหนอื ),
หัวซงิ ไค (ภาคอสี าน), ไคร (ภาคใต)้ , คาหอม (แม่ฮ่องสอน), เชดิ เกรย, เหลอะเกรย (เขมร-สรุ นิ ทร์), หอ่ วอตะโป่
(กะเหรี่ยง-แมฮ่ ่องสอน) ) เปน็ พชื ล้มลุก ในวงศ์หญา้ (Poaceae) ความสงู ประมาณ 4-6 ฟตุ ใบยาวเรียว ปลายใบมี
ขนหนาม ลำต้นรวมกันเป็นกอ มีกล่นิ หอม ดอกออกเปน็ ช่อยาวมดี อกเลก็ ฝอยเป็นจำนวนมาก ตะไคร้เป็นพชื ที่
สามารถนำสว่ นต้นหัวไปประกอบอาหาร และจัดเป็นพชื สมุนไพรด้วย

4. มะกรดู
มะกรูด ชื่อวงศ์:Rutaceaeสกลุ :Citrus
เป็นพืชในสกุลส้ม (Citrus) มีถ่ินกำเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซยี มาเลเซีย และไทย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นิยมใช้ใบมะกรูดและผวิ มะกรูดเป็นสว่ นหนึ่งของเครอ่ื งปรุงอาหารหลายชนดิ นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้ว
ยงั มีความนยิ มในกมั พชู า เวียดนาม มาเลเซีย และอนิ โดนเี ซยี (โดยเฉพาะบาหลี)

5. ขม้ิน
ขมิ้น (องั กฤษ: Turmeric) เปน็ พืชลม้ ลุกในวงศ์ขิง มถี นิ่ กำเนดิ ในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ มเี หงา้ อยใู่ ต้ดิน

เนื้อในของเหงา้ เป็นสีเหลอื ง มีกล่ินหอมเฉพาะตัว มีสเี หลืองเข้ม จนสแี สดจดั มชี ่อื สามญั อ่นื อีกคอื ขมิ้นแกง
(เชียงใหม)่ ขมิน้ ชนั (กลาง,ใต)้ ขมิ้นหยอก (เชยี งใหม)่ ขมน้ิ หวั (เชียงใหม)่ ขีม้ ิ้น (ตรัง,ใต)้ ตายอ (กะเหร่ียง
กำแพงเพชร) สะยอ (กะเหรี่ยง แม่ฮอ่ งสอน) และ หมน้ิ (ตรงั ,ใต)้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ขม้ินเปน็ ไมล้ ม้ ลกุ อายุหลายปี สงู 30-95 ซม. เหง้าใต้ดนิ รูปไข่ อ้วนสน้ั มแี ขนงรปู
ทรงกระบอกแตกออกดา้ นข้าง 2 ด้าน ตรงกันข้าม เนือ้ ในเหง้าสีเหลอื งส้มหรือสเี หลืองจำปาปนสีแสด มกี ลน่ิ ฉุน
ใบเดี่ยว กลางใบสแี ดงคลำ้ แทงออกมาเหงา้ เรียงเปน็ วงซ้อนทบั กันรูปใบหอก กวา้ ง 12-15 ซม. ยาว 30-40 ซม.
ดอกชอ่ แทงออกจากเหงา้ แทรกขน้ึ มาระหวา่ งก้านใบ รูปทรงกระบอก กลบี ดอกสีเหลืองอ่อน ใบประดบั สีเขียว
อ่อนหรอื สนี วล บานครง้ั ละ 3-4 ดอก ผล รปู กลมมี 3 พู

6. พรกิ
พรกิ (CHILLI OR HOT PEPPER)

ชอ่ื สามัญ BirdChilli
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Capsicum frutescens Linn.
ช่อื วงศ์ SOLANACEAE
ชอ่ื อื่น ๆ พริกแด้ พรกิ แต้ พรกิ นก พรกิ แจว พริกน้ำเมย่ี ง (เหนือ-พายัพ) พรกิ พรกิ ชีฟ้ า้ พริกขห้ี น(ู ภาค
กลาง-เหนือ) ดปี ลี (ใต้-ปตั ตาน)ี ดีปลีข้ีนก ใต้ (ภาคใต)้ ลัวะเจีย (แต้จิว๋ มะระต้ี (สรุ ินทร)์ ลา่ เจียว (จนี กลาง)

หมกั เพด็ (อสี าน)“พรกิ ” พืชผักสมนุ ไพรมากประโยชน์ พรกิ เปน็ พืชผกั รับประทานผลที่ใช้บริโภคกันท่ัวไป และเป็น
พชื เศรษฐกจิ ที่สำคัญของโลก เชอื่ กนั วา่ พรกิ มถี ิน่ กำเนิดในทวีปอเมรกิ า โดยประเทศเม็กซิโก เปน็ ศนู ยก์ ำเนดิ พรกิ
ของโลก

โครงงานทมี่ ีลักษณะคลา้ ยกัน
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง สมุนไพรฤทธิแ์ รง ปราบแมลงกวนใจมดเปน็ แมลงทส่ี รา้ งความรำคาญใหแ้ กผ่ ู้

คน, สัตวเ์ ลีย้ งต่างๆ และยงั ทำใหเ้ กิดความเสยี หายกับพืชด้วย แหลง่ ที่เรามักพบมด ตามท่ีแห้งบริเวณทเ่ี ป็นซอก
หรือรอยแตกของพื้นปูน พื้นไม้ หรอื ตามต้นไม้ แม้แตใ่ นบา้ นเรากพ็ บมดเช่นกัน ข้นึ อยตู่ ามเสื้อผ้า อาหารกม็ ี คณะ
ของเราจงึ คดิ ทำโครงงานกำจัดมดขน้ึ เพื่อนำสารบางชนิดจากสมุนไพรและของใช้ ในบ้าน มาสกัดเปน็ สารกำจัดมด
โดยเริ่มศึกษาสง่ิ ทสี่ นใจกอ่ น เช่น พรกิ ข่า ขิง ปรากฏว่า พริกเป็นสมนุ ไพรท่ีเราสนใจเปน็ พิเศษ จงึ ได้ทำพชื ทีท่ ี
ฤทธิ์รอ้ นมาทดลองหา วธิ กี ารเตรียมสารละลายพรกิ จะใชพ้ รกิ 80 กรมั กับน้ำ 120 ลบ.ซม. นำไปทดลองกำจัด
แมลงมดแดงไฟ (มดคนั ไฟ)ในหอ้ งทดลอง ผลการทดลอง พบวา่ น้ำพริกกำจดั มดไดด้ ที สี่ ดุ

(แหลง่ ท่ีมา http://samunpraiprapmalangscienceproject.blogspot.com)

บทท่ี3
วิธีการดำเนนิ งาน

วสั ดุอุปกรณ์
1. มดี 1 เล่ม
2. ขมิ้น 2 ขีด
3. ขิง 5 หัว
4. ตะไคร้ 5 หัว
5. มะกรดู 5 ลูก
6. ขวดสเปรย์ 2 ขวด
7. ชามใส่สมนุ ไพร 2 ใบ
8. พรกิ 2 ขดี
9. มดดำ 10 ตวั
10. นำ้ เปล่าจำนวน 500 มิลลลิ ิตร
11. กระชอนรอ่ นแป้ง 1 อนั
12. ขวดพลาสตกิ 2 ขวด
13. กรวยกรองนำ้ อนั เลก็ 1 อนั
14. นำ้ หวาน

วิธีการทดลอง
1. นำมะกรดู มาปลอกเปลอื กจำนวน3กรัม
2. นำ ขิง ขมิน้ ตะไคร้ มาห่นั ใหเ้ ป็นชิน้ เลก็ ๆ อยา่ งละ3กรมั
3. นำเปลอื กมะกรูด พริก ตะไคร้ อย่างละ 2 กรมั ตำใหล้ ะเอียดและนำมาใส่ชามใบแรกทเี่ ตรียมไว้
4. นำ ขงิ ขมน้ิ ตะไคร้ อย่างละ 2 กรมั ตำให้ละเอยี ดและนำมาใส่ชามใบทส่ี องที่เตรยี มไว้
5. นำน้ำเปล่า 500 มลิ ลลิ ิตร ใส่เทใสช่ ามสมุนไพรชามละ 250 มิลลลิ ติ ร และคนให้เข้ากัน
6. เม่อื สมนุ ไพรท้งั 2ชามเข้ากนั แล้วนำสมนุ ไพรแต่ละชามมากรองนำ้ ในกระชอนรอ่ นแปง้ ที่เตรยี มไวแ้ ละกรอง

สมนุ ไพรแตล่ ะชามมากรอกโดยใชก้ รวยกรองนำ้ ลงในขวดสเปรย์

7. นำมดดำจำนวน20ตวั แยกใสข่ วดพลาสตกิ 2ขวดอยา่ งละ 10 ตัว โดยเจาะรูที่ฝาเพ่ือใหม้ ีอากาศเข้าไป
8. นำสเปรย์สมนุ ไพรท่ีได้นน้ั ไปฉีดลงในขวดที่มมี ดดำอยู่ โดย สเปรย์ขวดท่ี1 กบั ชามใบท1่ี สเปรย์ขวดท่2ี กบั

ชามใบท2่ี
9. ทิง้ ไว้เปน็ เวลา1คืนและรุง่ เชา้ มาสงั เกตผล

บทท่ี4
ผลการศกึ ษา

จากการทดลองสมุนไพรไล่มดปรากฏวา่ สเปรยช์ นดิ ที่ 1 สามารถไล่มดไดด้ ีกวา่ ชนิดท่ี 2
สรปุ ไดด้ งั ตาราง

ตารางที่ 1 ตารางบันทกึ ผลการฉีดสเปรยไ์ ลม่ ดท้ัง2 ชนดิ

ชนิดของสเปรย์ กอ่ นฉีดสเปรย์ หลังฉีดสเปรย์
สเปรย์ชนดิ ท่ี 1 มดหายไป 6ตัว ตาย 4ตวั
มมี ดทงั้ หมด 10 ตัว ทมี่ ากิน
น้ำหวาน ท่นี ำไปวางไว้

สเปรย์ชนดิ ท่ี 2 มีมดทงั้ หมด 10 ตวั ทม่ี ากิน มดหายไป 2ตัว เหลืออยู่ 8ตวั
น้ำหวาน ทีน่ ำไปวางไว้

จากตารางพบวา่ สเปรย์ชนดิ ที่ 1 ท่ีมสี ่วนผสมของ มะกรูด ขงิ ขมิ้น ตะไคร้สามารถไลม่ ดได้ดกี ว่าสเปรย์
ท่ี 2 ทมี่ สี ่วนผสมของ มะกรดู พรกิ ตะไคร้

แผนภมู แิ สดงการไล่มดของสเปรยท์ ้ัง 2 ชนดิ
แผนภมู แิ สดงการ่ไลมดของสเปร่ยทงั้ 2 ชนิด

2
6

สเปร่ยชนิดท่ี 1 สเปร่ยชนิดท่ี 2

บทที่ 5
อภปิ รายผลการทดลอง ขอ้ เสนอแนะ

อภปิ รายผลการทดลอง
โครงงานวทิ ยาศาสตรเ์ รอื่ งสมนุ ไพรไล่มด จากผลการทดลองฉดี สเปรยก์ ำจดั มดทั้ง 2 ชนิด พบว่า

สเปรย์ชนิดท่ี 1 สามารถไล่มดไดด้ ีกว่าสเปรย์ชนดิ ที่ 2 จงึ สรุปไดว้ ่าสเปรย์ชนดิ ท่ี 1 สามารถไลม่ ดไดด้ กี วา่ สเปรย์
ชนิดที่ 2

ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการใชส้ มุนไพรอ่นื ๆ เพม่ิ เตมิ
2. ควรมีการวางแผนการดำเนินงานให้เปน็ ขัน้ ตอน

อา้ งองิ /บรรณานกุ รม

1. Naphutsaporn วนั จนั ทรท์ ่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 โครงงานสมุนไพรไล่มด
สืบคน้ จาก: http://naphutsaporn22101.blogspot.com

2. PenpitchayaRaksa วนั ศกุ รท์ ี่ 19 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2559 โครงงานสมุนไพรฤทธ์แิ รง ปราบแมลงกวนใจ
สืบค้นจาก:http://samunpraiprapmalangscienceproject.blogspot.com

ภาคผนวก