แผนการ จัดการ เรียน รู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 พ ว

ชื่อ : New สุดยอดแผนการสอน แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง วิทยาศาสตร์ ม.1-6
ชื่อผู้แต่ง :
สำนักพิมพ์ : บริษัท พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำกัด
ขนาดรูปเล่ม :
จำนวนหน้า : หน้า
ราคา/ชุด : 0 บาท
รหัสสินค้า : 978-616-05-3186-8

จุดเด่น/เนื้อหา
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทาง Backward Design
2. มีทั้งแผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยครบทุกหน่วยและแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงครบทุกชั่วโมง
3. กิจกรรมการเรียนรู้ออกแบบให้สามารถสร้างสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์แก่ผู้เรียน ตามเป้าหมายของหลักสูตร
4. มีใบงานและชิ้นงานที่สามารถประเมินผลได้ตามตัวชี้วัดทุกตัวชี้วัด
5. มี Rubrics ประเมินคุณภาพใบงานและชิ้นงานอย่างครบถ้วนและแม่นยำ
6. มีแบบทดสอบ Pre-Test และ Post-Test ที่สามารถวัดผลการเรียนรู้และเพิ่มผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน

แผนการจัดการเรียนรู้ เปน็ เคร่อื งมือสำคญั สำหรบั ครทู ่ีจะทำใหก้ ารจดั การเรียนรบู้ รรลเุ ป้าหมายท่ี

ต้องการ เป็นการวางแผนไว้ล่วงหน้าโดยศึกษาในเรื่อง สาระพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒

และทีแ่ กไ้ ขเพ่มิ เติม หมวด ๓ ระบบการศกึ ษา และ หมวด ๔ แนวการจดั การศกึ ษาทกุ มาตรากรอบของการจัด

การศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เอกสารเกี่ยวกับ

การประกันคุณภาพการศึกษา โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานเอกสารเกี่ยวกับเนื้อหาใน

รายวิชาที่จัดการเรียนรู้ และศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ วิธีการจัดการเรียนรู้แบบต่าง ๆ ซึ่งเน้น

ผู้เรียนเป็นสำคัญและรูปแบบการเรียนรู้ โดยกำหนดให้ใช้รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน.

(ONIE MODEL) ซึ่งมี ๔ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ ๑ การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้

(O : Orientation) ข้นั ตอนท่ี ๒ การแสวงหาข้อมูลและจดั การเรยี นรู้ (N : New ways of learning) ขนั้ ตอน

ที่ ๓ การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้ (I : Implementation) ขั้นตอนที่ ๔ การประเมินผล (E :

Evaluation) แผนการเรยี นรู้จะทำให้ครไู ด้คู่มือการจัดการเรยี นรู้ ทำให้ดำเนินการจดั การเรยี นรู้ได้ครบถ้วนตรง

ตามหลกั สตู รและจัดการเรียนรไู้ ดต้ รงเวลา

ในการจัดทำแผนการเรียนรู้ดังกลา่ ว สำเร็จลงไดด้ ้วยความร่วมมือจากบุคลากร กศน.อำเภอพิบูลมัง
สาหาร ที่ได้เสนอแนะความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ยิ่งต่อการพัฒนาเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ต่อไป
จงึ ขอขอบคุณในความรว่ มมอื มาในโอกาสนี้

นายนิรันดร ยิ่งยนื
ครผู ู้ช่วย

สารบญั หน้า
1
คำอธบิ ายรายวชิ าและรายละเอยี ดคำอธิบายรายวิชา 10
ผลการวิเคราะห์รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า
แผนการจดั การเรียนร้แู บบพบกลมุ่ 21
4๓
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5๓
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 เรื่อง ส่ิงมชี วี ติ และสงิ่ แวดล้อม 10๘
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 เร่อื ง สารเพอ่ื ชวี ิต 13๒
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 เรอ่ื ง แรงและพลังงานเพอ่ื ชวี ิต 14๖
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 เรอ่ื ง ดาราศาสตร์เพ่อื ชวี ติ ดวงดาวเพอ่ื ชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เรอ่ื ง วทิ ยาศาสตร์กบั ชอ่ งทางการประกอบอาชพี 1๖๗
แผนการจัดการเรยี นร้แู บบเรียนรดู้ ้วยตนเอง ๑๗๒
ĒñîÖćøÝĆéÖćøđøĊ÷îøìšĎ ĊŠęǰǰǰĢǰǰđøĂČę Üǰǰǰïøø÷ćÖćý ๑๗๘
แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ǰ๒ǰ đøČĂę Üǰǰǰปรากฎการทางธรรมชาติ

คณะผูจดั ทาํ

คาํ อธิบายรายวชิ า พว 21001 วิทยาศาสตร จํานวน 4 หนวยกติ
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน

มาตรฐานการเรยี นรูระดบั
มีความรูความเขาใจทักษะและเหน็ คณุ คาเกยี่ วกบั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรเทคโนโลยี

ส่ิงมีชีวิตระบบ นเิ วศทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอมในทองถน่ิ และประเทศสารแรงพลังงานกระบวนการ
เปลยี่ นแปลงของโลกและ ดาราศาสตรมจี ติ วทิ ยาศาสตรและนําความรูไปใชประโยชนในการดําเนินชวี ิตและ
การพัฒนาสูอาชีพชางไฟฟา ศกึ ษาและฝกทกั ษะเกย่ี วกบั เรอื่ งตอไปน้ี

1. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยี
ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร กระบวนการทางวิทยาศาสตร วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เจตคติทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และโครงงาน
วิทยาศาสตร

2. สงิ่ มชี ีวิตและส่ิงแวดลอม
เซลล กระบวนการดาํ รงชีวติ ของพืชและสัตว ระบบนิเวศ โลก บรรยากาศ ปรากฏการณ
ทางธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม

3. สารเพื่อชีวิต การจําแนกสาร ธาตแุ ละสารประกอบ สารละลาย กรด-เบส สารและ
ผลิตภัณฑในชวี ิต

4. แรงและพลงั งานเพื่อชีวติ แรงและการใชประโยชนของแรง งานและพลังงาน
5. ดาราศาสตรเพอื่ ชีวติ ดวงดาวกบั ชีวิต
6. วทิ ยาศาสตรกับชองทางในการประกอบอาชพี ความรูเกีย่ วกบั ชางไฟฟา การบรหิ ารจัดการ

และการบริการ โครงงานวทิ ยาศาสตรสูอาชีพ คาํ ศัพททางไฟฟา เพือ่ ใหผูเรียนเกิดความรู
ความเขาใจ ความคิด และทกั ษะ มีความสามารถในการตดั สนิ ใจ นาํ ความรูไปใชในชวี ิตประจาํ วัน
มจี ิตวิทยาศาสตร คุณธรรม จรยิ ธรรม และคานยิ มทเี่ หมาะสม

การจัดประสบการณการเรยี นรู
ใหผเู รียน ศึกษา คนควา สาํ รวจ ตรวจสอบ ทดลอง จาํ แนก อธิบาย อภิปราย นําเสนอดวยการจดั

กระบวนการเรียนรดู วยการพบกลุม การสอนเสริม การเรียนรูดวยตนเอง การรายงาน การศึกษา จากแหลง
เรยี นรู ประสบการณตรงโดยใชสถานการณจริง ปรากฏการณธรรมชาติ และประสบการณจากผูเรยี น

การวัดและประเมินผล
ประเมินจากการสังเกต การอภปิ ราย การสมั ภาษณ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ รายงานการทดลอง การมสี วนรวม

ในกจิ กรรมการเรยี นรู ผลงาน การทดสอบ การประเมิน การนาํ ไปใชประโยชนในชีวิตประจาํ วัน

รายละเอียดคําอธบิ ายรายวิชา พว21001 วทิ ยาศาสตร จํานวน 4 หนวยกิต
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน

มาตรฐานที่การเรยี นรูระดับ
มคี วามรูความเขาใจทักษะและเห็นคณุ คาเก่ยี วกบั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรเทคโนโลยีส่ิงมชี ีวิตระบบนิเวศ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมในทองถน่ิ และประเทศสารแรงพลงั งานกระบวนการเปลยี่ นแปลงของโลก
และดาราศาสตรมีจิตวทิ ยาศาสตรและนําความรูไปใชประโยชนในการดาํ เนินชีวติ และการพฒั นาสูอาชพี ชาง
ไฟฟา

ท่ี หวั เร่อื ง ตัวช้ีวดั เนอื้ หา จำนวน
(ช่ัวโมง)

1 กระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์ และ

เทคโนโลยี

1.1 กระบวนการ 1. อธบิ ายธรรมชาติและความสำคญั 1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5

ทางวิทยาศาสตร์ ของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ 1.1 ความหมายและความสำคัญของ

และเทคโนโลยี 2. อธิบายกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 1.2 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1.2.1 วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์

และเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ได้ 5 ขัน้

3. นำความรู้ และกระบวนการทาง 1.2.2 ทักษะกระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตรไ์ ปใช้แก้ปัญหาตา่ งๆ ได้ วทิ ยาศาสตร์ 13 ทกั ษะ

4. อธบิ ายความหมาย ความสำคญั 1.2.3 เจตคติทางวิทยาศาสตร์

และความสมั พนั ธข์ องเทคโนโลยตี ่อ 6 ลักษณะ

ชวี ิต และสังคมได้ 2. เทคโนโลยี

5. นำความรู้ และเลอื กใช้เทคโนโลยี 2.1 ความหมาย และ

ได้อยา่ งเหมาะสม ความสัมพันธ์ของวทิ ยาศาสตร์และ

6. เลอื กใชว้ ัสดุ และอปุ กรณท์ าง เทคโนโลยตี อ่ ชวี ติ และสังคม

วทิ ยาศาสตรไ์ ดอ้ ย่างถูกต้องและ 2.2 ความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยี

เหมาะสม ในปจั จุบัน

7. เกดิ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2.3 เทคโนโลยีกับการประกอบ

8. มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ อาชีพ และการนำเทคโนโลยไี ปใช้ใน

ชวี ิต

3. วสั ดุ และอุปกรณท์ างวทิ ยาศาสตร์

ท่ี หวั เรือ่ ง ตวั ชีว้ ดั เน้อื หา จำนวน
(ชัว่ โมง)

3.1 ประเภทของวสั ดุและอุปกรณ์

3.2 วิธีใชว้ สั ดุ และอุปกรณ์

1.2 โครงงาน 1. อธิบายประเภท เลือกหัวข้อ 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ 5

วิทยาศาสตร์ วางแผน วธิ ีทำ นำเสนอและ 1.1 ประเภทของโครงงาน

ประโยชนข์ องโครงงานได้ 1.2 การเลอื กหวั ขอ้ โครงงาน

2. วางแผนการทำโครงงานได้ 1.3 การวางแผนการกระทำ

3. ทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์กลมุ่ ได้ โครงงาน

4. อธบิ ายและบอกแนวได้ในการนำ 1.4 การนำเสนอโครงงาน

ผลจากโครงงานไปใช้ได้ 1.5 ประโยชน์ของโครงงานเพ่อื

5. นำความร้เู กย่ี วกบั วทิ ยาศาสตร์ การพฒั นาคุณภาพชวี ิต

กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ

โครงงานไปใช้ได้

2 สิ่งมชี วี ิตและ 1. อธบิ ายลกั ษณะ โครงสรา้ ง 1. ลักษณะ รูปร่างของเซลล์พชื และสัตว์ 10

สงิ่ แวดลอ้ ม องคป์ ระกอบ และหน้าทีข่ องเซลลไ์ ด้ 1.1 สงิ่ มีชวี ิตเซลล์เดียว

2.1 เซลล์ 2. เปรยี บเทียบความแตกต่างระหวา่ ง 1.2 สิง่ มชี วี ิตหลายเซลล์

เซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ได้ 2. องค์ประกอบโครงสรา้ ง และหน้าท่ี

ของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์

3. กระบวนการทสี่ ารผา่ นเซลล์

3.1 การแพร่

3.2 การออสโมซิส

2.2 กระบวนการ 1. อธิบายกระบวนการแพรแ่ ละ 1. การดำรงชีวิตของพืช 20

ดำรงชีวิตของพชื ออสโมซิสได้ 1.1 ระบบการลำเลยี งนำ้ อาหาร

และสตั ว์ 2. อธิบายโครงสร้างและการทำงาน และแรธ่ าตขุ องพืช

ของระบบลำเลยี งในพชื ได้ 1.2 โครงสรา้ งและการทำงานของ

3. อธิบายความสำคญั และปัจจัยที่ ระบบลำเลยี งนำ้ ในพืช

จำเปน็ สำหรับกระบวนการสังเคราะห์ 1.3 โครงสรา้ งและการทำงานของ

ด้วยแสงได้ ระบบลำเลยี งอาหารในพชื

4. อธบิ ายโครงสร้างและการทำงานของ 1.4 กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง

ระบบสืบพันธุ์ในพชื ในท้องถ่ินได้

5. อธิบายการทำงานของระบบตา่ งๆ 1.4.1 ความสำคัญของกระบวนการ
ในสัตวไ์ ด้ สงั เคราะห์ดว้ ยแสง

ที่ หัวเรอ่ื ง ตวั ชวี้ ัด เนือ้ หา จำนวน
(ชั่วโมง)

1.4.2 ปจั จัยท่ีจำเป็นสำหรบั

กระบวนการสังเคราะห์

ดว้ ยแสง

1.5 ระบบสืบพันธใุ์ นพืช

1.5.1 โครงสร้างและการทำงาน

ของระบบสืบพันธ์ุของพืชไร้

ดอก

1.5.2 โครงสรา้ งและการทำงาน

ของระบบสืบพันธุ์ของพืชมี

ดอก

2. การดำรงชีวติ ของสตั ว์

2.1 โครงสรา้ งและการทำงานของ

ระบบตา่ งๆ ของสตั ว์

2.1.1 ระบบหายใจ

2.1.2 ระบบยอ่ ยอาหาร

2.1.3 ระบบขบั ถ่าย

2.1.4 ระบบสืบพันธ์ ฯลฯ

2.3 ระบบนิเวศ 1. อธบิ ายเกย่ี วกบั ความสัมพนั ธข์ อง 1. ความสมั พนั ธ์ของส่งิ มีชีวติ ต่างๆ ใน 10

สิ่งมชี วี ิตตา่ งๆ ในระบบนิเวศใน ระบบนเิ วศ

ทอ้ งถิน่ และการถ่ายทอดพลงั งานได้ 2. การถา่ ยทอดพลงั งาน

2. อธบิ ายและเขียนแผนภูมิ แสดง 3. สายใยอาหาร

สายใยอาหารของระบบนเิ วศตา่ งๆ ใน 4. วฏั จกั รของนำ้

ทอ้ งถน่ิ ได้ 5. วฏั จักรคารบ์ อน

3. อธิบายวฏั จักรของนำ้ และคารบ์ อนได้

2.4 โลก 1. บอกสว่ นประกอบและวธิ ีการแบง่ 1.โลก 20

บรรยากาศ ชั้นของโลกได้ 1.1โลก ส่วนประกอบและการ

ปรากฏการณ์ 2. อธิบายการเปลย่ี นแปลงของเปลอื กโลก แบ่งชั้นของโลก

ทางธรรมชาติ โดยกระบวนการต่าง ๆ ได้ 1.2 ทรัพยากรธรณใี นท้องถ่นิ

สง่ิ แวดลอ้ ม และ 3. บอกองค์ประกอบและการแบง่ ชัน้ และประเทศ

ทรัพยากรธรรมชาติ บรรยากาศได้ 1.3 การเปล่ียนแปลงของเปลอื กโลก

4. บอกความหมายและความสำคญั 1.3.1 กระบวนการยกตัว

ของอณุ หภมู ิ และการยบุ ตวั

ที่ หวั เรอื่ ง ตวั ชี้วัด เน้อื หา จำนวน
(ช่ัวโมง)

ความชื้นและความกดอากาศได้ 1.3.2 การผพุ ังอยู่กบั ท่ี

5. อธิบายความสมั พนั ธข์ องอุณหภมู ิ 1.3.3 การกรอ่ น

ความชน้ื และความกดอากาศตอ่ ชวี ิต 1.3.4 การพัดพา

ความเป็นอย่ไู ด้ 1.3.5 การทบั ถม

6. บอกชนิดของลมได้ 1.3.6 กรณศี ึกษาภัยจากการ

7. อธิบายอทิ ธิพลของลมต่อ เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

มนุษยแ์ ละส่ิงแวดล้อมได้ เชน่ แผ่นดินไหวการเกิด

8. บอกวิธกี ารป้องกนั ภยั ท่ีเกดิ จาก ปรากฏการณ์สนึ ามิ

ปรากฏการณท์ างธรรมชาติได้ 2. บรรยากาศ

9. บอกประโยชนข์ องการพยากรณ์ 2.1 ชัน้ บรรยากาศ องค์ประกอบ

อากาศได้ และการแบง่ ชัน้ บรรยากาศ

10. อธบิ าย เกี่ยวกบั สภาพ ปญั หา 2.2 อุณหภมู ิ ความช้นื และความ

การใช้และการแก้ไขสิง่ แวดลอ้ ม และ กดอากาศในทอ้ งถิ่น

ทรพั ยากรธรรมชาติในท้องถ่นิ และ 2.3 ความสัมพนั ธ์ของอณุ หภูมิ

ประเทศ ความช้นื และความกดอากาศ ทีม่ ี

11. อธิบาย สรุปแนวคิดในการรักษา ผลกระทบตอ่ ชีวิตความเปน็ อยู่

สมดุลของระบบนเิ วศ การอนุรกั ษ์ 3. ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ

สิง่ แวดล้อมและการใช้ 3.1 ชนดิ ของลม

ทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่างยั่งยนื ได้ 3.1.1 ลมมรสุม

3.1.2 ลมพายหุ มุน

เขตร้อน ฯลฯ

3.1.3 กรณศี ึกษาการเกดิ พายุ

นากสี พายงุ วงชา้ ง

พายุนาคเลน่ น้ำ ฯลฯ

3.2 อิทธิพลของลมตอ่

มนษุ ย์และสง่ิ แวดลอ้ ม

3.3 การปอ้ งกันภัยท่เี กิดจาก

ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ

3.4 ความสำคญั และประโยชน์

ของการพยากรณ์อากาศ

4. ทรัพยากรธรรมชาติและ

สง่ิ แวดล้อม

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตวั ชีว้ ดั เน้ือหา จำนวน
(ชั่วโมง)
3 สารเพอ่ื ชวี ิต 4.1 การใชแ้ ละปญั หาเก่ยี วกับ
3.1 สารและการ 10
จำแนกสาร ทรพั ยากรธรรมชาตขิ องท้องถิน่ และ

ประเทศ

4.2 การดูแลรักษา

ทรัพยากรธรรมชาตใิ นทอ้ งถ่ิน

4.2.1 ขยะ

4.2.2 นำ้ เสีย

4.2.3 ดินถลม่

4.2.4 การกดั เซาะชายฝั่ง

ฯลฯ

4.3 สภาพสิ่งแวดล้อมในทอ้ งถน่ิ

และประเทศ

4.4 ปัญหาและการแก้ไข

ส่ิงแวดลอ้ มในทอ้ งถ่ินและประเทศ

4.5 การอนรุ ักษส์ ิง่ แวดล้อมและ

การใชท้ รพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างยัง่ ยนื

4.6 สภาวะโลกร้อน สาเหตแุ ละ

ผลกระทบ การปอ้ งกันและแกไ้ ข

ปญั หาโลกร้อน

1. อธบิ ายสมบัติทางกายภาพและ 1. สมบัติของสาร

สมบตั ิทางเคมีได้ 1.1 สมบัติทางกายภาพของสาร

2. อธิบายความแตกตา่ ง และจำแนก 1.2 สมบตั ิทางเคมีของสาร

ธาตุ สารประกอบ สารละลาย และ 2. เกณฑใ์ นการจำแนกสาร

สารผสมได้ 2.1 ใชส้ ถานะ

3. จำแนกสารโดยใชเ้ น้อื สารและ 2.2 ใชเ้ นื้อสาร

สถานะเปน็ เกณฑไ์ ด้ 3. สมบัติของธาตุ สารประกอบ

สารละลาย สารผสม

3.2 ธาตุและ 1. อธิบายและจำแนกธาตุ 1. ความหมายและสมบัติของธาตุ 10
สารประกอบ
สารประกอบ โลหะ อโลหะ และโลหะ กมั มนั ตรงั สี

กงึ่ อโลหะได้ 2. สมบตั ิของโลหะ อโลหะ และโลหะ

2. บอกผลกระทบท่ีเกดิ จากธาตุ กง่ึ อโลหะ

ที่ หวั เร่อื ง ตวั ชี้วดั เนือ้ หา จำนวน
3.3 สารละลาย (ชั่วโมง)

3.4 สารและ กัมมันตรงั สีได้ 3. ธาตกุ มั มนั ตรงั สี
ผลิตภัณฑใ์ นชีวติ
3. อธิบายการเกดิ สารประกอบได้ 4. สารประกอบ

4. บอกธาตุและสารประกอบท่ใี ช้ใน 4.1 ความหมาย

ชีวิตประจำวันได้ 4.2 การเกิดสารประกอบ

4.3 ธาตุและสารในชีวติ ประจำวัน

1. อธบิ ายสมบัติและองค์ประกอบ 1. สารละลาย 10

ของสารละลายได้ 1.1 สมบัติของสารละลาย และ

2. อธบิ ายปัจจยั ทม่ี ีผลต่อการละลาย องค์ประกอบของสารละลาย

ของสารได้ 1.2 ความสามารถในการละลาย

3. หาความเขม้ ขน้ ของสารละลายได้ ของสาร

4. อธิบายและเตรียมสารละลายบาง 1.3 ปจั จยั ทีม่ ีผลต่อการละลายของสาร

ชนดิ ได้ 1.4 ความเข้มข้นของสารละลาย

5. อธิบายและจำแนกกรด เบส และ 1.5 การเตรียมสารละลาย

เกลือได้ 2. กรด-เบส

6. อธบิ ายและตรวจสอบความเป็น 2.1 ความหมายและสมบตั ขิ อง

กรด-เบส ของสารได้ กรด-เบส และเกลอื ได้

7. อธบิ ายการใชก้ รด-เบส บางชนดิ 2.2 ความเป็นกรด-เบสของสาร

ในชวี ิตได้ 2.3 กรด – เบส ของสารใน

ชีวิตประจำวนั

2.4 กรณีศึกษากรด-เบสท่ีมีผลตอ่

คุณสมบัติของดิน

1. อธิบายสาระและสารสงั เคราะห์ได้ 1. สาร 10

2. อธบิ ายการใช้สารและผลติ ภัณฑ์ 1.1 สารอาหาร

ของสารบางชนิดในชีวิตประจำวัน 1.2 สารปรงุ แตง่

และเลอื กใช้ได้ 1.3 สารปนเปอื้ น

3. อธิบายผลกระทบทีเ่ กดิ จากการใช้ 1.4 สารเจอื ปน

สาร และผลติ ภัณฑ์ที่มตี ่อชีวติ และ 1.5 สารพษิ

ส่ิงแวดล้อม 2. สารสงั เคราะห์

2.1 ประเภท และการเกิด

2.2 สมบัติและประโยชน์

3. สารและผลติ ภัณฑ์ที่ใช้ในชีวติ

4. การเลือกใช้สารในชีวติ

ท่ี หวั เรือ่ ง ตวั ชว้ี ดั เนอ้ื หา จำนวน
(ชั่วโมง)

5. ผลกระทบท่ีเกิดจากการใช้สารต่อ

ชวี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม

4 แรงและพลงั งาน

เพอื่ ชวี ิต

4.1 แรงและการใช้ 1. ระบปุ ระเภทและความหมายของ 1. แรง 20

ประโยชน์ แรงประเภทตา่ งๆ ได้ 1.1 ความหมายและหน่วยของ

2. อธิบายการกระทำของแรงและ แรง

โมเมนตข์ องแรงได้ 1.2ผลการกระทำของแรง

3. บอกระบุประโยชนข์ องแรงใน 2.โมเมนต์

ชีวิตประจำวนั ได้ 1.2 ความหมายและ ชนดิ ของ

4. การหาค่าผลจากการกระทบของ โมเมนต์

แรง และโมเมนต์ได้ 2.2 การหาคา่ โมเมนต์

5. ใหค้ วามรู้ในเร่ืองโมเมนต์ใน 2.3 การใชโ้ มเมนต์ใน

ชวี ติ ประจำวนั ได้ ชีวิตประจำวันได้

4.2 งานและ 1. อธิบายความหมายของงานและ 1. ความหมายของงานและพลงั งาน 20

พลงั งาน พลงั งานในรูปแบบต่างๆได้ 2. รปู ของพลงั งาน

2. การตอ่ วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ยได้ 3.ไฟฟ้า

3. ใชก้ ฎของโอหม์ ในการคำนวณได้ 3.1 พลงั งานไฟฟ้า

4. บอกวิธีการอนุรักษแ์ ละประหยัด 3.2 กฎของโอห์ม

พลงั งานได้ 3.3 การตอ่ ความต้านทานแบบต่าง ๆ

5. อธบิ ายสมบัติของแสง พลัง 3.4 การหาคา่ ความต้านทาน

งานความร้อน และนำประโยชน์ 3.5 ไฟฟ้าในชีวิตประจำวนั

ไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ 3.6 การอนรุ ักษ์พลังงานไฟฟ้า

6. อธบิ ายพลังงานทดแทน และเลือก 4. แสง

ใชไ้ ด้ 4.1 แสง และสมบัติของแสง

4.2 เลนส์

4.3 ประโยชน์ และโทษของแสง

5. พลงั งานความร้อน และแหล่งกำเนดิ

5.1 พลงั งานความร้อน และ

แหลง่ กำเนิด

5.2 อณุ หภมู ิ และการวดั

การขยายตัวของวตั ถุ

ท่ี หวั เรอื่ ง ตวั ช้วี ดั เนอื้ หา จำนวน
(ชว่ั โมง)
5 ดาราศาสตร์เพ่ือ
ชีวิต ดวงดาวกบั 5.3 การนำไปใชป้ ระโยชน์
ชีวติ
5.4 พลงั งานทดแทนและ

การใช้ประโยชน์ เชน่ เอททานอล

ไบโอดีเซล พลงั งานนิวเคลียร์ฯลฯ

1. ระบชุ ่อื ของกลุม่ จักราศไี ด้ 1. กลมุ่ ดาวจกั ราศี 10

2. อธบิ ายวิธีการหาดาวเหนอื ได้ 2. การสงั เกตตำแหน่งของดาวฤกษ์

3. อธบิ ายการใช้แผนทดี่ าวได้ 3. วธิ กี ารหาดาวเหนือ

4. อธบิ ายประโยชน์จากกลุ่มดาวฤกษ์ 4. แผนทีด่ าว

ต่อการดำรงชีวติ ประจำวนั ได้ 5. การใช้ประโยชน์จากกล่มุ ดาวฤกษ์

6 วิทยาศาสตรกับ อธิบาย การออกแบบ วางแผน 1. ประเภทของไฟฟา

ชองทางในการ ทดลอง ทดสอบ ปฏบิ ัติการเรอ่ื ง ไฟฟ 2. วสั ดอุ ุปกรณเครื่องมือชางไฟฟา

ประกอบอาชีพ าไดอยางถูกตองและปลอดภยั คิดวิ 3. วัสดอุ ปุ กรณที่ใชในวงจรไฟฟา

(หมายเหตุ : บรู ณา เคราะห เปรยี บเทียบขอดี ขอเสยี ของ 4. การตอวงจรไฟฟาอยางงาย

การใชเวลา การตอวงจรไฟฟา แบบอนกุ รม แบบ 5. กฎของโอหม

การเรียนการสอน ขนาน แบบผสม ประยุกต์ และเลือก 6. การเดนิ สายไฟฟาอยางงาย

ในมาตรฐานการ ใชความรูและอาชพี ชางไฟฟา้ ให 7. การใชเคร่ืองใชไฟฟาอยางงาย

เรยี นรู เรอื่ ง แรง เหมาะสมกบั ดาน บรหิ ารจัดการและ 8. ความปลอดภยั และอุบตั ิเหตุ จาก

และ พลังงานเพือ่ การบริการ อาชพี ชางไฟฟา

ชีวติ ในหัวขอ 9. การบรหิ ารจัดการและกาบรกิ าร

พลงั งาน ไฟฟา 10. โครงงานวิทยาศาสตรสูอาชพี

10 ชั่วโมง) 11. คําศพั ททางไฟฟา

10

ผลการวิเคราะห์รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ าวิทยาศาสตร์ พว21001

ท่ี ตวั ชีว้ ดั เนอ้ื หา จำนวน ออกแบบแผนการจัดการ

(ชั่วโมง) เรยี นรู้

พบกลุม่ เรียนรู้ดว้ ย

ตนเอง

1 1. อธิบายธรรมชาตแิ ละ 1. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 5

ความสำคญั ของวิทยาศาสตร์ 1.1 ความหมายและความสำคญั

และเทคโนโลยี ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี √

2. อธิบายกระบวนการทาง 1.2 กระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตร์ วธิ ีการทาง วิทยาศาสตร์

วทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการ 1.2.1 วิธกี ารทาง

ทางวทิ ยาศาสตร์และเจตคตทิ าง วิทยาศาสตร์ 5 ขั้น

วทิ ยาศาสตร์ 1.2.2 ทักษะกระบวนการทาง √

3. นำความรู้ และกระบวนการ วิทยาศาสตร์ 13 ทกั ษะ

ทางวทิ ยาศาสตรไ์ ปใช้แก้ปัญหา 1.2.3 เจตคตทิ าง

ตา่ งๆ วิทยาศาสตร์ 6 ลกั ษณะ

4. เกิดเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 1.2.4 จติ วิทยาศาสตร์

5.มจี ติ วิทยาศาสตร์ 2. เทคโนโลยี √

6. อธิบายความหมาย 2.1 ความหมาย และ

ความสำคญั และความสัมพนั ธ์ ความสมั พนั ธข์ องวิทยาศาสตร์และ √

ของเทคโนโลยตี ่อชีวิตและสังคม เทคโนโลยตี อ่ ชวี ิตและสงั คม

7. นำความรู้ และเลอื กใช้ 2.2 ความกา้ วหนา้ ของ

เทคโนโลยไี ดอ้ ย่างเหมาะสม เทคโนโลยีในปัจจุบัน

8. เลอื กใช้วัสดุ และอปุ กรณท์ าง 2.3 เทคโนโลยีกับการประกอบ √

วิทยาศาสตร์ไดอ้ ย่างถูกต้องและ อาชพี และการนำเทคโนโลยีไปใช้

เหมาะสม ในชวี ิต

3. วสั ดุ และอปุ กรณท์ าง √

วทิ ยาศาสตร์

3.1 ประเภทของวสั ดุและอุปกรณ์

3.2 วิธใี ชว้ ัสดุและอปุ กรณ์ √

11

ที่ ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา จำนวน ออกแบบแผนการจดั การ
(ชั่วโมง) เรียนรู้
1. อธบิ ายประเภท เลอื กหัวข้อ 1. โครงงานวทิ ยาศาสตร์
5 พบกลุม่ เรยี นร้ดู ้วย
ตนเอง
วางแผน วธิ ที ำ นำเสนอและ 1.1 ประเภทของโครงงาน

ประโยชนข์ องโครงงาน 1.2 การเลือกหวั ข้อโครงงาน √

2. วางแผนการทำโครงงาน 1.3 การวางแผนการทำโครงงาน √

3. ทำโครงงานวิทยาศาสตร์กล่มุ 1.4 การนำเสนอโครงงาน

4. อธิบายและบอกแนวไดใ้ นการ 1.5 ประโยชนข์ องโครงงานเพ่อื

นำผลจากโครงงานไปใช้ การพัฒนาคุณภาพชีวิต

5. นำความรเู้ กย่ี วกับ

วิทยาศาสตร์ กระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตรแ์ ละโครงงานไปใช้

2 1. อธิบายลักษณะ โครงสร้าง 1. ลกั ษณะ รูปรา่ งของเซลล์พชื √
องค์ประกอบ และหน้าทข่ี อง และสตั ว์ √
เซลล์ √
2. เปรยี บเทยี บความแตกต่าง 1.1 สิ่งมชี ีวิตเซลล์เดยี ว
ระหวา่ งเซลลพ์ ชื และเซลล์สัตว์ 1.2 ส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ √
2. องคป์ ระกอบโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ี √
ของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์
3. กระบวนการทส่ี ารผา่ นเซลล์
3.1 การแพร่
3.2 การออสโมซสิ

12

ที่ ตวั ช้ีวัด เน้อื หา จำนวน ออกแบบแผนการจดั การ

(ชวั่ โมง) เรียนรู้

พบกลุม่ เรยี นรู้ด้วย

ตนเอง

1. อธบิ ายกระบวนการแพร่ 1. การดำรงชวี ิตของพืช 20 √

และออสโมซิส 1.1 ระบบการลำเลยี งน้ำ

2. อธบิ ายโครงสร้างและการ อาหาร และแรธ่ าตุของพชื

ทำงานของระบบลำเลยี งในพืช 1.2 โครงสร้างและการทำงาน √

3. อธิบายความสำคัญและปจั จยั ของระบบลำเลียงนำ้ ในพืช

ทจี่ ำเปน็ สำหรบั กระบวนการ 1.3 โครงสร้างและการทำงาน

สังเคราะหด์ ว้ ยแสง ของระบบลำเลยี งอาหารในพืช √

4. อธิบายโครงสร้างและการ 1.4 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

ทำงานของระบบสืบพันธพ์ุ ชื ใน 1.4.1ความสำคัญของ

ท้องถน่ิ กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง

5. อธิบายการทำงานของระบบ 1.4.2 ปจั จัยท่ีจำเปน็ √

ต่างๆ ในสัตว์ สำหรบั กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ย

แสง √

1.5 ระบบสบื พันธุ์ในพืช

1.5.1โครงสรา้ งและการทำงาน

ของระบบสบื พนั ธข์ุ องพืชไรด้ อก √

1.5.2โครงสรา้ งและการทำงาน

ของระบบสบื พันธ์ุของพชื มดี อก

2. การดำรงชีวิตของสตั ว์ √

2.1 โครงสรา้ งและการทำงาน

ของระบบต่างๆ ของสตั ว์ √

2.1.1 ระบบหายใจ

2.1.2 ระบบยอ่ ยอาหาร √

2.1.3 ระบบขับถ่าย

2.1.4 ระบบสบื พนั ธ์ ฯลฯ √

13

ที่ ตวั ชว้ี ดั เนอ้ื หา จำนวน ออกแบบแผนการจัดการ

(ชั่วโมง) เรยี นรู้

พบกล่มุ เรียนรูด้ ว้ ย

ตนเอง

1. อธิบายเก่ียวกบั ความสัมพันธ์ 1. ความสมั พันธ์ของส่งิ มชี ีวิตต่างๆ 10 √

ของสง่ิ มชี วี ิตต่างๆ ในระบบนิเวศ ในระบบนิเวศ

ในท้องถนิ่ และการถา่ ยทอด 2. การถา่ ยทอดพลงั งาน √

พลังงาน 3. สายใยอาหาร √

2. อธบิ ายและเขียนแผนภูมิ 4. วฏั จักรของน้ำ

แสดงสายใยอาหารของระบบ 5. วฏั จกั รคาร์บอน

นเิ วศตา่ งๆ ในทอ้ งถน่ิ

3. อธิบายวัฏจกั รของนำ้ และ

คาร์บอน

14

ที่ ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา จำนวน ออกแบบแผนการจัดการ

(ชั่วโมง) เรียนรู้

พบกลมุ่ เรียนรู้ด้วย

ตนเอง

1. บอกสว่ นประกอบและวธิ ีการ 1.โลก 20 √

แบ่งชัน้ ของโลก 1.1โลก ส่วนประกอบและการ √

2. อธบิ ายการเปลยี่ นแปลงของ แบง่ ชน้ั ของโลก

เปลอื กโลกโดยกระบวนการ 1.2 ทรัพยากรธรณใี นทอ้ งถิน่ √

ตา่ งๆ และประเทศ

3. บอกองคป์ ระกอบและการ 1.3 การเปล่ียนแปลงของเปลือกโลก √

แบง่ ชัน้ บรรยากาศ 1.3.1 กระบวนการยกตัว √

4. บอกความหมายและ และการยุบตวั

ความสำคัญของอุณหภูมิ 1.3.2 การผพุ ังอยูก่ ับท่ี √

ความชืน้ และความกดอากาศ 1.3.3 การกรอ่ น √

5. อธิบายความสัมพนั ธ์ของ 1.3.4 การพัดพา √

อณุ หภมู ิ ความช้ืนและความกด 1.3.5 การทับถม √

อากาศต่อชวี ิตความเป็นอยู่ 1.3.6 กรณีศกึ ษาภยั จาก √

6. บอกชนิดของลม การเปลยี่ นแปลงของเปลือกโลก

7. อธิบายอิทธพิ ลของลมตอ่ เช่น แผน่ ดนิ ไหว การเกิด √

มนุษยแ์ ละสิง่ แวดล้อม ปรากฏการณ์ สนึ ามิ √

8. บอกวิธกี ารป้องกันภยั ทีเ่ กดิ 2. บรรยากาศ √

จากปรากฏการณท์ างธรรมชาติ 2.1 ช้ันบรรยากาศองค์ประกอบ √

9. บอกประโยชนข์ องการ และการแบง่ ชนั้ บรรยากาศ

พยากรณอ์ ากาศ 2.2 อุณหภูมิ ความชื้น และ √

10. อธิบาย เกย่ี วกับสภาพ ความกดอากาศในท้องถิ่น

ปญั หา การใชแ้ ละการแก้ไข 2.3 ความสมั พนั ธ์ของอณุ หภูมิ

สิง่ แวดล้อม และ ความชนื้ และความกดอากาศ ที่มี

ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถน่ิ ผลกระทบตอ่ ชวี ิตความเป็นอยู่ √

และประเทศ 3. ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ √

11.อธิบาย สรปุ แนวคิดในการ 3.1 ชนิดของลม √

รักษาสมดุลของระบบนเิ วศ การ 3.1.1 ลมมรสุม

อนรุ กั ษส์ ่งิ แวดล้อมและการใช้ 3.1.2 ลมพายหุ มุนเขตร้อน

ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างย่งั ยืน ฯลฯ

15

ที่ ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา จำนวน ออกแบบแผนการจัดการ

(ช่ัวโมง) เรยี นรู้

พบกลุ่ม เรียนรู้ด้วย

ตนเอง

3.1.3 กรณศี ึกษาการเกิด √
พายุนากสี พายุงวงชา้ ง
พายุนาคเลน่ นำ้ ฯลฯ √

3.2 อิทธิพลของลมตอ่ มนุษย์ √
และสิง่ แวดล้อม √

3.3 การปอ้ งกนั ภยั ที่เกิดจาก
ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ √

3.4 ความสำคญั และประโยชน์
ของการพยากรณ์อากาศ
4. ทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อม

4.1 การใชแ้ ละปัญหาเกยี่ วกบั
ทรัพยากรธรรมชาติของท้องถ่นิ และ
ประเทศ

4.2 การดแู ลรกั ษาทรพั ยากร

16

ที่ ตัวช้วี ดั เนอ้ื หา จำนวน ออกแบบแผนการจัดการ
(ช่ัวโมง) เรยี นรู้
3 1. อธบิ ายสมบตั ิทางกายภาพ ธรรมชาติในท้องถิ่น
และสมบตั ิทางเคมี 4.2.1 ขยะ 10 พบกลมุ่ เรียนรู้ดว้ ย
2. อธิบายความแตกต่าง และ 4.2.2 นำ้ เสีย 10 ตนเอง
จำแนกธาตุ สารประกอบ 4.2.3 ดินถล่ม
สารละลาย และสารผสม 4.2.4 การกัดเซาะชายฝ่ัง √
3. จำแนกสารโดยใช้เน้ือสาร ฯลฯ √
และสถานะเป็นเกณฑ์ √
1. อธิบายและจำแนกธาตุ 4.3 สภาพสง่ิ แวดลอ้ มใน √
สารประกอบ โลหะ อโลหะ และ ทอ้ งถน่ิ และประเทศ
โลหะกง่ึ อโลหะ √
2. บอกผลกระทบที่เกดิ จากธาตุ 4.4 ปัญหาและการแกไ้ ข
กมั มนั ตรงั สี ส่ิงแวดลอ้ มในทอ้ งถนิ่ และประเทศ √

4.5 การอนุรักษส์ ิ่งแวดล้อมและการ √
ใชท้ รัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยนื

4.6 สภาวะโลกร้อน สาเหตแุ ละ
ผลกระทบ การป้องกนั และแก้ไข √
ปัญหาโลกรอ้ น √
1.สมบัติของสาร

1.1สมบัตทิ างกายภาพของสาร √
1.2สมบัตทิ างเคมขี องสาร √
2. เกณฑ์ในการจำแนกสาร √
2.1 ใชส้ ถานะ √
2.2 ใช้เนื้อสาร
3. สมบตั ิของธาตุ สารประกอบ √
สารละลาย สารผสม
1. ความหมายและสมบัติของธาตุ √
กัมมันตรังสี
2. สมบตั ิของโลหะ อโลหะ และ √
โลหะกง่ึ อโลหะ
3. ธาตุกมั มันตรังสี

17

ที่ ตัวชีว้ ัด เน้ือหา จำนวน ออกแบบแผนการจัดการ
(ชว่ั โมง) เรยี นรู้
3. อธบิ ายการเกิดสารประกอบ 4. สารประกอบ
4. บอกธาตุและสารประกอบท่ี 4.1 ความหมาย จำนวน พบกลมุ่ เรียนรู้ด้วย
ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน 4.2 การเกิดสารประกอบ (ชั่วโมง) ตนเอง
4.3 ธาตแุ ละสารในชีวิต
ท่ี ตัวชวี้ ดั 10 √
ประจำวนั √
1. อธิบายสมบตั ิและ เนอ้ื หา √
องคป์ ระกอบของสารละลาย √
2. อธิบายปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การ 1. สารละลาย
ละลายของสาร 1.1 สมบตั ขิ องสารละลาย และ ออกแบบแผนการจดั การ
3. หาความเขม้ ข้นของ เรยี นรู้
สารละลาย องค์ประกอบของสารละลาย
4. อธบิ ายและเตรยี มสารละลาย 1.2 ความสามารถในการละลาย พบกลุ่ม เรยี นรู้ด้วย
บางชนิด ตนเอง
5. อธิบายและจำแนกกรด เบส ของสาร
และเกลอื 1.3 ปจั จยั ทมี่ ีผลตอ่ การละลาย √
6. อธิบายและตรวจสอบความ √
เป็นกรด-เบส ของสาร ของสาร
7. อธบิ ายการใช้กรด-เบส บาง 1.4 ความเข้มข้นของ √
ชนดิ ในชีวติ
สารละลาย √
1.5 การเตรียมสารละลาย

2. กรด-เบส √
2.1 ความหมายและสมบตั ขิ อง √

กรด-เบส และเกลือได้
2.2 ความเปน็ กรด-เบสของสาร √
2.3 กรด – เบส ของสารใน √

ชีวิตประจำวนั √
2.4 กรณีศึกษากรด-เบสทมี่ ีผล

ต่อคณุ สมบตั ขิ องดนิ

18

ที่ ตวั ช้ีวัด เนือ้ หา จำนวน ออกแบบแผนการจัดการ
(ชัว่ โมง) เรียนรู้
1. อธิบายสาระและสาร 1. สาร
สังเคราะห์ 1.1 สารอาหาร 10 พบกลมุ่ เรยี นรดู้ ว้ ย
2. อธบิ ายการใช้สารและ 1.2 สารปรงุ แต่ง ตนเอง
ผลิตภัณฑข์ องสารบางชนิด 1.3 สารปนเปอื้ น
ในชวี ิตประจำวนั และ 1.4 สารเจอื ปน √
เลอื กใช้ 1.5 สารพิษ
3. อธิบายผลกระทบทเี่ กิด √
จากการใช้สาร และ 2. สารสังเคราะห์
ผลติ ภัณฑท์ ่ีมตี อ่ ชีวิตและ 2.1 ประเภท และการเกดิ √
สิง่ แวดล้อม 2.2 สมบตั แิ ละประโยชน์

3. สารและผลติ ภัณฑท์ ใ่ี ช้ในชีวติ
4. การเลอื กใช้สารในชวี ติ √
5. ผลกระทบที่เกดิ จากการใช้สารต่อชีวติ
และสิ่งแวดลอ้ ม √

4 1. ระบปุ ระเภทและ 1. แรง 10 √

ความหมายของแรงประเภท 1.1 ความหมายและหน่วยของแรง

ตา่ งๆ 1.2 ผลการกระทำของแรง √

2. อธิบายการกระทำของ 2.โมเมนต์ √

แรงและโมเมนต์ของแรง 2.1 ความหมายและ ชนดิ ของโมเมนต์ √

3. บอกระบปุ ระโยชน์ของ 2.2 การหาค่าโมเมนต์

แรงในชีวติ ประจำวัน 2.3 การใชโ้ มเมนต์ในชวี ิตประจำวันได้

4. การหาคา่ ผลจากการ

กระทบของแรง และ

โมเมนต์

19

5. ให้ความรใู้ นเรอ่ื งโมเมนต์ เน้ือหา จำนวน ออกแบบแผนการจัดการ
ในชีวิตประจำวัน (ชว่ั โมง) เรยี นรู้
ที่ ตวั ช้ีวดั 1. ความหมายของงานและพลงั งาน
2. รูปของพลังงาน 20 พบกลมุ่ เรยี นรดู้ ้วย
1. อธิบายความหมายของงาน 3.ไฟฟ้า ตนเอง
และพลงั งานในรปู แบบต่างๆ √
2. การต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย 3.1 พลังงานไฟฟา้
3. ใชก้ ฎของโอหม์ ในการ 3.2 กฎของโอห์ม √
คำนวณ 3.3 การตอ่ ความตา้ นทานแบบ
4. บอกวธิ ีการอนุรักษแ์ ละ ต่างๆ √
ประหยดั พลังงาน 3.4 การหาค่าความตา้ นทาน √
5. อธิบายสมบัติของแสง พลงั 3.5 ไฟฟา้ ในชีวติ ประจำวัน √
งานความร้อน และนำประโยชน์ 3.6 การอนรุ กั ษพ์ ลงั งานไฟฟ้า
ไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั 4. แสง √
6. อธิบายพลังงานทดแทน 4.1 แสง และสมบัตขิ องแสง
และเลอื กใช้ 4.2 เลนส์ √
4.3 ประโยชน์ และโทษของแสง √
5. พลงั งานความรอ้ น และ √
แหลง่ กำเนิด √
5.1 พลังงานความรอ้ น และ
แหล่งกำเนิด √
5.2 อุณหภมู ิ และการวัด √
การขยายตวั ของวตั ถุ
5.3 การนำไปใช้ประโยชน์ √
5.4 พลงั งานทดแทนและการใช้ √
ประโยชน์ เชน่ เอททานอล ไบโอดเี ซล
พลังงานนิวเคลียร์ฯลฯ √

20

ท่ี ตวั ชว้ี ดั เน้ือหา จำนวน ออกแบบแผนการจัดการ
(ช่วั โมง) เรียนรู้
5 1. ระบุชือ่ ของกลมุ่ จักราศี 1. กลุม่ ดาวจักราศี
2. อธิบายวิธีการหาดาวเหนอื 2. การสงั เกตตำแหน่งของดาวฤกษ์ 10 พบกลุ่ม เรยี นรู้ดว้ ย
3. อธบิ ายการใชแ้ ผนท่ีดาว 3. วธิ ีการหาดาวเหนือ ตนเอง
4. อธิบายประโยชนจ์ ากกลมุ่ 4. แผนท่ีดาว √
ดาวฤกษต์ อ่ การดำรงชวี ติ 5. การใช้ประโยชน์จากกลุ่มดาวฤกษ์ √
ประจำวัน √

6 อธบิ าย การออกแบบ วางแผน 1. ประเภทของไฟฟ้า 10 √

ทดลอง ทดสอบ ปฏบิ ตั กิ าร 2. วัสดอุ ุปกรณ์เครอ่ื งมือช่างไฟฟ้า √ √
√ √
เรอ่ื งไฟฟ้าได้อยา่ งถูกต้องและ 3. วสั ดอุ ุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า √ √
√ √
ปลอดภยั คดิ วเิ คราะห์ 4. การตอ่ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย √

เปรยี บเทยี บข้อดี ข้อ ของการ 5. กฎของโอห์ม √

ตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบอนกุ รม 6. การเดินสายไฟฟ้าอย่างง่าย

แบบขนาน แบบผสม ประยุกต์ 7. การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าอย่างง่าย

และเลือกใช้ความรู้ และ อาชพี 8. ความปลอดภัยและอบุ ัติเหตุ จาก

ชา่ งไฟฟ้า ใหเ้ หมาะสม กับด้าน อาชพี ช่างไฟฟ้า

บริหารจัดการและการบริการ 9. การบรหิ ารจดั การและการบรกิ าร

10. โครงงานวิทยาศาสตร์ส่อู าชพี

11. คาํ ศัพท์ทางไฟฟ้า

21

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชา พว21001 วิทยาศาสตร์

จำนวน 4 หนว่ ยกติ

แบบ พบกลุม่ จำนวน 3 ช่วั โมง

เร่ือง ธรรมชาติทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะทางวทิ ยาศาสตร์

ตัวชวี้ ัด อธบิ ายธรรมชาติและความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เนื้อหา

1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

1.1 ความหมายและความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1.2 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

1.2.1วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ 5 ขัน้

1.2.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทกั ษะ

1.2.3 เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 6 ลักษณะ

1.2.4 จติ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี

ขั้นตอนการจดั กระบวนการเรียนรู้

ข้ันท่ี 1 การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรยี นรู้

1. ครพู ูดคยุ กับนักศกึ ษา ถงึ เทคโนโลยีสมยั ใหม่และสง่ิ อำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต

ของคนเรา เช่น ด้านการสอ่ื สาร เทคโนโลยีดา้ นการแพทย์ เทคโนโลยดี า้ นอวกาศ

ขนั้ ท่ี 2 การแสวงหาข้อมูล และจัดการเรียนรู้

1. ครกู ับผู้เรียนร่วมกันวางแผนการเรยี นรใู้ นเรอื่ ง ธรรมชาตแิ ละความสำคัญของวทิ ยาศาสตร์

และเทคโนโลยี

2. ครสู นทนากบั ผ้เู รียนเกยี่ วกบั ความสำคญั ของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ขั้นที่ 3 การปฏิบตั แิ ละนำไปประยุกตใ์ ช้

1. แบง่ กลุ่มผ้เู รยี นกลุ่มละ 3 คน ให้รว่ มกนั แลกเปล่ียนเรียนรู้ศกึ ษาใบความรู้ เรือ่ ง ธรรมชาติ

ทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ แล้วทำกจิ กรรมในใบงาน

2. ผเู้ รียนแต่ละกลุ่มรว่ มกนั สรปุ กิจกรรมจากใบความรู้ ครูกับผเู้ รยี นร่วมกนั สรุป ความรู้ ที่

ไดร้ ับ

ข้ันที่ 4 การประเมินผล

1. ครแู ละผู้เรยี นรว่ มกันสรุปเร่อื งกระบวนทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์

2. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบย่อย

22

สื่อการเรยี นรู้
1. ใบความรู้
2. ใบงาน
3. อปุ กรณก์ ารวาดภาพ
4. เครื่องมือวทิ ยาศาสตร์

การวัดและประเมินผล
1. แบบทดสอบ
2. ใบงาน
3. แบบประเมิน

23

บนั ทกึ ผลหลงั การเรียนรู้
ผลทเี่ กิดกบั ผู้เรยี น
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ปัญหา/อปุ สรรค
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

.................................................
(.......................................)

กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………….......................................
...............................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ าร
..................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

......................................................
(.......................................)

24

ใบความรู้
เรอื่ ง ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์

วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ เร่อื งของการเรยี นรเู้ ก่ยี วกับธรรมชาติ โดยมนษุ ยใ์ ช้กระบวนการสงั เกต
สำรวจ ตรวจสอบ ทดลองเก่ยี วกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และนำผลมาจัดเป็นระบบหลักการ
แนวคดิ และทฤษฎี แนวคดิ และทฤษฎี ดังนัน้ ทักษะวทิ ยาศาสตร์ จึงเป็นการปฏบิ ัติเพอ่ื ใหไ้ ด้มาซงึ่
คำตอบในข้อสงสัยหรอื ข้อสมมติฐานต่าง ๆ ของมนษุ ย์ตั้งไว้
ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์ ประกอบด้วย

1. การสังเกตเป็นวธิ ีการได้มาของขอ้ สงสยั รบั รู้ข้อมูล พจิ ารณาข้อมลู จากปรากฏการณท์ าง
ธรรมชาตทิ ีเ่ กิดขึ้น

2. ตง้ั สมมติฐานเป็นการการระดมความคิด สรปุ สิ่งที่คาดว่าจะเปน็ คำตอบของปัญหาหรอื
ข้อสงสัยนัน้ ๆ

3. ออกแบบการทดลองเพ่ือศึกษาผลของตวั แปรท่ีต้องศกึ ษาโดยควบคมุ ตวั แปรอื่น ๆ ท่ี
อาจมผี ลตอ่ ตัวแปรที่ตอ้ งการศกึ ษา

4. ดำเนินการทดลองเปน็ การจกั กระทำกบั ตัวแปรที่กำหนดซง่ึ ไดแ้ ก่ ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม และ
ตัวแปรทตี่ อ้ งควบคุม

5. รวบรวมข้อมลู เป็นการบนั ทึกรวบรวมผลการทดลองหรือผลจากการกระทำของตวั แปร ท่ี
กำหนด

6. แปลและสรปุ ผลการทดลอง
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย 13 ทกั ษะ ดงั นี้

1. ทกั ษะข้ันมลู ฐาน 8 ทักษะ ไดแ้ ก่
1.1 ทกั ษะการสังเกต ( Observing )
1.2 ทักษะการวัด ( Measuring )
1.3 ทกั ษะการจำแนกหรือทกั ษะการจัดประเภทสิ่งของ ( Classifying )
1.4 ทักษะการใช้ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา( Using Space/Relationship )
1.5 ทกั ษะการคำนวณและการใช้จำนวน ( Using Numbers )
1.6 ทักษะการจัดกระทำและสอื่ ความหมายข้อมูล ( Communication )
1.7 ทักษะการลงความเห็นจากขอ้ มูล ( Inferring )
1.8 ทักษะการพยากรณ์ ( Predicting )

25

2. ทกั ษะขน้ั สงู หรือทกั ษะขัน้ ผสม 5 ทกั ษะ ไดแ้ ก่
2.1ทักษะการตง้ั สมมตุ ิฐาน ( Formulating Hypothesis )
2.2ทกั ษะการควบคมุ ตวั แปร ( Controlling Variables )
2.3ทักษะการตีความและลงขอ้ สรปุ ( Interpreting data )
2.4ทักษะการกำหนดนิยามเชงิ ปฏิบตั ิการ ( Defining Operationally )
2.5ทักษะการทดลอง ( Experimenting )

รายละเอยี ดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทงั้ 13 ทกั ษะ มีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้
ทักษะการสังเกต (Observing) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสท้ัง 5 ในการสังเกต ได้แก่

ใช้ตาดูรูปร่าง ใช้หูฟังเสียง ใช้ล้ินชิมรส ใช้จมูกดมกลิ่น และใช้ผิวกายสัมผัสความร้อนเย็น หรือใช้มือ
จับต้องความอ่อนแข็ง เป็นต้น การใช้ประสาทสัมผัสเหล่าน้ีจะใช้ทีละอย่างหรือหลายอย่างพร้อมกัน
เพ่อื รวบรวมข้อมูลก็ได้โดยไมเ่ พ่ิมความคิดเหน็ ของผสู้ ังเกตลงไป

ทักษะการวัด (Measuring) หมายถึง การเลือกและการใช้เครื่องมือวัดปริมาณของส่ิงของ
ออกมาเป็นตัวเลขที่แน่นอนได้อย่างเหมาะสม และถูกต้องโดยมีหน่วยกำกับเสมอในการวัดเพ่ือหา
ปรมิ าณของสง่ิ ที่วัดตอ้ งฝึกใหผ้ เู้ รียนหาคำตอบ 4 คา่ คือ จะวัดอะไร วัดทำไม ใชเ้ คร่อื งมอื อะไรวดั และ
จะวัดได้อย่างไร

ทกั ษะการจำแนกหรอื ทักษะการจัดประเภทสิ่งของ (Classifying) หมายถงึ การแบ่งพวก
หรือการเรียงลำดับวัตถุ หรือส่ิงที่อยู่ในปรากฏการณ์โดยการหาเกณฑ์หรือสร้างเกณฑ์ในการจำแนก
ประเภท ซ่ึงอาจใช้เกณฑ์ความเหมือนกัน ความแตกต่างกัน หรอื ความสมั พันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่งก็
ได้ ซ่ึงแล้วแต่ผู้เรียนจะเลือกใช้เกณฑ์ใด นอกจากนี้ควรสร้างความคิดรวบยอดให้เกิดข้ึนด้วยว่าของ
กลมุ่ เดียวกันนนั้ อาจแบ่งออกได้หลายประเภท ทงั้ น้ีข้ึนอยูก่ ับเกณฑ์ทีเ่ ลือกใช้ และวัตถชุ น้ิ หน่งึ ในเวลา
เดยี วกันจะตอ้ งอยเู่ พียงประเภทเดียวเท่านั้น

ทักษะการใช้ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา (Using Space/Relationship)
หมายถึง การหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติต่างๆ ท่ีเก่ียวกับสถานที่ รูปทรง ทิศทาง ระยะทาง พ้ืนท่ี
เวลา ฯลฯ เช่น การหาความสมั พันธร์ ะหว่าง สเปสกับสเปส คือ การหารูปรา่ งของวัตถุโดยสังเกตจาก
เงาของวัตถุ เมื่อให้แสงตกกระทบวัตถใุ นมุมตา่ งๆกัน ฯลฯ

การหาความสัมพันธ์ระหว่าง เวลากับเวลา เช่น การหาความสัมพันธ์ระหว่างจังหวะ
การแกว่งของลูกตมุ้ นาฬกิ ากบั จงั หวะการเต้นของชีพจร ฯลฯ

การหาความสัมพันธ์ระหว่าง สเปสกับเวลา เช่น การหาตำแหน่งขอวัตถุที่เคลื่อนท่ีไป
เมื่อเวลาเปล่ียนไป ฯลฯ

ทักษะการคำนวณและการใช้จำนวน (Using Numbers) หมายถงึ การนำเอาจำนวนท่ีได้
จากการวัด การสังเกต และการทดลองมาจัดกระทำให้เกิดค่าใหม่ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร การหา
ค่าเฉลี่ย การหาค่าต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ เพื่อนำค่าท่ีได้จากการคำนวณ ไปใช้ประโยชน์ในการแปล

26

ความหมาย และการลงข้อสรุป ซึ่งในทางวิทยาศาสตร์เราต้องใช้ตัวเลขอยู่ตลอดเวลา เช่น การอ่าน
เทอรโ์ มมิเตอร์ การตวงสารต่าง ๆเปน็ ต้น

ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล (Communication) หมายถึงการนำเอา
ข้อมูล ซ่ึงได้มาจากการสังเกต การทดลอง ฯลฯ มาจัดกระทำเสียใหม่ เช่น นำมาจัดเรียงลำดับ หา
ค่าความถ่ี แยกประเภท คำนวณหาค่าใหม่ นำมาจัดเสนอในรูปแบบใหม่ ตัวอย่างเช่น กราฟ ตาราง
แผนภมู ิ แผนภาพ วงจร ฯลฯ การนำข้อมลู อย่างใดอยา่ งหนึ่ง หรอื หลาย ๆ อยา่ งเชน่ นเี้ รียกวา่ การส่ือ
ความหมายข้อมลู

ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับ
ข้อมูลท่ีมีอยู่อย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิมมาช่วย ข้อมูลอาจจะได้จากการ
สังเกต การวัด การทดลอง การลงความเห็นจากข้อมูลเดียวกันอาจลงความเห็นได้หลายอย่าง

ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การคาดคะเนหาคำตอบล่วงหน้าก่อนการทดลอง
โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การวัด รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรท่ีได้ศึกษามาแล้ว
หรอื อาศยั ประสบการณท์ ี่เกดิ ซำ้ ๆ

ทกั ษะการต้งั สมมตุ ิฐาน (Formulating Hypothesis) หมายถึง การคิดหาค่าคำตอบล่วงหน้า
กอ่ นจะทำการทดลอง โดยอาศยั การสงั เกต ความรู้ ประสบการณ์เดมิ เป็นพื้นฐาน คำตอบท่คี ดิ ลว่ งหน้า
ยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมาก่อน คำตอบที่คิดไว้ล่วงหน้าน้ี มักกล่าวไว้เป็นข้อความท่ีบอก
ความสัมพันธ์ ระหวา่ งตัวแปรต้นกับตัวแปรตามเช่น ถ้าแมลงวันไปไข่บนก้อนเนื้อ หรอื ขยะเปียกแล้ว
จะทำใหเ้ กดิ ตัวหนอน

ทักษะการควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) หมายถึงการควบคุมสิ่งอื่น ๆ นอกเหนือจาก
ตัวแปรอิสระ ท่ีจะทำให้ผลการทดลองคลาดเคล่ือน ถ้าหากว่าไม่ควบคุมให้เหมือนๆกัน และเป็นการ
ปอ้ งกันเพื่อมใิ ห้มีขอ้ โตแ้ ยง้ ข้อผดิ พลาดหรือตัดความไมน่ ่าเช่ือถอื ออกไป

ตัวแปรแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ
1. ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น
2. ตวั แปรตาม
3. ตัวแปรทตี่ อ้ งควบคมุ

27

ทักษะการตีความและลงขอ้ สรปุ ( Interpreting data )
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของลักษณะตาราง รูปภาพ กราฟ ฯลฯ

การนำขอ้ มูลไปใชจ้ ึงจำเปน็ ต้องตีความใหส้ ะดวกทจี่ ะส่อื ความหมายได้ถูกต้องและเข้าใจตรงกนั
การตคี วามหมายข้อมูล คือ การบรรยายลกั ษณะและคณุ สมบัติ
การลงข้อสรุป คือ การบอกความสมั พันธ์ของข้อมูลที่มีอยู่ เชน่ ถ้า ความดันน้อย น้ำจะ

เดอื ด ท่อี ุณหภมู ิตำ่ หรือน้ำจะเดอื ดเร็ว ถ้าความดนั มากนำ้ จะเดอื ดทอ่ี ุณหภมู ิสงู หรือนำ้ จะเดอื ดชา้ ลง
ทกั ษะการกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Defining Operationally) หมายถึง การกำหนด

ความหมาย และขอบเขตของคำต่าง ๆท่ีมีอยู่ในสมมุติฐานที่จะทดลองให้มีความรัดกุม เป็นที่เข้าใจ
ตรงกันและสามารถสังเกตและวัดได้ เช่น “การเจรญิ เตบิ โต” หมายความว่าอยา่ งไร ต้องกำหนดนยิ าม
ใหช้ ัดเจน เชน่ การเจริญเตบิ โดหมายถงึ มีความสงู เพิม่ ขึน้ เป็นตน้

ทักษะการทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบตั ิการโดยใช้ทักษะต่าง ๆ
เชน่ การสงั เกต การวดั การพยากรณ์ การต้ังสมมุตฐิ าน ฯลฯ มาใช้ร่วมกันเพ่ือหาคำตอบ หรือทดลอง
สมมุตฐิ านทต่ี งั้ ไว้ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม 3 ขน้ั ตอน

1. การออกแบบการทดลอง
2. การปฏบิ ัติการทดลอง
3. การบันทกึ ผลการทดลอง
การใช้กระบวนการวิทยาศาสตร์ แสวงหาความรู้ หรือแก้ปัญหาอย่างส่ำเสมอ ช่วยพัฒนา
ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ เกิดผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ เกิดผลผลิตหรือ
ผลติ ภณั ฑท์ างวิทยาศาสตร์ ทแ่ี ปลกใหม่ และมคี ณุ ค่าต่อการดำรงชีวติ ของมนษุ ย์มากขน้ึ
คณุ ลักษณะของบุคคลท่ีมีจิตวทิ ยาศาสตร์ 6 ลักษณะ
1. เปน็ คนทม่ี ีเหตุผล
1) จะต้องเปน็ คนทยี่ อมรับ และเชื่อในความสำคัญของเหตผุ ล
2) ไมเ่ ชอ่ื โชคลาง คำทำนาย หรือสิ่งศกั ดสิ์ ทิ ธต์ิ ่าง ๆ
3) คน้ หาสาเหตุของปัญหาหรือเหตกุ ารณ์และหาความสัมพันธข์ องสาเหตุกับผลทเี่ กิดขึน้
4) ตอ้ งเป็นบุคคลท่สี นใจปรากฏการณต์ ่าง ๆ ที่เกิดขนึ้ และจะต้องเป็นบคุ คลท่ีพยายาม

ค้นหาคำตอบว่า ปรากฏการณ์ต่าง ๆ น้ันเกิดขึ้นได้อย่างไร และทำไมจึงเกิด
เหตกุ ารณ์เช่นนน้ั
2. เปน็ คนท่มี ีความอยากร้อู ยากเห็น
1) มีความพยายามทีจ่ ะเสาะแสวงหาความร้ใู นสถานการณใ์ หม่ ๆ อยู่เสมอ
2) ตระหนกั ถึงความสำคัญของการแสวงหาข้อมูลเพ่มิ เติมเสมอ
3) จะต้องเป็นบคุ คลท่ีชอบซกั ถาม ค้นหาความรู้โดยวธิ กี ารต่าง ๆ อยูเ่ สมอ
3. เปน็ บคุ คลทม่ี ใี จกวา้ ง
1) เป็นบุคคลที่กล้ายอมรับการวพิ ากษ์วจิ ารณจ์ ากบุคคลอ่นื

28

2) เป็นบคุ คลที่จะรบั ร้แู ละยอมรบั ความคดิ เห็นใหม่ ๆ อยู่เสมอ
3) เปน็ บุคคลที่เต็มใจท่ีจะเผยแพร่ความรู้และความคดิ ใหแ้ ก่บคุ คลอ่นื
4) ตระหนกั และยอมรับขอ้ จำกดั ของความรู้ท่ีค้นพบในปจั จุบัน
4. เปน็ บุคคลท่ีมคี วามซอื่ สตั ย์ และมใี จเป็นกลาง
1) เปน็ บคุ คลทม่ี ีความซอ่ื ตรง อดทน ยุติธรรม และละเอยี ดรอบคอบ
2) เป็นบคุ คลทีม่ ีความมัน่ คง หนักแน่นต่อผลท่ีไดจ้ ากการพสิ ูจน์
3) สังเกตและบันทกึ ผลตา่ ง ๆ อย่างตรงไปตรงมา ไม่ลำเอียง และมีอคติ
5. มีความเพียรพยายาม
1) ทำกิจกรรมทไ่ี ด้รบั มอบหมายให้เสร็จสมบรู ณ์
2) ไมท่ อ้ ถอยเม่อื ผลการทดลองล้มเหลว หรอื มีอุปสรรค
3) มีความตง้ั ใจแน่วแนต่ อ่ การค้นหาความรู้
6. มีความละเอียดรอบคอบ
1) รู้จกั ใช้วิจารณญาณกอ่ นท่ีจะตัดสินใจใด ๆ
2) ไม่ยอมรบั สิ่งหนึ่งสง่ิ ใดจนกว่าจะมกี ารพสิ ูจนท์ ี่เชือ่ ถอื ได้
3) หลีกเลย่ี งการตัดสนิ ใจ และการสรปุ ผลทย่ี งั ไม่มีการวเิ คราะห์แล้วเป็นอย่างดี

29

ใบงานที่
1. ใหน้ กั ศกึ ษาอธิบายทักษะทางวิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

2. แบ่งกลุม่ และร่วมกันอภิปราย สรุป 6 คณุ ลกั ษณะของบคุ คลที่มจี ติ วิทยาศาสตร์
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

30

แบบทดสอบย่อย
จงนำตวั อักษรหนา้ ทกั ษะต่าง ๆ ไปเติมหน้าข้อทีส่ ัมพันธก์ นั

ก. ทกั ษะการสังเกต
ข. ทกั ษะการวัด
ค. ทักษะการคำนวณ
ง. ทักษะการจำแนกประเภท
จ. ทักษะการทดลอง

............1. ม้ามี 4 ขา สุนัข มี4 ขา ไก่มี 2 ขา นกมี 2 ขา ช้างมี 4 ขา
............2.ด.ญ.วไิ ล วัดอุณหภูมิของอากาศได้ 40 ํC
............3. ด.ญ.อริษากำลังทดสอบวิทยาศาสตร์
............4. ด.ญ. พนิดา กำลังเทสารเคมี
............5. ด.ช. สุบินใช้ตลับเมตรวัดความยาวของสนามตะกร้อ
............6. ด.ญ. อพิจิตรแบ่งผลไม้ได้ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มรสเปรี้ยวและรสหวาน
............7. วรรณนิภา ดภู าพยนตร์วทิ ยาสาสตร์ 3 มติ ิ
............8. ด.ญ. นันทพร หยดสารละลายไอโอดีน ลงบนข้าวเหนียวที่เตรียมไว้
............9. รูปทรงกระบอกมีความสูงประมาณ 4 นิ้ว ผิวเรียบ
............10. นักวิทยาศาสตร์แบ่งพืชออกเป็น 2 พวก คือ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลยี้ งคู่

31

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ า พว21001 วิทยาศาสตร์

จำนวน 4 หนว่ ยกติ

แบบ พบกลุม่ จำนวน 5 ชัว่ โมง

เร่อื ง โครงงานวทิ ยาศาสตร์

ตวั ช้ีวัด 1. อธบิ ายประเภท การเลือกหัวขอ้ วิธดี ำเนินการ และการนำเสนอโครงงาน

2. นำความรู้เกย่ี วกับกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละโครงงานไปใช้

3. เกิดกระบวนการกล่มุ

เนื้อหา

1. ประเภทของโครงงาน

2. การเลือกหวั ข้อโครงงาน

3. การเขียนโครงงาน

4. การวางแผน และการทำโครงงาน

5. การนำเสนอโครงงาน

ขัน้ ตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้

ขัน้ ที่ 1. กำหนดสภาพปญั หา (O : Orientation)

1. ทบทวนความรู้เดิม

2. ครูนำตัวอยา่ งโครงงานวทิ ยาศาสตรม์ าใหผ้ ู้เรียนดู แล้วครแู ละผู้เรยี นร่วมกันสนทนา

เก่ยี วกบั ความหมาย จดุ ประสงค์ ประเภท และการจัดทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์

3. ผู้เรยี นดูแผนภมู ิ วธิ ีการจัดทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ แล้วร่วมกันสนทนาซกั ถามในสิ่งที่

สงสัยครูอธิบายเก่ียวกับการจัดทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ให้ผเู้ รียนเขา้ ใจ

ขั้นที่ 2 แสวงหาข้อมูลและจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (N : New ways of learning)

1. ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน ให้แต่ละกลุ่มวางแผนการจัดทำโครงงาน โดยเลือก

หัวข้อโครงงานท่ีสนใจ และจัดทำเป็นเค้าโครงย่อของโครงงาน เพ่ือนำเสนอให้ครูตรวจ

พจิ ารณา แลว้ นำมาแกไ้ ขปรบั ปรงุ ตามท่ีครูเสนอแนะ

2. ให้แต่ละกลุ่มวางแผนการจัดทำโครงงานโดยมีครูเป็นท่ีปรึกษาและดำเนินการจัดทำ

โครงงานตามที่ได้วางแผนไว้

32

ขน้ั ที่ 3 การปฏบิ ัติและการนำไปประยกุ ตใ์ ช้ (I : Implementation)
1. ตัวแทนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอผลการจัดทำโครงงาน
2. ครูและผู้เรยี นกลมุ่ อนื่ ๆ ร่วมกนั สนทนาซกั ถาม
3. ครูและนักเรียนร่วมกันนำเสนอโครงงาน โดยทำเป็นแผงโครงงาน หรือจัดนิทรรศการ
รว่ มกันภายใน กศน.
4. ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายว่า จะนำความรู้ที่ได้จากการจัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ไปใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจำวันไดอ้ ยา่ งไร

ขน้ั ที่ 4 การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (E : Evaluation)
1. ครูและผู้เรยี นช่วยกนั สรปุ สาระสำคญั ทกุ หวั ขอ้ /ลงในกระดาษรวบรวมส่งเป็นรูปเลม่
2. ประเมินผลการจดั กจิ กรรม

สื่อประกอบการเรียนรู้
1. ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ ท่คี รูนำมาใหน้ กั เรียนดู
2. แผนภมู วิ ธิ ีการจัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์
3. แบบบันทึกเสนอโครงงาน

การวดั ผลและประเมินผล
1. สังเกตการณ์ทำกจิ กรรมของนกั เรยี น
2. ฟังรายงานผลการทำกจิ กรรมของนกั เรียน และตรวจผลงาน

33

บนั ทึกผลหลังการเรยี นรู้
ผลท่เี กิดกบั ผู้เรียน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ปญั หา/อุปสรรค
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

.................................................
(.......................................)

กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………….......................................
...............................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ าร
..................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

......................................................
(.......................................)

34

ใบความรู้

การจดั ทา โครงงานวิทยาศาสตร์

1. ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์
ว่า เป็นการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ของนักเรียนตามความสนใจและระดับความรู้ ความสามารถ
ภายใตว้ ิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่อื ตอบปญั หาทีส่ งสัย ได้ผลงานที่มคี วามสมบรู ณใ์ นตัวเอง

การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมส่งเสริมด้านวิทยาศาสตร์หรือ
เทคโนโลยี โดยผเู้ รียนเป็นผู้วางแผนการศึกษาค้นคว้า ดำเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูล สรุปผล และ
เสนอผลการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ มเี จตคติทางวิทยาศาสตร์ รวมทง้ั ได้
ฝึกฝนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยมีครู อาจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นเพียงผู้คอยให้
คำปรึกษา

2. หลักการของกจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ระบุหลักการท่ีสำคัญของกิจกรรม

โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ไว้ดังนี้
1. เน้นการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง เปิดโอกาสให้นักเรียนริเร่ิมวางแผน และดำเนินการ
ศึกษาด้วยตนเอง โดยมีอาจารยเ์ ปน็ ผ้ชู ีแ้ นะแนวทางและให้คำปรกึ ษา
2. เน้นกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งแต่การกำหนด
ปัญหาหรือเลือกหัวข้อท่ีสนใจ การวางแผนการศึกษาค้นคว้า การรวบรวมข้อมูล หรือ
การทดลอง และการสรุปผลการศึกษาค้นคว้า
3. เนน้ การคิดเป็น ทำเป็น และการแกป้ ญั หาด้วยตนเอง
4. การทำกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์มุ่งฝึกให้นักเรียนเรียนรู้วิธีการศึกษาค้นคว้าและ
แกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง มิได้เน้นการส่งเข้าประกวดเพื่อรับรางวัล

3. จุดม่งุ หมายของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์

35

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ระบจุ ุดมุ่งหมายของการทำโครงงาน
วทิ ยาศาสตร์ ไว้ดงั น้ี

1. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนใช้ความรู้และประสบการณ์เลอื กทำโครงงานวิทยาศาสตร์ตามที่ตนสนใจ
2. เพอื่ ให้ผู้เรยี นไดศ้ กึ ษาค้นควา้ ขอ้ มูลจากแหลง่ ความร้ตู า่ งๆ ดว้ ยตนเอง
3. เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นได้แสดงออกซ่ึงความคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์
4. เพื่อให้ผู้เรียนมเี จตคติทางวทิ ยาศาสตร์ และเห็นคุณคา่ ของการใช้กระบวนการทาง

วิทยาศาสตรใ์ นการแก้ปญั หา
5. เพ่ือให้ผู้เรียนมองเห็นแนวทางในการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแต่ละ

ท้องถิน่

4. ลักษณะที่สาคัญของโครงงานวทิ ยาศาสตร์

1. เป็นเรอ่ื งท่ีนักเรียนสนใจ สงสัย ตอ้ งการหาคำตอบ
2. เปน็ การเรียนรู้ท่มี กี ระบวนการ มรี ะบบ ครบกระบวนการ
3. เปน็ การบรู ณาการการเรียนรู้
4. นักเรยี นได้ใช้ความรู้หลายดา้ น
5. มคี วามสอดคลอ้ งกบั ชวี ติ จรงิ
6. มีการศกึ ษาอย่างล่มุ ลกึ ดว้ ยวธิ กี ารและแหลง่ ข้อมลู อยา่ งหลากหลาย
7. เปน็ การแสวงหาความรู้และสรปุ ความรู้ด้วยตนเอง
8. มกี ารนำเสนอโครงงานด้วยวิธกี ารทเ่ี หมาะสม ในดา้ นกระบวนการและผลงานท่ีคน้ พบ
9. ขอ้ ค้นพบและสิง่ ที่คน้ พบ สามารถนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

5. ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์

โครงงานวิทยาศาสตร์ แบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ ดงั น้ี
1. โครงงานประเภทสำรวจรวบรวมขอ้ มูล

36

การสำรวจรวบรวมขอ้ มลู บางอย่างเพ่ือจำแนกหมวดหมู่ โครงงานประเภทนไ้ี มก่ ำหนดตัว
แปรในการเก็บข้อมูล อาจเป็นการสำรวจในภาคสนาม หรือในธรรมชาติ หรือนำมาศึกษาใน
ห้องปฏิบตั กิ าร เพ่ือนำไปใชศ้ ึกษาทดลองตอ่ ตวั อย่างของโครงงานประเภทนี้ เช่น

การสำรวจพืชพนั ธุ์ไม้ในโรงเรียนหรอื ในท้องถ่ิน
การสำรวจพฤติกรรมดา้ นต่างๆ ของสตั ว์
การสำรวจปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มในชุมชน
การศกึ ษาวฏั จกั รชวี ิตของสัตว์ชนิดใดชนดิ หนง่ึ
การศกึ ษาลักษณะของสภาพอากาศในทอ้ งถิ่น
2. โครงงานประเภททดลอง
โครงงานที่มลี ักษณะออกแบบการทดลอง เพอื่ ศึกษาผลของตวั แปรตัวหน่งึ โดยควบคมุ ตัว
แปรอื่นๆ โครงงานประเภทนี้นักเรยี นจะได้แก้ปัญหา ปฏิบัติจริงกับปัญหาหรือข้อสงสัยของนักเรียน
ดำเนินการอบรม ทดลอง สรุปผล วิเคราะห์ผลท่ีได้ออกมา ซ่ึงจะเป็นการใช้ทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์อย่างสมบูรณ์ ตัวอย่างของโครงงานประเภทนี้ เชน่
ศึกษาการตดั ใบขา้ วโพดท่ีมีผลกระทบตอ่ การเจริญเติบโตและผลผลติ
การปอ้ งกันการเปน็ หนอนของปลาเคม็ โดยใช้สารสกดั จากพชื ทีม่ รี สขม
การทำยากนั ยงุ จากพืชในทอ้ งถ่ิน
การใชม้ ูลววั ป้องกันววั กินใบพืช
การบงั คบั ผลแตงโมเป็นรปู ส่ีเหลี่ยม
3. โครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์
โครงงานประเภทนี้ เป็นการประดษิ ฐ์สิ่งใดส่งิ หนึ่ง เครื่องมอื เครอ่ื งใชห้ รืออุปกรณ์ เพื่อใช้
สอยต่างๆ สิ่งประดิษฐ์อาจคิดข้ึนมาใหม่ ปรับปรุง หรือสร้างแบบจำลอง โดยประยุกต์หลักการทาง
วิทยาศาสตร์ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีการกำหนดตัวแปรท่ีจะศึกษาและทดสอบ
ประสิทธิภาพของชิ้นงานด้วย หากนักเรียนประดิษฐ์ช้ินงานข้ึนมาโดยมิได้ใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็นสงิ่ ประดษิ ฐท์ ี่ไม่ใชโ่ ครงงานวิทยาศาสตร์ ตัวอยา่ งโครงงานประเภทสิง่ ประดิษฐ์
เชน่

กรงดักแมลง
เครื่องโรยปุ๋ยยางพารา
เครอ่ื งย่ำยางพารา
เครอ่ื งตไี ขส่ ำหรบั เด็ก
เครือ่ งใหอ้ าหารปลา
เครื่องแยกไข่แดง
ตูอ้ บพลังงานแสงอาทติ ย์ทอู นิ วัน

37

กล่องอบแห้งพลงั งานแสงอาทติ ยร์ ปู ทรงแปดเหลย่ี ม
4. โครงงานประเภททฤษฎี

โครงงานประเภทนี้ เปน็ โครงงานทีเ่ สนอทฤษฎี หลกั การหรือแนวคิดใหมๆ่ ซึง่ อาจอยู่ใน
รูปของสูตร สมการ หรอื คำอธบิ าย โดยผู้เสนอไดต้ ัง้ กตกิ าหรอื ข้อตกลงขน้ึ มาเอง แลว้ เสนอทฤษฎี
หลกั การ แนวความคิด หรือจนิ ตนาการของตนเอง ตามกติกาหรอื ข้อตกลงนนั้ หรอื อาจใช้กติกาหรอื
ข้อตกลงมาอธบิ ายสง่ิ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ ในแนวใหม่

ทฤษฎี หลกั การ แนวความคิด หรือจนิ ตนาการท่ีเสนอน้ี อาจจะใหม่ยงั ไมม่ ใี ครคิดมา
ก่อน หรอื อาจขดั แยง้ กบั ทฤษฎีเดิม หรอื เป็นการขยายทฤษฎีหรอื ความคดิ เดิมกไ็ ด้

การทำโครงงานประเภทนี้ จุดสำคัญอยูท่ ี่ผู้ทำตอ้ งมีความรู้พ้ืนฐานในเร่ืองนน้ั เป็นอย่างดี
จึงจะสามารถเสนอโครงงานประเภทนไี้ ดอ้ ย่างมีเหตผุ ลน่าเชอ่ื ถือ โดยทั่วๆ ไป โครงงานประเภทนี้ มัก
เป็นโครงงานทางคณติ ศาสตร์ หรือวทิ ยาศาสตรบ์ รสิ ทุ ธิ์ ตวั อย่างของโครงงานประเภทนี้ เช่น

การอธิบายอวกาศแนวใหม่
ทฤษฎีของจำนวนเฉพาะ

6. แหล่งทม่ี าของโครงงานวทิ ยาศาสตร์

โครงงานวิทยาศาสตร์ ได้มาจากปัญหาหรือข้อสงสัย ซ่ึงควรจะเป็นปัญหาที่ใกล้ตัวของผู้เรียน

พยายามอย่าให้ผู้เรียนคิดปัญหาที่ไกลตัวเกินความสามารถของเด็กท่ีจะทำได้ ตัวอย่างการได้มาซ่ึง

โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ไดแ้ ก่

• ปญั หาใกลต้ ัว • ปัญหาในท้องถิน่

• ความสนใจส่วนตวั • การสงั เกตส่งิ ต่างๆ ใกล้ตัว

• คำบอกเลา่ ของผู้อ่ืน • การทดลองเลน่

• การทำปฏบิ ตั กิ าร • โครงงานอ่นื ทีเ่ คยมีผทู้ ำไวแ้ ลว้

• การตง้ั คำถามของครใู ห้นักเรยี นคดิ • ฝึกตัง้ ปญั หา

• การทำ Web ระดมความคดิ เพ่อื หาเร่อื งท่จี ะทำโครงงาน

• รวมบทคดั ยอ่ โครงงานวิทยาศาสตร์ และหนงั สอื อ่ืน

7. วิธีทาโครงงานวิทยาศาสตร์

1. กาหนดปัญหา 2. ต้งั สมมุติฐาน 3. ออกแบบการทดลอง

6. นาเสนอ 5. อภิปรายและสรุปผล 4. ทดลอง

38

ข้นั ตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์

1. กาหนดปัญหา  2. ต้ังสมมุตฐิ าน
กาหนดตวั แปรที่สงสยั (ตวั แปรตน้ ) ผล
ต้งั ปัญหาหรือสมมุตฐิ านเกี่ยวกบั ปัญหา ที่
เพือ่

3ต.อบคอาอถกามแบขอบงกปาัญรหทาดนล้นั อง  ตามมาจากการสงสัย (ตวั แปรตาม) และ

เป็ นการบอกความสัมพนั ธ์ระหว่างตัว จะตอ้ งควบคมุ ตวั แปรใดบา้ ง เพ่อื ใหไ้ ด้
แปรท้งั หมดให้เป็ นรูปธรรมซ่ึงสามารถ
ปฏิบตั ิไดจ้ ริงและน่าเชื่อถือว่าจะตอ้ งใช้ ข4อ.้ มูลททดีน่ ล่า อง
ทัก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท าง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
ใดบ้าง จะเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไร เชื่อถเปอื ็น(กตาวั รแปปฏรบิควตั บจิ รคิงุมซ) ่ึงจะตอ้ งทดลอง

5. แอลภะกิปลรุ่มายคแวลบะคสุมรหุปรผือลกลุ่มทดลองเป็ น หลาย ๆ คร้งั อยา่ งนอ้ ยตอ้ ง 3 คร้ัง เพ่ือจะ
ไดผ้ ลท่ีน่าเชื่อถือ การทดลองบางคร้ังผลการ
ผอเูย้ ร่าียงนไรนาขอ้ มูลต่าง ๆ ที่ไดจ้ ากการ ทดลองอาจขดั แยง้ กนั ตอ้ งเพิ่มการทดลอง
ใหม้ ากข้ึนเป็น 5 คร้งั หรือ 10 คร้งั แลว้ จงึ ใช้
วธิ ีเฉล่ยี ขอ้ มลู หรือเลือกคร้งั ทเ่ี ป็นไปไดม้ าก

ทดลองมาประเมินผลและอภิปรายโดย ทส่ี ุด เป็นผลการทดลอง

การศึกษาจากเอกสารหรือหลกั ฐาน เพอ่ื ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ะตอ้ งบนั ทกึ และนาเสนอ

นามาประกอบในการหาเหตุผลหรือขอ้ ท้งั หมด มิใชเ่ ลือกเฉพาะขอ้ มูลที่เป็นไปตาม
สมมตุ ิฐานเทา่ น้นั
สรุปผลการทดลอง
6. นำเสนอ หากครูทีป่ รึกษาโครงงานวทิ ยาศาสตร์

ผเู้ รียนนาเสนอขอ้ มูลที่ไดม้ าของความรูใ้ หม่ ให้

จะจกไตดดัร้อะจป้ ดบัง้ายทนวนนาำโิเคเกทอารศารงทวเงพธิาา่ืองกีนาแานวสรติทดทโวั ดยงาอโยางคยกวศราา่ิทางรงสยงเโขาาตคนียศรรนวา์งิทรหสงายมตายางนราศา์ยาวน(สsถทิแตeึงลยรcะา์ทกieศี่าnารtสทifตำicกร์จิmขกัน้eรtรตhมอoทนdขนแาโล)ากงัคดว้วเแรรเิทจอลีงยตยางนะจคาากนทตนศราาทิเาวะใส่ดีสหิบทนทีต้นวยอารนกัาแง์ชเวศกตรนิท่เีาายฉดิยรนสพาหทตเศปานาระา็นงส์ขง่ึ ควตอ้ ทิทนรมไี่ผย์ลู มู้ทาดซ่ศงำั ่ือกาโคสสลรตา่ตั วงยรง์์ าน

(science process) มาใช้เพือ่ ศึกษาหาทางแกป้ ญั หาเรอื่ งใหม่ ๆ หรอื ประดษิ ฐ์คิดค้นส่ิงใหม่ ๆ โดย

ผู้ทำโครงงาน เปน็ ผูค้ ดิ เรอ่ื งหรอื เลอื กเรอ่ื งที่ต้องการศกึ ษา มีการวางแผนดำเนินการ (ลงมือปฏิบตั )ิ

บนั ทกึ ผล วเิ คราะหข์ ้อมลู สรุปผล และเสนอผลงานด้วยตนเอง ตง้ั แตต่ ้นจนสำเรจ็ ทกุ ขน้ั ตอน

การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ขน้ั ท่ี 1 การคิดและเลอื กชอื่ เรอ่ื งหรอื ปัญหาที่จะศึกษา

ขนั้ ตอนนเ้ี ปน็ ขนั้ ท่ีสำคัญที่สุดและยากทีส่ ุด ตามหลักการแล้วนักเรียนควรจะเป็นผคู้ ิดและเลือกหัวข้อ

เร่อื งทจี่ ะศึกษาด้วย ตนเอง แต่ครูอาจมีบทบาทหรอื มสี ว่ นช่วยเหลือใหน้ ักเรยี นสามารถคดิ หัวข้อเรื่อง

ได้ ดว้ ยตนเอง ดังจะไดก้ ลา่ วตอ่ ไป

การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ข้ันท่ี 2 การวางแผนในการทำโครงงาน

ไดแ้ ก่ การวางแผนวธิ ีดำเนนิ งานในการศึกษาคน้ ควา้ ท้งั หมด เช่น วัสดอุ ุปกรณ์ ทีจ่ ำเปน็ ต้องใชใ้ นการ